SlideShare a Scribd company logo
1 of 108
Download to read offline
การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5
โดยความร่วมมือของ
มหาวิทยาลัยภายใต้โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา 70 แห่ง
วันที่ 2-4 มีนาคม 2560
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
จังหวัดอุดรธานี
สานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา
และพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ร่วมกับ
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
หนังสือสูจิบัตร
การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 (HERP Congress V)
บรรณาธิการที่ปรึกษา : ศ.ดร.วิชัย บุญแสง
: ศ.ดร.วิสุทธิ์ ใบไม้
: ศ.ดร.สุมาลี ตั้งประดับกุล
: ศ.ดร.เกตุ กรุดพันธ์
: ศ.ดร.สุพจน์ หารหนองบัว
: ศ.ดร.เพทาย เย็นจิตโสมนัส
: ศ.ดร.อัญชลี ทัศนาขจร
: รศ.ดร.วัชรพงษ์ อนันต์ชื่น
บรรณาธิการ : ดร.สุชาดา จงประกอบกิจ
กองบรรณาธิการ : ดร.พิริยะ แก้วปฐมศรี : น.ส.ปุญชรัสมิ์ วังน้อย
: ดร.ชนิดา แสนสะอาด : น.ส.ปาณิสรา มีจันทร์
: น.ส.เปรมณิกา มาลัยศรี : น.ส.รินรพี งามแสง
: น.ส.ณัฐฐินันท์ ละลอกแก้ว : น.ส.ปุ๋ม ปรีดากุล
จัดพิมพ์โดย : สานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
128/356 ชั้น 33 เอ อาคารพญาไทพลาซ่า ถนนพญาไท
เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0-2129-3108, 0-2129-3124 โทรสาร 0-2129-3107
E-mail: herp.mua@gmail.com
Website: http://herp.udru.ac.th/
พิมพ์ครั้งแรก : กุมภาพันธ์ 2560
จานวนพิมพ์ : 1,500 เล่ม
พิมพ์ที่ : ศักดิ์ศรีอักษรการพิมพ์ 33 ถ. ทหาร ต. หมากแข้ง อ. เมือง จ. อุดรธานี 41000
โทรศัพท์ 042-341202, 089-6205466
E-mail: saksri99udon@gmail.com
Website: https://th-th.facebook.com/saksriaksorn
สารผู้อานวยการ
สานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
สานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ภายใต้สานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้จัดสรรงบประมาณสนับสนุนทุนวิจัยให้กับมหาวิทยาลัย ภายใต้
โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา 70 แห่ง ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จนถึงปัจจุบัน บนพื้นฐาน
ความหลากหลายทางชีวภาพ การพัฒนาครูของครูด้วยโจทย์วิจัยท้องถิ่น การวิจัยจากฐานภูมิปัญญา
ท้องถิ่นสู่นวัตกรรมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการวิจัยที่สอดคล้องกับ Supra Clusters 6 ด้าน เพื่อส่งเสริม
การวิจัย และพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีการจัดประชุมวิชาการเพื่อติดตามความก้าวหน้าการ
ดาเนินการวิจัยที่ได้รับการจัดสรรทุนวิจัยเป็นประจาทุกปี
โดยปีที่แล้วในพิธีเปิดการจัดประชุม HERP Congress IV นับเป็นครั้งแรกที่มีพิธีลงนาม
บันทึกความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เครือข่ายศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ วัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ระหว่างสานักบริหารโครงการฯ ภายใต้ สกอ. กับมหาวิทยาลัย 16 แห่ง เมื่อ วันที่
8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครือข่ายการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมจาก
รากฐานความหลากหลายทางชีวภาพ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการสร้างผลิตภัณฑ์ที่สามารถ
สร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนท้องถิ่น อีกทั้งยังมีการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยและพัฒนาบุคลากรวิจัยในระดับ
ต่าง ๆ และในปีนี้ยังมีเสวนาเครือข่ายครั้งที่ 2 ร่วมกับมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ เรื่อง “เส้นทางสู่นวัตกรรม
อาหารเพื่อสุขภาพบนความหลากหลายทางชีวภาพ” ได้แก่ ไก่พื้นเมือง ข้าวพื้นเมือง อาหารพื้นเมือง ผักและ
ผลไม้พื้นบ้าน อีกด้วย
สาหรับการจัดประชุมใหญ่ครั้งนี้ สานักบริหารโครงการฯ ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี และเครือข่าย
มหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้ง 70 แห่ง ได้ดาเนินการจัดประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 ภายใต้
แนวคิด “รากฐานภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมวิจัยสู่สากล” สาหรับการจัดการประชุมครั้งนี้ นักวิจัยภายใต้โครงการฯ
ส่งบทคัดย่อเข้าร่วมนาเสนอผลงานรวมทั้งสิ้น 512 โครงการ จากจานวนโครงการทั้งหมด 572 โครงการ
คิดเป็นร้อยละ 89.51 ของผู้ที่ได้รับการจัดสรรทุนวิจัยประจาปีงบประมาณ 2559 ซึ่งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ได้คัดเลือกผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูงเพื่อรับรางวัล โดยแบ่งเป็นรางวัลผลงานวิจัยดีเด่น จานวน 11 รางวัล และ
ผลงานวิจัยดีมากทั้งแบบบรรยายและแบบโปสเตอร์อีกประมาณ 75 โครงการ เพื่อเป็นกาลังใจและสร้างแรงจูงใจ
ในการพัฒนาผลงานวิจัยที่มีคุณภาพต่อไป
ในนามของสานักบริหารโครงการฯ ผมขอขอบคุณคณะกรรมการอานวยการจัดการประชุมจากทุกมหาวิทยาลัย
ที่ให้ความร่วมมือและความช่วยเหลือเป็นอย่างดีมาโดยตลอด ขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ และวิทยากรที่ให้เกียรติ
มาให้ความรู้และแนวปฏิบัติแก่นักวิจัย สุดท้ายนี้ผมขอขอบคุณคณะกรรมการดาเนินงานประชุมวิชาการจาก
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ที่ได้ร่วมแรงร่วมใจ ช่วยเตรียมความพร้อมการจัดประชุมและทุ่มเททางานอย่างแข็งขัน
น่าประทับใจยิ่ง ทาให้การเตรียมจัดประชุมครั้งนี้สาเร็จลุล่วงบรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทุกประการ
ศาสตราจารย์ ดร.วิชัย บุญแสง
ผู้อานวยการสานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา
และพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา เป็นการแสดงศักยภาพด้านงานวิจัย งานวิชาการ
งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมของบุคลากรของมหาวิทยาลัย ให้สามารถนาองค์ความรู้ที่ได้ ได้สู่การพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนในท้องถิ่น และพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ ยังก่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการแบบ
บูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างสถาบัน ทาให้เกิดงานวิจัยที่มีคุณภาพ สามารถนาไปใช้ประโยชน์และเพิ่มมูลค่าต่อ
ชุมชนและท้องถิ่น สาหรับผู้บริหารมหาวิทยาลัย ก็มีโอกาสแลกเปลี่ยนแนวทางการบริหารจัดการระบบงานวิจัย
ของแต่ละสถาบัน
ขอขอบคุณสานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
ภายใต้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ที่สนับสนุนงบประมาณการทาวิจัยให้กับบุคลากรของ
มหาวิทยาลัยทุกแห่ง ซึ่งเป็นแรงกระตุ้นให้นักวิจัยมีความตื่นตัวในการทาวิจัยและผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพได้
อย่างต่อเนื่อง
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี รู้สึกเป็นเกียรติและมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้มีส่วนร่วมกับสานักบริหาร
โครงการฯในการจัดประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่
สละเวลามาวิพากษ์และให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อนักวิจัย และให้เกียรติบรรยายพิเศษ รวมทั้งร่วมเสวนา
ทางวิชาการ ขอขอบคุณเครือข่ายมหาวิทยาลัยทุกแห่ง คณะทางานทุกฝ่าย นักวิจัยผู้นาเสนอผลงานวิจัยภาค
บรรยาย ภาคโปสเตอร์ และภาคนิทรรศการ ผู้มีเกียรติทุกท่านที่เข้าร่วมการประชุม และทาให้การดาเนินงาน
ประสบความสาเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ทุกประการ
(ดร.ณัติเทพ พิทักษานุรัตน์)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5
The Fifth Higher Education Research Promotion Congress (HERP CONGRESS V)
โดยความร่วมมือของมหาวิทยาลัยภายใต้โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา 70 แห่ง
“รากฐานภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมวิจัยสู่สากล”
การวิจัยเป็นเครื่องมือที่มีความสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ความสามารถในการวิจัยเป็นตัวบ่งชี้ที่สาคัญของความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และการพัฒนา
ประเทศไทยจาเป็นที่จะต้องสร้างปัญญาปฏิบัติหรือการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติเพื่อขับเคลื่อนสังคมไทยให้ไปสู่สังคม
อุดมปัญญา (Knowledge-based Society) นอกจากนี้กระบวนการหนึ่งที่สาคัญของการวิจัยคือ การนา
ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ หรือการเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่แวดวงวิชาการ เพื่อการนาผลงานวิจัยไปใช้ใน
การแก้ปัญหาสังคม และต่อยอดการพัฒนางานวิจัยที่สูงขึ้นต่อไป
สานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ภายใต้สานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้จัดสรรงบประมาณสนับสนุนทุนวิจัยให้กับมหาวิทยาลัยภายใต้โครงการ
ส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา 70 แห่ง บนพื้นฐานความหลากหลายทางชีวภาพ การพัฒนาครูของครูด้วยโจทย์วิจัยท้องถิ่น
การวิจัยจากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่นวัตกรรมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการวิจัยที่สอดคล้องกับ
Supra Clusters 6 ด้าน ของมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จนถึงปัจจุบัน เพื่อ
ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัย และกาหนดให้มีการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา
ครั้งที่ 1 (HERP CONGRESS I) ระหว่างวันที่ 21-23 มกราคม 2556 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จ.พิษณุโลก
ครั้งที่ 2 (HERP CONGRESS II) ระหว่างวันที่ 22-24 มกราคม 2557 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น
กรุงเทพมหานคร
ครั้งที่ 3 (HERP CONGRESS III) ระหว่างวันที่ 9-11 มีนาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จ.
นครศรีธรรมราช
ครั้งที่ 4 (HERP CONGRESS IV) ระหว่างวันที่ 8-10 กุมภาพันธ์ 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จ.
อุบลราชธานี
สาหรับปี พ.ศ. 2560 สานักบริหารโครงการฯ ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี และเครือข่าย
มหาวิทยาลัยของรัฐ ดาเนินการจัดประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 (HERP CONGRESS V)
ระหว่างวันที่ 2-4 มีนาคม พ.ศ. 2560 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จ.อุดรธานี เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย
แลกเปลี่ยนประสบการณ์การทาวิจัยร่วมกันระหว่างนักวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยภายใต้โครงการส่งเสริม
การวิจัยในอุดมศึกษา
วัตถุประสงค์
1. แสดงศักยภาพด้านการวิจัย ภายใต้ 3 กลุ่มบูรณาการ สาหรับกลุ่มมหาวิทยาลัยที่กาลังพัฒนาศักยภาพ
ด้านการวิจัย 50 แห่ง และภายใต้ Supra Clusters 6 ด้าน สาหรับกลุ่มมหาวิทยาลัยของรัฐ 20 แห่ง
2. ประเมินผลสาเร็จและคุณภาพของงานวิจัยที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์และเพิ่มคุณค่าต่อชุมชน
ท้องถิ่นและพัฒนาประเทศ
3. เผยแพร่ผลงานวิจัยที่ได้ผลผลิตในลักษณะต่างๆ เช่น หนังสือจากการประมวล วิเคราะห์ และ/หรือ
สกัดมาจากผลงานวิจัย การถอดบทเรียน สื่อการเรียนการสอน ผลงานตีพิมพ์ที่ผ่านการประเมินอย่างมีมาตรฐาน
และการจดสิทธิบัตร เป็นต้น
4. สร้างเครือข่ายนักวิจัยในการที่จะร่วมมือกันทาการวิจัยเชิงบูรณาการต่อไปในอนาคต
5. เพื่อกระตุ้นให้นักวิจัยมีความตื่นตัวในการทาวิจัยและผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยการคัดเลือก
ผลงานวิจัยดีเด่นและดีมากเพื่อรับรางวัล
6. ผู้บริหารมหาวิทยาลัยภายใต้โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา แลกเปลี่ยนแนวทางการบริหาร
จัดการและระบบงานวิจัย
เป้าหมายเชิงปริมาณ
1. ผู้เข้าร่วมงานประกอบด้วยนักวิจัย คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน มหาวิทยาลัยของรัฐอีก 20 แห่ง และเครือข่าย
ประชาชนผู้สนใจทั่วไป ประมาณ 1,000 คน
2. ผลงานของนักวิจัยที่นาเสนอที่ประชุมวิชาการในรูปแบบการบรรยายและรูปแบบโปสเตอร์ไม่น้อยกว่า
450 ผลงาน
3. การบรรยายพิเศษโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และการเสวนาวิชาการ ไม่น้อยกว่า 4 เรื่อง
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
1. เพื่อยกระดับคุณภาพงานวิจัย งานวิชาการ งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยให้ได้รับ
การยอมรับในระดับประเทศ
2. เพื่อนาองค์ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้จากงานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมไปสู่การพัฒนา
คุณภาพชีวิตของประชาชนในท้องถิ่น สังคม และประเทศ
3. เพื่อพัฒนาให้เกิดระบบเครือข่ายงานวิจัยแบบบูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างสถาบัน ทั้งมหาวิทยาลัย
ของรัฐ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
รูปแบบการจัดงาน
การประชุมครั้งนี้มีการนาเสนอผลงานวิจัยในรูปแบบนิทรรศการงานวิจัย การปาฐกถาพิเศษ
การบรรยายพิเศษ การเสวนาทางวิชาการ การนาเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยายและแบบโปสเตอร์ และ
การจัดนิทรรศการ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม จากงานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนภายใต้โครงการส่งเสริมการวิจัย
ในอุดมศึกษา 70 แห่ง ได้แก่
กลุ่มที่ 1 ความหลากหลายทางชีวภาพ
กลุ่มที่ 2 การวิจัยจากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กลุ่มที่ 3 การพัฒนาครูของครูด้วยโจทย์วิจัยท้องถิ่น
กลุ่มที่ 4 ผลงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยของรัฐ 20 แห่ง
รวมทั้ง มีนิทรรศการแสดงผลงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยในภูมิภาคอาเซียน เช่น เวียดนาม และ สปป.ลาว
เป็นต้น ซึ่งนับเป็นครั้งที่สองในการเชื่อมโยงเครือข่ายกับประเทศเพื่อนบ้าน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. สามารถกระตุ้นให้คณาจารย์ผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น เพื่อนาเสนอในเวทีการนาเสนอ
ผลงานวิจัยทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติที่มีมาตรฐาน
2. นักวิจัยเกิดความตื่นตัวและให้ความสาคัญในการทางานวิจัยที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และมุ่งแก้ไข
ปัญหาในชุมชนและท้องถิ่น
3. ผู้บริหารมหาวิทยาลัยได้เรียนรู้ระบบการบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อนาไปปรับใช้
4. เกิดความร่วมมือทางวิชาการอย่างเป็นรูปธรรม ของเครือข่ายศูนย์วิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ
วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
สารบัญ
การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 I
กาหนดการ 1
ผังงานประชุม 6
การนาเสนอผลงานวิจัยดีเด่นและผลงานวิจัยดีมากแบบบรรยาย
- กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ 8
- กลุ่มบูรณาการวิจัยจากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่นวัตกรรมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9
- กลุ่มการพัฒนาครูของครูด้วยโจทย์วิจัยท้องถิ่น 11
- กลุ่มผลงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยของรัฐ 20 แห่ง 12
การนาเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์
- กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ 13
- กลุ่มบูรณาการวิจัยจากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่นวัตกรรมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 29
- กลุ่มการพัฒนาครูของครูด้วยโจทย์วิจัยท้องถิ่น 35
- กลุ่มผลงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยของรัฐ 20 แห่ง 42
คณะกรรมการอานวยการ 58
คณะกรรมการวิชาการ 63
คณะกรรมการดาเนินการจัดประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 71
ภาคผนวก 83
- สัญลักษณ์ของการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาครั้งที่ 5 84
- การแสดงชุดมหัศจรรย์วัฒนธรรมอุดร 89
- การแสดงชุดฟ้อนสาวกุมภวาปีโบกข้าวหลาม 96
- การแสดงชุดฟ้อนเล่าเรื่องตานานผ้าหมี่ขิดจังหวัดอุดรธานี 97
กาหนดการ
การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5
The Fifth Higher Education Research Promotion Congress (HERP CONGRESS V)
โดยความร่วมมือของมหาวิทยาลัย 70 แห่ง
“รากฐานภูมิปัญญาไทย นวัฒกรรมวิจัยสู่สากล”
วันที่ 2-4 มีนาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 อาคารกิจกรรมนักศึกษา
เวลา กิจกรรม
07.00 – 09.00 น. ลงทะเบียน ณ อาคารกิจกรรมนักศึกษา
09.00 – 10.30 น. พิธีเปิด
- ชมวีดีทัศน์ “การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาครั้งที่ 5 โดยความร่วมมือของ
มหาวิทยาลัย 70 แห่ง”
- การแสดง “มหัศจรรย์วัฒนธรรมอุดรธานี” จากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
- กล่าวต้อนรับ โดย นายชยาวุธ จันทร ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี
- กล่าวขอบคุณ โดย ดร.ณัติเทพ พิทักษานุรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
- กล่าวรายงาน โดย ดร.สุภัทร จาปาทอง เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
- เปิดการประชุม และปาฐกถาพิเศษ
เรื่อง “สถาบันการศึกษาตอบสนองต่อนโยบายการศึกษา 4.0 อย่างไร?”
โดย รองศาสตราจารย์ นพ.โศภณ นภาธร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงศึกษาธิการ
- มอบโล่รางวัล โดย ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงศึกษาธิการ และบันทึกภาพร่วมกัน
10.30 – 11.00 น. บรรยายพิเศษ เรื่อง “สถาบันอุดมศึกษากับ Thailand 4.0”
โดย ศาสตราจารย์ นพ.วิจารณ์ พานิช ประธานมูลนิธิเพื่อการพัฒนาสุขภาพระหว่างประเทศ
11.00 – 12.00 น. บรรยายพิเศษ เรื่อง “มหาวิทยาลัยไทย...ไปทางไหนกันดี?”
โดย ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
12.00 – 13.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.30 – 14.30 น. เสวนาพิเศษ เรื่อง “หอยทากสยามสู่นวัตกรรมความงามโลก: ต้นแบบงานวิจัย 4.0”
โดย ศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ทัศนาขจร นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2553
ศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ ปัญหา นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2552
พญ.วริษา ตยางคนนท์ Miss beauty skin จากการประกวดนางสาวไทย 2559
ดาเนินรายการโดย ศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ หารหนองบัว นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2544
หมายเหตุ: * = อาคารศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
** = อาคารเฉลิมพระเกียรติ
วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 (ต่อ)
เวลา กิจกรรม
14.30 – 17.30 น.
การนาเสนอผลงานวิจัยดีเด่น
ห้องจันทน์กะพ้อ*
การประชุมผู้บริหาร
มหาวิทยาลัยภายใต้
โครงการส่งเสริม
การวิจัยในอุดมศึกษา
70 แห่ง
“มรภ. มทร.
ไปทางไหนกันดี ใน
ยุคประเทศไทย 4.0”
ห้องสุพรรณิการ์*
กลุ่มที่ 1
โครงการ
ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
ห้องทองกวาว*
กลุ่มที่ 2
โครงการ
บูรณาการวิจัยจาก
ฐานภูมิปัญญา
ท้องถิ่นสู่นวัตกรรม
ด้วยวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
ห้องประชุม 2**
กลุ่มที่ 3
โครงการ
พัฒนาครูของครู
ด้วยโจทย์วิจัย
ท้องถิ่น
ห้องอินทนิล*
กลุ่มที่ 4
ผลงานวิจัยจาก
มหาวิทยาลัย
ของรัฐ 20 แห่ง
การนาเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยาย
ห้องสุพรรณิการ์*
กลุ่มที่ 1
โครงการ
ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
ห้องทองกวาว*
กลุ่มที่ 2
โครงการ
บูรณาการวิจัยจาก
ฐานภูมิปัญญา
ท้องถิ่นสู่นวัตกรรม
ด้วยวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
ห้องประชุม 2**
กลุ่มที่ 3
โครงการ
พัฒนาครูของครู
ด้วยโจทย์วิจัย
ท้องถิ่น
ห้องอินทนิล*
กลุ่มที่ 4
ผลงานวิจัยจาก
มหาวิทยาลัย
ของรัฐ 20 แห่ง
18.00 - 21.00 น.
งานเลี้ยงรับรอง
- Dinner talk (ลานศิษย์เก่า)
เรื่อง “ECO DESIGN สไตล์ Thailand 4.0”
โดย คุณพิพัฒน์ อภิรักษ์ธนากร
กรรมการผู้จัดการ บริษัท คิด คิด จากัด
ผู้เชี่ยวชาญและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
- การแสดงนาฏศิลป์ไทยและศิลปะพื้นบ้าน
- การแสดงดนตรี
วันศุกร์ที่ 3 มีนาคม 2560 อาคารกิจกรรมนักศึกษา
เวลา กิจกรรม
09.00 – 9.45 น.
บรรยายพิเศษ
เรื่อง “นวัตกรรมอาหารสุขภาพบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ: จากท้องถิ่นสู่สากล”
โดย ศาสตราจารย์ ดร.กมล เลิศรัตน์ ผู้รับพระราชทานทุนอานันทมหิดล แผนกเกษตรศาสตร์
ปี พ.ศ. 2524
09.45 – 10.30 น.
บรรยายพิเศษ
เรื่อง “การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของวิชาการเพื่อรับใช้สังคม: กรณีศึกษา”
โดย ศาสตราจารย์ ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด ประธานมูลนิธิสถานศึกษานโยบายสาธารณะ
10.30 – 10.45 น. อาหารว่าง
10.45 – 11.30 น. บรรยายพิเศษ เรื่อง “มหาวิทยาลัย: แหล่งสร้างงานวิจัยสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทย”
โดย ศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล ว่องวาณิช นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550
11.30 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 15.30 น. ประเมินการนาเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ (อาหารว่างเสิร์ฟในห้อง)
16.00 – 17.00 น. - มอบเกียรติบัตร โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิชัย บุญแสง
ผู้อานวยการสานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
- ปิดการประชุมโดย ดร.ณัติเทพ พิทักษานุรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
วันเสาร์ที่ 4 มีนาคม 2560 ห้องจันทน์กะพ้อ อาคารศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
เวลา กิจกรรม
เสวนาการพัฒนาเครือข่ายครั้งที่ 2 ร่วมกับมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ เรื่อง
“เส้นทางสู่นวัตกรรมอาหารเพื่อสุขภาพบนความหลากหลายทางชีวภาพ”
08.00 – 09.00 น.
09.00 – 09.15 น.
09.15 – 10.15 น.
10.15 – 10.30 น.
10.30 – 11.00 น.
11.00 – 11.30 น.
11.30 – 12.00 น.
12.00 – 13.00 น.
13.00 – 15.30 น.
15.30 – 16.30 น.
16.30 – 16.45 น.
ลงทะเบียน
เปิดการประชุม
โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิชัย บุญแสง ผู้อานวยการสานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา
และพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ประมวลสถานภาพความก้าวหน้าของงานวิจัยและพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพของสานักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย (สกว.)
โดย ศาสตราจารย์ ดร.นันทวัน บุณยะประภัศร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
พักรับประทานอาหารว่าง
ประมวลสถานภาพความก้าวหน้าของงานวิจัยและพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพของโครงการมหาวิทยาลัย
วิจัยแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
โดย ศาสตราจารย์ ดร.สนั่น จอกลอย ผู้ประสานงานการวิจัยอาหารเพื่อสุขภาพ โครงการมหาวิทยาลัยวิจัย
แห่งชาติ
ประมวลสถานภาพความก้าวหน้างานวิจัยและพัฒนาความหลากหลายทางชีวภาพและโอกาสการพัฒนา
อาหารเพื่อสุขภาพ
โดย ดร.ศรีวรรณ ไชยสุข ผู้อานวยการสถาบันความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม
เพื่อพัฒนาท้องถิ่นและอาเซียน /ผู้ประสานงานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ โครงการส่งเสริมการวิจัยใน
อุดมศึกษา (สกอ.)
ข้อเสนอกรอบแนวคิดการวิจัยและพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพ
โดย ศาสตราจารย์ ดร.กมล เลิศรัตน์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พักรับประทานอาหารกลางวัน
ประชุมย่อย เพื่อกาหนดทิศทางการวิจัยและพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพ และความร่วมมือของนักวิจัยใน
กลุ่มวิจัยมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และกลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ
กลุ่มที่ 1: ไก่พื้นบ้าน
กลุ่มที่ 2: ข้าวพื้นเมือง
กลุ่มที่ 3: อาหารพื้นเมือง ผักและผลไม้พื้นบ้าน
นาเสนอผลการประชุมกลุ่มย่อย
สรุปและปิดการประชุม
วันเสาร์ที่ 4 มีนาคม 2560 กิจกรรมศึกษาดูงาน
เวลา กิจกรรม
08.00 – 17.00 น. ศึกษาดูงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ประวัติศาสตร์และภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดอุดรธานี
เส้นทางที่ 1 - ทะเลบัวแดง
- ภูฝอยลม
- วัดภูทองเทพนิมิต (หลวงพ่อทันใจ)
- วัดป่าบ้านตาด
เส้นทางที่ 2 - วัดป่าบ้านค้อ
- อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท
- วัดป่าภูก้อน
- ตลาดผ้านาข่า
เส้นทางที่ 3 - แหล่งมรดกโลกบ้านเชียง
- คาชะโนด (วังนาคินทร์)
เส้นทางที่ 4 - ท่องเที่ยวเวียงจันทน์ ไป-กลับ
- ล่องแพท่าง่อน
หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ผู้ร่วมเดินทางรับผิดชอบ
- เส้นทางที่ 1, 2 และ 3 ไม่มีค่าใช้จ่าย
- เส้นทางที่ 4 จานวน 1,500 บาท
ผังงานประชุม
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ผังห้องประชุม
กาหนดการนาเสนอ
ผลงานวิจัยแบบบรรยาย
กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
ห้องสุพรรณิการ์ อาคารศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 เวลา 14.30-17.30 น.
ประธาน : ผศ.สุพจน์ พฤกษะวัน ศ.ดร.สังวรณ์ กิจทวี และ ดร.กาญจนา เชียงทอง
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
ผลงานวิจัยดีเด่น
BD-096 ผศ.ดร.สุภาวดี แหยมคง การศึกษาความหลากหลายของวิถีชีวิตและภูมิปัญญาการเลี้ยงไก่
พื้นเมืองไทยในจังหวัดพิษณุโลก
(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม)
BD-072 รศ.ดร.สุชาติ แสงทอง การพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมดนตรีพื้นบ้านเพื่อการประดิษฐ์สร้างดนตรีเพื่อ
การผ่อนคลาย
(มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์)
BD-153 อ.ดร.วัชรี รวยรื่น การกระจายตัวและการใช้ประโยชน์ป่าสาคูในพื้นที่ภาคใต้: จังหวัด
สุราษฏร์ธานี ชุมพรและระนอง (อาเภอเมืองและกระบุรี)
(มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี)
ผลงานวิจัยแบบบรรยาย
BD-066 ผศ.ศุภมาตร อิสสระพันธุ์ การกระจายตัวและการใช้ประโยชน์ป่าสาคูในพื้นที่ภาคใต้: จังหวัด
นครศรีธรรมราช
(มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช)
BD-017 ผศ.วิวรณ์ วงศ์อรุณ ผักพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง ตาบลทองมงคล อาเภอบางสะพาน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์)
BD-079 อ.ดร.สุนทรียา กาละวงศ์ การขยายพันธุ์ในหลอดทดลองของต้นม่วงไตรบุญ (Tribounia venosa)
พรรณไม้ประจาถิ่นในอู่ทอง
(มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา)
BD-085 อ.รุจิราภา งามสระคู องค์ความรู้ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมืองไทยทรงดา ตาบลบ้านดอน
อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
(มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร)
BD-128 อ.จีรภัทร์ อัฐฐิศิลป์เวท การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ข้าวพันธุ์พื้นเมืองในจังหวัดนครนายก
(มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์)
BD-151 ผศ.ณัฐวุฒิ สุวรรณทิพย์ การสื่อสารการตลาดเชิงวัฒนธรรมเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทาง
ศิลปวัฒนธรรมตลาดน้าคลองแดน: ตลาดน้าสามคลองสองเมืองของ
จังหวัดสงขลาและจังหวัดนครศรีธรรมราช
(มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี)
กาหนดการนาเสนอ
ผลงานวิจัยแบบบรรยาย
กลุ่มการวิจัยจากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่นวัตกรรมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ห้องทองกวาว อาคารศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 เวลา 14.30-17.30 น.
ประธาน : ศ.ดร.เกตุ กรุดพันธ์ ผศ.ดร.วัชรี จาปามูล อ.ดร.เฉลิมพงษ์ แสนจุ้ม
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
ผลงานวิจัยดีเด่น
IN-014 ผศ.ดร.มาหามะสูไฮมี มะแซ การต้านการยับ การยับยั้งจุลินทรีย์และต้านรังสียูวีของผ้าฝ้ายที่ย้อมจาก
วัสดุเศษเหลือของพืชตามภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้
(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย)
ผลงานวิจัยแบบบรรยาย
IN-004 อ.อัครเจตน์ ชัยภูมิ การสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นการทอผ้าชาวไทญ้อสู่เยาวชนด้วยเทคโนโลยี
สารสนเทศ ในตาบลแซงบาดาล อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์
(มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์)
IN-008 อ.มธุรส ชาวไร่ปราณ การศึกษารายการประกอบอาคารทางสถาปัตยกรรม “บ้านเสายองหิน”
หมู่บ้านภูผักไซ่ อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์
(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก)
IN-009 ผศ.ยิ่งยง รุ่งฟ้า การบูรณาการของเล่นจากภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อใช้บาบัดเด็กสมาธิสั้นโดยใช้
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก)
IN-029 อ.สาคัญ ฮ่อบรรทัด ภูมิปัญญาการมัดหมี่กับการก่อรูปของลาย
(มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์)
IN-035 อ.ดร.เอนกพงศ์ ธรรมาธิวัฒน์ การศึกษาคุณสมบัติด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมของเนื้อดินปั้นและ
น้าเคลือบสาหรับผลิตเครื่องปั้นดินเผา บ้านแก่งเป้า อาเภอหล่มเก่า
จังหวัดเพชรบูรณ์
(มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์)
IN-037 อ.ดร.ปิยศักดิ์ ถีอาสนา เกมเสริมสร้างพัฒนาการการเรียนรู้เด็กออทิสติก โดยใช้การละเล่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน
(มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม)
IN-038 อ.ณรงค์ คชภักดี การพัฒนาวิธีตรวจวิเคราะห์เห็ดพิษโดยอาศัยภูมิปัญญาในการทดสอบ
เห็ดพิษด้วยเทคนิคการประมวลผลเชิงรูปภาพและสมาร์ทโฟน
(มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง)
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
ผลงานวิจัยแบบบรรยาย (ต่อ)
IN-041 อ.ดร.จักรพันธ์ โสมะเกษตริน นวัตกรรมการย้อมสีด้วยมูลหนอนไหม เพื่อการออกแบบและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมทอมือพื้นเมือง กรณีศึกษา หมู่บ้านไหมไทยเฉลิมพระเกียรติ
บ้านอะลาง ตาบลโคกจาน อาเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ
(มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ)
IN-042 ผศ.ดร.พัชรา ปราชญ์เวทย์ การใช้สื่อมัลติมิเดียในการเล่าขานตานานเมืองเพื่อส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว
ในจังหวัดศรีสะเกษ
(มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ)
IN-049 ผศ.ดร.นิราวรรณ กุนัน ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรเพื่อป้องกันและรักษาโรคของกระบือปลัก
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
(มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี)
หมายเหตุ : อาหารว่างเสิร์ฟในห้องประชุม และลาดับในการนาเสนออาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
กาหนดการนาเสนอ
ผลงานวิจัยแบบบรรยาย
กลุ่มการพัฒนาครูของครูด้วยโจทย์วิจัยท้องถิ่น
ห้องประชุม 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ
วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 เวลา 14.30-17.30 น.
ประธาน : ศ.ดร.สุมาลี ตั้งประดับกุล รศ.ดร.สุมาลี ชัยเจริญ ผศ.ดร.เพียงจันทร์ สนธยานนท์ และ
ผศ.ดร.ธิดารัตน์ เอกสิทธิกุล
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
ผลงานวิจัยดีเด่น
TT-037 ผศ.ดร.สุทธิพงศ์ บุญผดุง การพัฒนาสมรรถนะการทาวิจัยเชิงปฏิบัติการของนักศึกษาครูโดยใช้แนวคิด
การจูงใจของวล๊อดคอร์สกี้
(มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา)
ผลงานวิจัยแบบบรรยาย
TT-003 อ.ดร.สุริยาวุธ สุวรรณบุบผา การพัฒนาทักษะการถอดความของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
(มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์)
TT-005 ผศ.ดร.ภูชิต ภูชานิ การวิจัยเรื่องการประเมินผลการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณแบบ
รวบยอดของนักศึกษาฝึกหัดครูสาขาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
กาญจนบุรี
(มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี)
TT-011 อ.ดร.จิราภรณ์ ปุณยวัจน์พรกุล การพัฒนาแบบทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาของนักศึกษาสาขาวิชาฟิสิกส์และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
ทั่วไป
(มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่)
TT-018 อ.ดร.บัณฑิตา อินสมบัติ การยกระดับคุณภาพผู้เรียนจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานครสวรรค์
(มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์)
TT-030 อ.วรากร แซ่พุ่น การพัฒนาบทเรียนเสริมทักษะบนเครือข่ายแอพพลีเคชั่น เรื่อง ทักษะ
การเรียนรู้ภาษาจีนเบื้องต้น สาหรับนักศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
(มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา)
หมายเหตุ : อาหารว่างเสิร์ฟในห้องประชุม และลาดับในการนาเสนออาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
กาหนดการนาเสนอ
ผลงานวิจัยแบบบรรยาย
กลุ่มผลงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยของรัฐ 20 แห่ง
ห้องอินทนิล อาคารศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 เวลา 14.30-17.30 น.
ประธาน : ศ.ดร.ประเสริฐ โศภน ศ.ดร.ละออศรี เสนาะเมือง และ ศ.ดร.ศราวุฒิ จิตรภักดี
เวลา รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
ผลงานวิจัยดีเด่น
15.30-15.50 น. 20U-055 ผศ.ดร.ทนพ.สราวุธ คาปวน Combination of Anti-diabetic drug, metformin, and
p38 MAPK inhibitor (SB 203580) reduced
ischaemic/reperfusion injury in cardiac cells in
hyperglycaemic condition
(มหาวิทยาลัยนเรศวร)
15.50-16.10 น. 20U-064 รศ.ดร.กรรณิการ์ วงศ์ดี บทบาทของไฟโบรบลาสต์โกรทแฟคเตอร์-23 ต่อการดูดซึม
แคลเซียมที่เซลล์เยื่อบุลาไส้ และการเจริญของเซลล์
ออสติโอบลาสต์
(มหาวิทยาลัยบูรพา)
16.10-16.30 น. 20U-107 รศ.ดร.ไพโรจน์ ประมวล พั น ธุ ศ าส ต ร์ ป ร ะ ช าก ร ข อ งแ ม ล งวั น ผ ล ไม้
Bactrocera cucurbitae (Coquillett) ในประเทศไทย
(มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)
16.30-16.50 น. 20U-141 รศ.ดร.สุรัตน์ ละภูเขียว องค์ประกอบทางเคมีจากกระพี้เครือและขามเครือ
(มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง)
16.50-17.10 น. 20U-147 รศ.ดร.นฤมล มาแทน การพัฒนาข้าวกล้องไข่มดริ้นให้มีกลิ่นหอมยาวนานและ
ปราศจากเชื้อราโดยใช้น้ามันหอมระเหยจากดอกจาปี
(มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์)
17.10-17.30 น. 20U-212 รศ.ดร.จารูญ เล้าสินวัฒนา การควบคุมวัชพืชในนาหว่านน้าตมโดยผลิตภัณฑ์ควบคุม
วัชพืชจากธรรมชาติ
(สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง)
หมายเหตุ : อาหารว่างเสิร์ฟในห้องประชุม และลาดับในการนาเสนออาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
การนาเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์
บริเวณด้านหลังอาคารกิจกรรมนักศึกษา
วันศุกร์ที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 13.00-15.30 น.
กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-001 ผศ.ดร.ชัยธัช จันทร์สมุด การศึกษาและพัฒนาการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของสมุนไพร
พื้นบ้านแบบมีส่วนร่วมบริเวณลุ่มน้าลาน้ายัง: กรณีศึกษาประชาชน
กลุ่มชาติพันธ์ภูไท หมู่บ้านกุดสิมคุ้มใหม่ ตาบลกุดสิมคุ้มใหม่ อาเภอเขาวง
จังหวัดกาฬสินธุ์
BD-002 อ.อิทธิพล ขึมภูเขียว สัมประสิทธิ์ความแปรปรวนของฟีโนไทป์ (PCV) จีโนไทป์ (GCV)
อัตราพันธุกรรม (Heritability) และสหสัมพันธ์ของลักษณะองค์ประกอบ
ผลผลิตและผลผลิตของงา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-003 อ.ดร.กฤษณ์ สงวนพวก ผลของเมธิลจัสโมเนท ไนตริกออกไซด์และ 1-เมธิลไซโคลโพรพีนร่วมกับ
สภาพบรรยากาศดัดแปลงต่อการปรับปรุงคุณภาพ และยืดอายุการเก็บรักษา
ของมะม่วงน้าดอกไม้ตัดแต่งพร้อมบริโภค
BD-004 รศ.ขนิษฐา เจริญลาภ การผลิตไบโอฟิล์มจากเปลือกกล้วยเพื่อลดการดูดซับน้ามันในผลิตภัณฑ์
ทางการเกษตร บ้านผาปก ต.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
BD-005 ผศ.ดร.สุวิมล พิชญไพบูลย์ การจัดการชุมชนต้นแบบในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม: ชุมชนสวนหลวง 1
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-006 อ.ดร.นันทพร พึ่งสังวร การคัดเลือกจุลินทรีย์ที่สามารถใช้น้ามันปาล์มผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอท
(พีเอชเอ)
BD-007 อ.ศรัณยา รักเสรี การสารวจและคัดแยกเชื้อราทะเลจากป่าชายเลนในภาคตะวันออกของ
ประเทศไทยเพื่อการศึกษาความสามารถในการผลิตเอนไซม์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-008 ผศ.ดร.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ ความหลากหลายทางชีวภาพของแบคทีเรียผลิตเซลลูโลสสาหรับผลิตเซลลูโลส
เพื่อใช้เป็นบรรจุภัณฑ์อาหาร
BD-009 ผศ.ดร.ศิริวรรณ ตี้ภู่ การศึกษาปริมาณแคปไซซินและลักษณะดีเอ็นเอเพื่อกาหนดอัตลักษณ์
สายพันธุ์พริกพื้นเมืองในจังหวัดนครราชสีมา
BD-010 อ.ดร.สมพงษ์ แสนเสนยา การศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ปริมาณสารหอม (2-อะเซทิล-1-ไพโรลีน),
ความหลากหลายของชนิดสารระเหย ปริมาณแป้งทนย่อย ปริมาณกรด
แกมมาอะมิโนบิวทิริก (กาบา) และปริมาณแอนโทไซยานิน เพื่อใช้เป็น
แนวทางในการกาหนดอัตลักษณ์ การอนุรักษ์ และเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับ
กลุ่มข้าวพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
BD-011 อ.ดร.สุภาวดี ปาทาธนานนท์ มะกอกป่า กับคุณค่าทางชีวภาพ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-012 อ.ดร.จิระศักดิ์ ธาระจักร์ พฤติกรรมการแตกหักที่สัมพันธ์กับสมบัติทางกลและทางกายภาพของข้าว
BD-013 ผศ.จุฑามาศ พีรพัชระ การศึกษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาอาชีพการทาขนมกง ชุมชน
วัดไชโยวรวิหาร จังหวัดอ่างทอง
BD-014 ผศ.จอมขวัญ สุวรรณรักษ์ กระบวนการผลิตผักแกะสลักบรรจุในภาชนะปิดสนิท
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-015 อ.พรพิมล ศักดา การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมไทยทรงดาบ้านเกาะแรต ตาบลบางปลา
อาเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
BD-016 อ.ดร.ฟ้าใส สามารถ ผลกระทบของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพของ
ป่าชายเลน บริเวณชุมชนพันท้ายนรสิงห์ ตาบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร
BD-018 ผศ.ดร.สุภาภร ภิญโญฉัตรจินดา ภูมิปัญญาท้องถิ่นและความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุมชนไทยทรงดา
ตาบลดอนยายหอมจังหวัดนครปฐม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-019 อ.ครรชิต เงินคาคง การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายของสาหร่ายขนาดเล็กที่มีศักยภาพ
ในการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และผลของการเปลี่ยนแปลง
คาร์บอนไดออกไซด์ที่มีผลต่อการผลิตไขมัน
BD-020 อ.เจนจิรา ลานแก้ว ศักยภาพและแนวทางการใช้ประโยชน์ของผักพื้นบ้านในอาเภอเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดน่าน
BD-021 อ.เชาวลีย์ ใจสุข การประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรมในประชากรปลาท้องถิ่นบางชนิด
เพื่อฐานข้อมูลทางพันธุกรรม: กรณีศึกษาแม่น้าว้าตอนล่าง จังหวัดน่าน
BD-022 อ.ดร.รัชณีภรณ์ อิ่นคา การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ามันหอมระเหยจากเมล็ดมะไฟจีนเพื่อไล่แมลง
BD-023 อ.ดร.อุษณีย์ภรณ์ สร้อยเพ็ชร์ การศึกษาความหลากหลายของลักษณะภายนอกที่ปรากฏในสายพันธุ์ไก่
พื้นเมืองไทยตามลักษณะอุดมทัศนีย์ในจังหวัดพิษณุโลก
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-024 ผศ.ดวงเดือน สงฤทธิ์ ปัญหาน้าเค็มรุกล้าพื้นที่ปลูกจากของเกษตรกร ตาบลขนาบนาก อาเภอ
ปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช
BD-025 อ.ดร.ธณิกานต์ ธรสินธุ์ การศึกษาผลของการเติมเคี่ยมที่มีต่อลักษณะทางกายภาพ เคมี และจุลินทรีย์
ของน้าหวานต้นจาก
BD-026 อ.ดร.วีระเกียรติ ทรัพย์มี สภาพการใช้ผลผลิตจากต้นจาก และการศึกษาด้านนิเวศวิทยาป่าจาก
ของชุมชนในตาบลขนาบนาก อาเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช
BD-027 อ.ดร.อรพรรณ จันทร์อินทร์ การบริหารจัดการความหลากหลายของอาหารพื้นเมืองเพื่อความมั่นคงทาง
อาหารของชุมชนบริเวณชายแดนไทย-มาเลเชีย ของจังหวัดสงขลา
BD-028 อ.อัมรินทร์ สันตินิยมภักดี การกระจายตัวและการใช้ประโยชน์ป่าสาคูในพื้นที่ภาคใต้ จังหวัดตรัง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-029 อ.ณัฐกิตทิ์ โตอ่อน ผลกระทบของโรงงานอุตสาหกรรมต่อความหลากหลายของแพลงก์ตอนและ
สัตว์หน้าดินในแม่น้าป่าสัก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
BD-030 ผศ.นิษฐกานต์ ประดิษฐศรีกุล ความหลากหลายทางชีวภาพของแบคทีเรียในกะปิเจและปลาร้าเจของชุมชน
อโศก
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-031 อ.ดร.ฉัตร พยุงวิวัฒนกูล การประเมินค่าความหลากหลายทางชีวภาพเชิงพื้นที่ของระบบนิเวศป่าต้นน้า
โดยใช้ระบบภูมิสารสนเทศ ในพื้นที่ลุ่มน้าย่อยลาตะคองตอนบน
จังหวัดนครราชสีมา
BD-032 ผศ.ดร.นิศาชล ฤๅแก้วมา การสารวจชนิด ปริมาณ และการแพร่กระจายของพรรณไม้น้าในลาน้าพุง
จังหวัดสกลนคร
BD-033 อ.วุฒิพงษ์ ฮามวงศ์ การศึกษาและจัดทาฐานข้อมูลผักพื้นบ้านและสมุนไพรไทยในจังหวัดสกลนคร
BD-034 ดร.สุกัญญา คาหล้า ความผันแปรทางพันธุกรรมของปลากดเหลืองในลุ่มน้าก่า
BD-035 ผศ.ดร.สาเนาว์ เสาวกูล ความหลากหลายทางชีวภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่กระจายของประชากร
ปลาในพื้นที่ชุ่มน้า ลาน้ามูล จังหวัดศรีสะเกษ
BD-036 ผศ.ดร.อโนทัย วิงสระน้อย ชนิดแมลงเบียนดักแด้แมลงวัน: ผลของชนิดแมลงเบียนต่อพฤติกรรมการเบียน
และการสืบพันธุ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-037 อ.จรายุทธ มงคลวงษ์ ความหลากหลายทางภูมิปัญญาท้องถิ่นชุมชนชายแดนบ้านพุน้าร้อน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรี
BD-038 อ.ดร.ปิยะพร พิทักษ์ตันสกุล ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์พืชผักพื้นบ้านด้านอาหารและสมุนไพร
ของชุมชนชายแดนบ้านพุน้าร้อน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรี
BD-039 อ.สุวิมล กะตากูล ความหลากหลายของอาหารท้องถิ่น และพืชผักพื้นบ้าน ของชุมชนชายแดน
บ้านพุน้าร้อน เขตเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-040 อ.พิรฎา ทองประเสริฐ ความหลากหลายของผักพื้นบ้านภาคเหนือในชุมชนย้ายถิ่นถาวรจากล้านนา
จังหวัดกาแพงเพชร
BD-041 อ.ดร.มณฑา หมีไพรพฤกษ์ ความหลากหลายของพันธุ์ข้าวพื้นเมืองใน จังหวัดกาแพงเพชร
BD-042 อ.ศุภวัฒน์ วิสิฐศิริกุล การศึกษาสัณฐานวิทยาพันธุ์ข้าวพื้นเมืองในเขตอาเภอพบพระ และ
อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก
BD-043 ผศ.อนุชา เกตุเจริญ ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชผักพื้นบ้าน สู่ชุมชนแบบเศรษฐกิจ
พอเพียงภาคเหนือตอนล่าง
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-044 ผศ.โกเมนทร์ บุญเจือ การใช้ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ขาข้อปล้องขนาดใหญ่
ในแปลงเกษตรเพื่อสนับสนุนการตรวจประเมินเกษตรอินทรีย์
BD-045 อ.นิยม สุทธหลวง องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสมุนไพรไทยเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์
รักษาโรคเบาหวาน: กรณีศึกษาจากตารายาสมุนไพร ลูกศิษย์หลวงปู่ศุข
จังหวัดชัยนาท
BD-046 อ.พิชิต ธิอิ่น การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในการรื้อฟื้นแหล่งท่องเที่ยวที่ตายแล้ว
ด้วยทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-047 อ.เกศสุดา โภคานิตย์ การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารกองทุนหมู่บ้าน
ตาบลบ้านขาม อาเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ
BD-048 อ.ดร.สุรชัย จันทร์ศรี การกระจายตัวของเห็บสุนัขและเห็บวัวในจังหวัดชัยภูมิ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-049 อ.เพ็ญศรี มลิทอง การศึกษาความหลากหลายของพืชอาหารและการใช้ประโยชน์ของชาวลัวะ
ในหมู่บ้านปางเกาะทราย อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย
BD-050 ผศ.ดร.รณิดา ปิงเมือง การศึกษาการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศและการจัดการป่าชุมชนบ้านร่องบอน
ตาบลม่วงคา อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย
BD-051 อ.ดร.เสถียร ฉันทะ การวิเคราะห์สัณฐานวิทยาความหลากหลายทางพันธุกรรมข้าวก่าพื้นเมือง
ในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-052 อ.ดร.ทัตพร คุณประดิษฐ์ สถานการณ์ความหลากหลายทางชีวภาพของ สาหร่ายขนาดใหญ่ ไดอะตอม
พื้นท้องน้า และสัตว์หน้าดิน ในลาน้าแม่สา อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
BD-053 อ.ดร.รุ่งนภา ทากัน การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
และความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ อาเภอ
กัลยานิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-054 รศ.ดร.กาสัก เต๊ะขันหมาก การพัฒนาพิพิธภัณฑ์มีชีวิตเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการท่องเที่ยว
เชิงสร้างสรรค์ของตาบลทะเลชุบศร ตาบลเมือง จังหวัดลพบุรี
BD-055 อ.คมกริช บุญเขียว การจัดการความรู้อาหารพื้นบ้าน ของชุมชนท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี
BD-056 รศ.ดร.ดวงใจ บุญกุศล ชีววิทยาระบบสืบพันธุ์ของปลาช่อน Channa striata ในลาน้าแม่ลา
จังหวัดสิงห์บุรี
BD-057 ผศ.เพียงใจ เจียรวิชญกุล ความหลากหลายของผักพื้นบ้านและภูมิปัญญาด้านอาหารของชุมชนมอญ
บางขันหมาก จังหวัดลพบุรี
BD-058 ผศ.ดร.อาพล จุปะมัดถา ความหลากหลายของพันธุ์ สี แหล่งเลี้ยง และสัณฐานวิทยาไก่ชน
ในอาเภอเมืองลพบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-059 อ.ธุวพล คงน้อย การศึกษาพื้นที่การเลี้ยงหอยแครงในพื้นที่บ้านขุนสมุทรจีน อาเภอพระสมุทร
เจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ
BD-060 ผศ.ดร.นงเยาว์ อุทุมพร การมีส่วนร่วมของชุมชนในการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการศึกษา
ในสถานศึกษา อาเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
BD-061 อ.แสนชัย ลิขิตธีรวุฒิ การออกแบบเรขศิลป์สาหรับการสร้างอัตลักษณ์ และส่งเสริมภาพลักษณ์
ชุมชน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-062 อ.ธีระ ธรรมวงศา ความหลากหลายของข้าวพื้นเมือง ภูมิปัญญาและการใช้ประโยชน์ในจังหวัดชัยภูมิ
BD-063 ผศ.ประยุทธ กุศลรัตน์ สถานภาพของปลากัดป่าอีสานในจังหวัดนครราชสีมา และการตรวจสอบทาง
เซลล์พันธุศาสตร์เพื่อการอนุรักษ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-064 ผศ.ดร.จุติพร อัศวโสวรรณ การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพวิถีชีวิต
และภูมิปัญญาท้องถิ่น: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
BD-065 ผศ.วรรณชัย พรหมเกิด การศึกษาและพัฒนารูปแบบการปลูกข้าวไร่พันธุ์พื้นเมือง เพื่อส่งเสริมการใช้
ประโยชน์ด้านอาหารอย่างยั่งยืน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่
จังหวัดนครศรีธรรมราช
BD-067 ผศ.สุริยะ จันทร์แก้ว การขยายพันธุ์สาคู, ด้วงสาคู ผสมผสานกับการประมงของแหล่งน้าสู่รายได้
เพิ่มของเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-068 อ.ดร.กุลรภัส เทียมทิพร แผนที่ชาติพันธุ์ชุมชน: การจัดการระบบสารสนเทศภูมิปัญญาท้องถิ่นออนไลน์
เมืองปากน้าโพ จังหวัดนครสวรรค์
BD-069 ผศ.ดร.ทะเนตร อุฤทธิ์ การสร้างเครือข่ายเยาวชนเกษตรปลอดภัยเพื่อพัฒนาสู่ความยั่งยืนของ
เกษตรอินทรีย์บนรากฐานของความหลากหลายทางชีวภาพ
BD-070 อ.พงษ์ศักดิ์ สิริโสม การศึกษาความหลากหลายพันธุ์ข้าวพื้นเมืองบนฐานการใช้ประโยชน์และ
การอนุรักษ์ของชุมชนในจังหวัดพิจิตร
BD-071 อ.สิรภัทร ศิริบรรสพ การศึกษาพืชผักพื้นบ้านและอาหารพื้นเมืองในจังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี
และพิจิตร
BD-073 ผศ.ดร.สุภาวรรณ วงค์คาจันทร์ การพัฒนาเครือข่ายศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น
BD-074 อ.อาภากร โพธิ์ดง บทเรียนท้องถิ่นภูมิปัญญา วัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน จากฐานข้อมูล
ความหลากหลายทางชีวภาพไก่พื้นเมืองในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ
BD-075 อ.จรัญ ประจันบาล การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนมีส่วนร่วม:
กรณีศึกษาป่าชุมชนบ้านศรีสรรเพชญ์
BD-076 อ.ภัทรภร เอื้อรักสกุล ความหลากหลาย การวิเคราะห์พันธุกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของพันธุ์ข้าว
พื้นบ้านในเขตพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี
BD-077 อ.ดร.รุ่งลักษณ์ แก้ววิเชียร ความหลากหลายของจุลินทรีย์ในดินจากพื้นที่ป่าชุมชนบ้านศรีสรรเพชญ์
ที่มีความสามารถในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช
BD-078 รศ.วันทนี สว่างอารมณ์ ความหลากหลายของมันมือเสือพืชเศรษฐกิจท้องถิ่นของพื้นที่บ้าน
ศรีสรรเพชญ์ ตาบลอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v
Herp congress-v

More Related Content

What's hot

พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555
เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555
เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555Kroopop Su
 
เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ #2
เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ #2เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ #2
เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ #2Prachyanun Nilsook
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกpeter dontoom
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4พัน พัน
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 

What's hot (20)

พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555
เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555
เกณฑ์การแข่งทักษะการงานอาชีพและเทคโนโลยี-2555
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ #2
เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ #2เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ #2
เทคนิคการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ #2
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 

Similar to Herp congress-v

รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงIntrapan Suwan
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยKobwit Piriyawat
 
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2Kobwit Piriyawat
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-fullKruBeeKa
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อยKruBeeKa
 
Single Window for Research Proposal Submission System
Single Window for Research Proposal Submission SystemSingle Window for Research Proposal Submission System
Single Window for Research Proposal Submission SystemBoonlert Aroonpiboon
 

Similar to Herp congress-v (20)

V 268
V 268V 268
V 268
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
Binder1
Binder1Binder1
Binder1
 
Global Young Scientists Summit 2014 # 1
Global Young Scientists Summit 2014 # 1Global Young Scientists Summit 2014 # 1
Global Young Scientists Summit 2014 # 1
 
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
 
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
EduRam newsletters 1.6.57
EduRam newsletters 1.6.57EduRam newsletters 1.6.57
EduRam newsletters 1.6.57
 
V 300
V 300V 300
V 300
 
V 254
V 254V 254
V 254
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
 
แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
Effective Teacher Education
Effective Teacher EducationEffective Teacher Education
Effective Teacher Education
 
Single Window for Research Proposal Submission System
Single Window for Research Proposal Submission SystemSingle Window for Research Proposal Submission System
Single Window for Research Proposal Submission System
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
 
2557-6
2557-62557-6
2557-6
 
Publiceng611004
Publiceng611004Publiceng611004
Publiceng611004
 

More from Pattie Pattie

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdfPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
 

Herp congress-v

  • 1.
  • 2. การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 โดยความร่วมมือของ มหาวิทยาลัยภายใต้โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา 70 แห่ง วันที่ 2-4 มีนาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี สานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา และพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • 3. หนังสือสูจิบัตร การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 (HERP Congress V) บรรณาธิการที่ปรึกษา : ศ.ดร.วิชัย บุญแสง : ศ.ดร.วิสุทธิ์ ใบไม้ : ศ.ดร.สุมาลี ตั้งประดับกุล : ศ.ดร.เกตุ กรุดพันธ์ : ศ.ดร.สุพจน์ หารหนองบัว : ศ.ดร.เพทาย เย็นจิตโสมนัส : ศ.ดร.อัญชลี ทัศนาขจร : รศ.ดร.วัชรพงษ์ อนันต์ชื่น บรรณาธิการ : ดร.สุชาดา จงประกอบกิจ กองบรรณาธิการ : ดร.พิริยะ แก้วปฐมศรี : น.ส.ปุญชรัสมิ์ วังน้อย : ดร.ชนิดา แสนสะอาด : น.ส.ปาณิสรา มีจันทร์ : น.ส.เปรมณิกา มาลัยศรี : น.ส.รินรพี งามแสง : น.ส.ณัฐฐินันท์ ละลอกแก้ว : น.ส.ปุ๋ม ปรีดากุล จัดพิมพ์โดย : สานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 128/356 ชั้น 33 เอ อาคารพญาไทพลาซ่า ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0-2129-3108, 0-2129-3124 โทรสาร 0-2129-3107 E-mail: herp.mua@gmail.com Website: http://herp.udru.ac.th/ พิมพ์ครั้งแรก : กุมภาพันธ์ 2560 จานวนพิมพ์ : 1,500 เล่ม พิมพ์ที่ : ศักดิ์ศรีอักษรการพิมพ์ 33 ถ. ทหาร ต. หมากแข้ง อ. เมือง จ. อุดรธานี 41000 โทรศัพท์ 042-341202, 089-6205466 E-mail: saksri99udon@gmail.com Website: https://th-th.facebook.com/saksriaksorn
  • 4. สารผู้อานวยการ สานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ภายใต้สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้จัดสรรงบประมาณสนับสนุนทุนวิจัยให้กับมหาวิทยาลัย ภายใต้ โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา 70 แห่ง ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จนถึงปัจจุบัน บนพื้นฐาน ความหลากหลายทางชีวภาพ การพัฒนาครูของครูด้วยโจทย์วิจัยท้องถิ่น การวิจัยจากฐานภูมิปัญญา ท้องถิ่นสู่นวัตกรรมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการวิจัยที่สอดคล้องกับ Supra Clusters 6 ด้าน เพื่อส่งเสริม การวิจัย และพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีการจัดประชุมวิชาการเพื่อติดตามความก้าวหน้าการ ดาเนินการวิจัยที่ได้รับการจัดสรรทุนวิจัยเป็นประจาทุกปี โดยปีที่แล้วในพิธีเปิดการจัดประชุม HERP Congress IV นับเป็นครั้งแรกที่มีพิธีลงนาม บันทึกความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เครือข่ายศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ วัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ระหว่างสานักบริหารโครงการฯ ภายใต้ สกอ. กับมหาวิทยาลัย 16 แห่ง เมื่อ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครือข่ายการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมจาก รากฐานความหลากหลายทางชีวภาพ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการสร้างผลิตภัณฑ์ที่สามารถ สร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนท้องถิ่น อีกทั้งยังมีการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยและพัฒนาบุคลากรวิจัยในระดับ ต่าง ๆ และในปีนี้ยังมีเสวนาเครือข่ายครั้งที่ 2 ร่วมกับมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ เรื่อง “เส้นทางสู่นวัตกรรม อาหารเพื่อสุขภาพบนความหลากหลายทางชีวภาพ” ได้แก่ ไก่พื้นเมือง ข้าวพื้นเมือง อาหารพื้นเมือง ผักและ ผลไม้พื้นบ้าน อีกด้วย สาหรับการจัดประชุมใหญ่ครั้งนี้ สานักบริหารโครงการฯ ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี และเครือข่าย มหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้ง 70 แห่ง ได้ดาเนินการจัดประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 ภายใต้ แนวคิด “รากฐานภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมวิจัยสู่สากล” สาหรับการจัดการประชุมครั้งนี้ นักวิจัยภายใต้โครงการฯ ส่งบทคัดย่อเข้าร่วมนาเสนอผลงานรวมทั้งสิ้น 512 โครงการ จากจานวนโครงการทั้งหมด 572 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 89.51 ของผู้ที่ได้รับการจัดสรรทุนวิจัยประจาปีงบประมาณ 2559 ซึ่งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ได้คัดเลือกผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูงเพื่อรับรางวัล โดยแบ่งเป็นรางวัลผลงานวิจัยดีเด่น จานวน 11 รางวัล และ ผลงานวิจัยดีมากทั้งแบบบรรยายและแบบโปสเตอร์อีกประมาณ 75 โครงการ เพื่อเป็นกาลังใจและสร้างแรงจูงใจ ในการพัฒนาผลงานวิจัยที่มีคุณภาพต่อไป ในนามของสานักบริหารโครงการฯ ผมขอขอบคุณคณะกรรมการอานวยการจัดการประชุมจากทุกมหาวิทยาลัย ที่ให้ความร่วมมือและความช่วยเหลือเป็นอย่างดีมาโดยตลอด ขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ และวิทยากรที่ให้เกียรติ มาให้ความรู้และแนวปฏิบัติแก่นักวิจัย สุดท้ายนี้ผมขอขอบคุณคณะกรรมการดาเนินงานประชุมวิชาการจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ที่ได้ร่วมแรงร่วมใจ ช่วยเตรียมความพร้อมการจัดประชุมและทุ่มเททางานอย่างแข็งขัน น่าประทับใจยิ่ง ทาให้การเตรียมจัดประชุมครั้งนี้สาเร็จลุล่วงบรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทุกประการ ศาสตราจารย์ ดร.วิชัย บุญแสง ผู้อานวยการสานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา และพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
  • 5. สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา เป็นการแสดงศักยภาพด้านงานวิจัย งานวิชาการ งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมของบุคลากรของมหาวิทยาลัย ให้สามารถนาองค์ความรู้ที่ได้ ได้สู่การพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในท้องถิ่น และพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ ยังก่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการแบบ บูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างสถาบัน ทาให้เกิดงานวิจัยที่มีคุณภาพ สามารถนาไปใช้ประโยชน์และเพิ่มมูลค่าต่อ ชุมชนและท้องถิ่น สาหรับผู้บริหารมหาวิทยาลัย ก็มีโอกาสแลกเปลี่ยนแนวทางการบริหารจัดการระบบงานวิจัย ของแต่ละสถาบัน ขอขอบคุณสานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ภายใต้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ที่สนับสนุนงบประมาณการทาวิจัยให้กับบุคลากรของ มหาวิทยาลัยทุกแห่ง ซึ่งเป็นแรงกระตุ้นให้นักวิจัยมีความตื่นตัวในการทาวิจัยและผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพได้ อย่างต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี รู้สึกเป็นเกียรติและมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้มีส่วนร่วมกับสานักบริหาร โครงการฯในการจัดประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ สละเวลามาวิพากษ์และให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อนักวิจัย และให้เกียรติบรรยายพิเศษ รวมทั้งร่วมเสวนา ทางวิชาการ ขอขอบคุณเครือข่ายมหาวิทยาลัยทุกแห่ง คณะทางานทุกฝ่าย นักวิจัยผู้นาเสนอผลงานวิจัยภาค บรรยาย ภาคโปสเตอร์ และภาคนิทรรศการ ผู้มีเกียรติทุกท่านที่เข้าร่วมการประชุม และทาให้การดาเนินงาน ประสบความสาเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ทุกประการ (ดร.ณัติเทพ พิทักษานุรัตน์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • 6. การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 The Fifth Higher Education Research Promotion Congress (HERP CONGRESS V) โดยความร่วมมือของมหาวิทยาลัยภายใต้โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา 70 แห่ง “รากฐานภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมวิจัยสู่สากล” การวิจัยเป็นเครื่องมือที่มีความสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ความสามารถในการวิจัยเป็นตัวบ่งชี้ที่สาคัญของความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และการพัฒนา ประเทศไทยจาเป็นที่จะต้องสร้างปัญญาปฏิบัติหรือการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติเพื่อขับเคลื่อนสังคมไทยให้ไปสู่สังคม อุดมปัญญา (Knowledge-based Society) นอกจากนี้กระบวนการหนึ่งที่สาคัญของการวิจัยคือ การนา ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ หรือการเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่แวดวงวิชาการ เพื่อการนาผลงานวิจัยไปใช้ใน การแก้ปัญหาสังคม และต่อยอดการพัฒนางานวิจัยที่สูงขึ้นต่อไป สานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ภายใต้สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้จัดสรรงบประมาณสนับสนุนทุนวิจัยให้กับมหาวิทยาลัยภายใต้โครงการ ส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา 70 แห่ง บนพื้นฐานความหลากหลายทางชีวภาพ การพัฒนาครูของครูด้วยโจทย์วิจัยท้องถิ่น การวิจัยจากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่นวัตกรรมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการวิจัยที่สอดคล้องกับ Supra Clusters 6 ด้าน ของมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จนถึงปัจจุบัน เพื่อ ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัย และกาหนดให้มีการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 1 (HERP CONGRESS I) ระหว่างวันที่ 21-23 มกราคม 2556 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จ.พิษณุโลก ครั้งที่ 2 (HERP CONGRESS II) ระหว่างวันที่ 22-24 มกราคม 2557 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 3 (HERP CONGRESS III) ระหว่างวันที่ 9-11 มีนาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จ. นครศรีธรรมราช ครั้งที่ 4 (HERP CONGRESS IV) ระหว่างวันที่ 8-10 กุมภาพันธ์ 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จ. อุบลราชธานี สาหรับปี พ.ศ. 2560 สานักบริหารโครงการฯ ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี และเครือข่าย มหาวิทยาลัยของรัฐ ดาเนินการจัดประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 (HERP CONGRESS V) ระหว่างวันที่ 2-4 มีนาคม พ.ศ. 2560 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จ.อุดรธานี เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย แลกเปลี่ยนประสบการณ์การทาวิจัยร่วมกันระหว่างนักวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยภายใต้โครงการส่งเสริม การวิจัยในอุดมศึกษา
  • 7. วัตถุประสงค์ 1. แสดงศักยภาพด้านการวิจัย ภายใต้ 3 กลุ่มบูรณาการ สาหรับกลุ่มมหาวิทยาลัยที่กาลังพัฒนาศักยภาพ ด้านการวิจัย 50 แห่ง และภายใต้ Supra Clusters 6 ด้าน สาหรับกลุ่มมหาวิทยาลัยของรัฐ 20 แห่ง 2. ประเมินผลสาเร็จและคุณภาพของงานวิจัยที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์และเพิ่มคุณค่าต่อชุมชน ท้องถิ่นและพัฒนาประเทศ 3. เผยแพร่ผลงานวิจัยที่ได้ผลผลิตในลักษณะต่างๆ เช่น หนังสือจากการประมวล วิเคราะห์ และ/หรือ สกัดมาจากผลงานวิจัย การถอดบทเรียน สื่อการเรียนการสอน ผลงานตีพิมพ์ที่ผ่านการประเมินอย่างมีมาตรฐาน และการจดสิทธิบัตร เป็นต้น 4. สร้างเครือข่ายนักวิจัยในการที่จะร่วมมือกันทาการวิจัยเชิงบูรณาการต่อไปในอนาคต 5. เพื่อกระตุ้นให้นักวิจัยมีความตื่นตัวในการทาวิจัยและผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยการคัดเลือก ผลงานวิจัยดีเด่นและดีมากเพื่อรับรางวัล 6. ผู้บริหารมหาวิทยาลัยภายใต้โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา แลกเปลี่ยนแนวทางการบริหาร จัดการและระบบงานวิจัย เป้าหมายเชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมงานประกอบด้วยนักวิจัย คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน มหาวิทยาลัยของรัฐอีก 20 แห่ง และเครือข่าย ประชาชนผู้สนใจทั่วไป ประมาณ 1,000 คน 2. ผลงานของนักวิจัยที่นาเสนอที่ประชุมวิชาการในรูปแบบการบรรยายและรูปแบบโปสเตอร์ไม่น้อยกว่า 450 ผลงาน 3. การบรรยายพิเศษโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และการเสวนาวิชาการ ไม่น้อยกว่า 4 เรื่อง เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1. เพื่อยกระดับคุณภาพงานวิจัย งานวิชาการ งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยให้ได้รับ การยอมรับในระดับประเทศ 2. เพื่อนาองค์ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้จากงานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมไปสู่การพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนในท้องถิ่น สังคม และประเทศ 3. เพื่อพัฒนาให้เกิดระบบเครือข่ายงานวิจัยแบบบูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างสถาบัน ทั้งมหาวิทยาลัย ของรัฐ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน รูปแบบการจัดงาน การประชุมครั้งนี้มีการนาเสนอผลงานวิจัยในรูปแบบนิทรรศการงานวิจัย การปาฐกถาพิเศษ การบรรยายพิเศษ การเสวนาทางวิชาการ การนาเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยายและแบบโปสเตอร์ และ การจัดนิทรรศการ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม จากงานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนภายใต้โครงการส่งเสริมการวิจัย ในอุดมศึกษา 70 แห่ง ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ความหลากหลายทางชีวภาพ กลุ่มที่ 2 การวิจัยจากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มที่ 3 การพัฒนาครูของครูด้วยโจทย์วิจัยท้องถิ่น กลุ่มที่ 4 ผลงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยของรัฐ 20 แห่ง รวมทั้ง มีนิทรรศการแสดงผลงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยในภูมิภาคอาเซียน เช่น เวียดนาม และ สปป.ลาว เป็นต้น ซึ่งนับเป็นครั้งที่สองในการเชื่อมโยงเครือข่ายกับประเทศเพื่อนบ้าน
  • 8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. สามารถกระตุ้นให้คณาจารย์ผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น เพื่อนาเสนอในเวทีการนาเสนอ ผลงานวิจัยทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติที่มีมาตรฐาน 2. นักวิจัยเกิดความตื่นตัวและให้ความสาคัญในการทางานวิจัยที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และมุ่งแก้ไข ปัญหาในชุมชนและท้องถิ่น 3. ผู้บริหารมหาวิทยาลัยได้เรียนรู้ระบบการบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อนาไปปรับใช้ 4. เกิดความร่วมมือทางวิชาการอย่างเป็นรูปธรรม ของเครือข่ายศูนย์วิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 9. สารบัญ การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 I กาหนดการ 1 ผังงานประชุม 6 การนาเสนอผลงานวิจัยดีเด่นและผลงานวิจัยดีมากแบบบรรยาย - กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ 8 - กลุ่มบูรณาการวิจัยจากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่นวัตกรรมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9 - กลุ่มการพัฒนาครูของครูด้วยโจทย์วิจัยท้องถิ่น 11 - กลุ่มผลงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยของรัฐ 20 แห่ง 12 การนาเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ - กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ 13 - กลุ่มบูรณาการวิจัยจากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่นวัตกรรมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 29 - กลุ่มการพัฒนาครูของครูด้วยโจทย์วิจัยท้องถิ่น 35 - กลุ่มผลงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยของรัฐ 20 แห่ง 42 คณะกรรมการอานวยการ 58 คณะกรรมการวิชาการ 63 คณะกรรมการดาเนินการจัดประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 71 ภาคผนวก 83 - สัญลักษณ์ของการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาครั้งที่ 5 84 - การแสดงชุดมหัศจรรย์วัฒนธรรมอุดร 89 - การแสดงชุดฟ้อนสาวกุมภวาปีโบกข้าวหลาม 96 - การแสดงชุดฟ้อนเล่าเรื่องตานานผ้าหมี่ขิดจังหวัดอุดรธานี 97
  • 10. กาหนดการ การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 The Fifth Higher Education Research Promotion Congress (HERP CONGRESS V) โดยความร่วมมือของมหาวิทยาลัย 70 แห่ง “รากฐานภูมิปัญญาไทย นวัฒกรรมวิจัยสู่สากล” วันที่ 2-4 มีนาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 อาคารกิจกรรมนักศึกษา เวลา กิจกรรม 07.00 – 09.00 น. ลงทะเบียน ณ อาคารกิจกรรมนักศึกษา 09.00 – 10.30 น. พิธีเปิด - ชมวีดีทัศน์ “การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาครั้งที่ 5 โดยความร่วมมือของ มหาวิทยาลัย 70 แห่ง” - การแสดง “มหัศจรรย์วัฒนธรรมอุดรธานี” จากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี - กล่าวต้อนรับ โดย นายชยาวุธ จันทร ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี - กล่าวขอบคุณ โดย ดร.ณัติเทพ พิทักษานุรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี - กล่าวรายงาน โดย ดร.สุภัทร จาปาทอง เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา - เปิดการประชุม และปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “สถาบันการศึกษาตอบสนองต่อนโยบายการศึกษา 4.0 อย่างไร?” โดย รองศาสตราจารย์ นพ.โศภณ นภาธร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงศึกษาธิการ - มอบโล่รางวัล โดย ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงศึกษาธิการ และบันทึกภาพร่วมกัน 10.30 – 11.00 น. บรรยายพิเศษ เรื่อง “สถาบันอุดมศึกษากับ Thailand 4.0” โดย ศาสตราจารย์ นพ.วิจารณ์ พานิช ประธานมูลนิธิเพื่อการพัฒนาสุขภาพระหว่างประเทศ 11.00 – 12.00 น. บรรยายพิเศษ เรื่อง “มหาวิทยาลัยไทย...ไปทางไหนกันดี?” โดย ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) 12.00 – 13.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.30 – 14.30 น. เสวนาพิเศษ เรื่อง “หอยทากสยามสู่นวัตกรรมความงามโลก: ต้นแบบงานวิจัย 4.0” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ทัศนาขจร นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2553 ศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ ปัญหา นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2552 พญ.วริษา ตยางคนนท์ Miss beauty skin จากการประกวดนางสาวไทย 2559 ดาเนินรายการโดย ศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ หารหนองบัว นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2544
  • 11. หมายเหตุ: * = อาคารศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ** = อาคารเฉลิมพระเกียรติ วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 (ต่อ) เวลา กิจกรรม 14.30 – 17.30 น. การนาเสนอผลงานวิจัยดีเด่น ห้องจันทน์กะพ้อ* การประชุมผู้บริหาร มหาวิทยาลัยภายใต้ โครงการส่งเสริม การวิจัยในอุดมศึกษา 70 แห่ง “มรภ. มทร. ไปทางไหนกันดี ใน ยุคประเทศไทย 4.0” ห้องสุพรรณิการ์* กลุ่มที่ 1 โครงการ ความหลากหลาย ทางชีวภาพ ห้องทองกวาว* กลุ่มที่ 2 โครงการ บูรณาการวิจัยจาก ฐานภูมิปัญญา ท้องถิ่นสู่นวัตกรรม ด้วยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ห้องประชุม 2** กลุ่มที่ 3 โครงการ พัฒนาครูของครู ด้วยโจทย์วิจัย ท้องถิ่น ห้องอินทนิล* กลุ่มที่ 4 ผลงานวิจัยจาก มหาวิทยาลัย ของรัฐ 20 แห่ง การนาเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยาย ห้องสุพรรณิการ์* กลุ่มที่ 1 โครงการ ความหลากหลาย ทางชีวภาพ ห้องทองกวาว* กลุ่มที่ 2 โครงการ บูรณาการวิจัยจาก ฐานภูมิปัญญา ท้องถิ่นสู่นวัตกรรม ด้วยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ห้องประชุม 2** กลุ่มที่ 3 โครงการ พัฒนาครูของครู ด้วยโจทย์วิจัย ท้องถิ่น ห้องอินทนิล* กลุ่มที่ 4 ผลงานวิจัยจาก มหาวิทยาลัย ของรัฐ 20 แห่ง 18.00 - 21.00 น. งานเลี้ยงรับรอง - Dinner talk (ลานศิษย์เก่า) เรื่อง “ECO DESIGN สไตล์ Thailand 4.0” โดย คุณพิพัฒน์ อภิรักษ์ธนากร กรรมการผู้จัดการ บริษัท คิด คิด จากัด ผู้เชี่ยวชาญและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - การแสดงนาฏศิลป์ไทยและศิลปะพื้นบ้าน - การแสดงดนตรี
  • 12. วันศุกร์ที่ 3 มีนาคม 2560 อาคารกิจกรรมนักศึกษา เวลา กิจกรรม 09.00 – 9.45 น. บรรยายพิเศษ เรื่อง “นวัตกรรมอาหารสุขภาพบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ: จากท้องถิ่นสู่สากล” โดย ศาสตราจารย์ ดร.กมล เลิศรัตน์ ผู้รับพระราชทานทุนอานันทมหิดล แผนกเกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ. 2524 09.45 – 10.30 น. บรรยายพิเศษ เรื่อง “การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของวิชาการเพื่อรับใช้สังคม: กรณีศึกษา” โดย ศาสตราจารย์ ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด ประธานมูลนิธิสถานศึกษานโยบายสาธารณะ 10.30 – 10.45 น. อาหารว่าง 10.45 – 11.30 น. บรรยายพิเศษ เรื่อง “มหาวิทยาลัย: แหล่งสร้างงานวิจัยสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทย” โดย ศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล ว่องวาณิช นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550 11.30 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 15.30 น. ประเมินการนาเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ (อาหารว่างเสิร์ฟในห้อง) 16.00 – 17.00 น. - มอบเกียรติบัตร โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิชัย บุญแสง ผู้อานวยการสานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ - ปิดการประชุมโดย ดร.ณัติเทพ พิทักษานุรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • 13. วันเสาร์ที่ 4 มีนาคม 2560 ห้องจันทน์กะพ้อ อาคารศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เวลา กิจกรรม เสวนาการพัฒนาเครือข่ายครั้งที่ 2 ร่วมกับมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ เรื่อง “เส้นทางสู่นวัตกรรมอาหารเพื่อสุขภาพบนความหลากหลายทางชีวภาพ” 08.00 – 09.00 น. 09.00 – 09.15 น. 09.15 – 10.15 น. 10.15 – 10.30 น. 10.30 – 11.00 น. 11.00 – 11.30 น. 11.30 – 12.00 น. 12.00 – 13.00 น. 13.00 – 15.30 น. 15.30 – 16.30 น. 16.30 – 16.45 น. ลงทะเบียน เปิดการประชุม โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิชัย บุญแสง ผู้อานวยการสานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา และพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประมวลสถานภาพความก้าวหน้าของงานวิจัยและพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพของสานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดย ศาสตราจารย์ ดร.นันทวัน บุณยะประภัศร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พักรับประทานอาหารว่าง ประมวลสถานภาพความก้าวหน้าของงานวิจัยและพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพของโครงการมหาวิทยาลัย วิจัยแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) โดย ศาสตราจารย์ ดร.สนั่น จอกลอย ผู้ประสานงานการวิจัยอาหารเพื่อสุขภาพ โครงการมหาวิทยาลัยวิจัย แห่งชาติ ประมวลสถานภาพความก้าวหน้างานวิจัยและพัฒนาความหลากหลายทางชีวภาพและโอกาสการพัฒนา อาหารเพื่อสุขภาพ โดย ดร.ศรีวรรณ ไชยสุข ผู้อานวยการสถาบันความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาท้องถิ่นและอาเซียน /ผู้ประสานงานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ โครงการส่งเสริมการวิจัยใน อุดมศึกษา (สกอ.) ข้อเสนอกรอบแนวคิดการวิจัยและพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพ โดย ศาสตราจารย์ ดร.กมล เลิศรัตน์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พักรับประทานอาหารกลางวัน ประชุมย่อย เพื่อกาหนดทิศทางการวิจัยและพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพ และความร่วมมือของนักวิจัยใน กลุ่มวิจัยมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และกลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ กลุ่มที่ 1: ไก่พื้นบ้าน กลุ่มที่ 2: ข้าวพื้นเมือง กลุ่มที่ 3: อาหารพื้นเมือง ผักและผลไม้พื้นบ้าน นาเสนอผลการประชุมกลุ่มย่อย สรุปและปิดการประชุม
  • 14. วันเสาร์ที่ 4 มีนาคม 2560 กิจกรรมศึกษาดูงาน เวลา กิจกรรม 08.00 – 17.00 น. ศึกษาดูงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ประวัติศาสตร์และภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดอุดรธานี เส้นทางที่ 1 - ทะเลบัวแดง - ภูฝอยลม - วัดภูทองเทพนิมิต (หลวงพ่อทันใจ) - วัดป่าบ้านตาด เส้นทางที่ 2 - วัดป่าบ้านค้อ - อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท - วัดป่าภูก้อน - ตลาดผ้านาข่า เส้นทางที่ 3 - แหล่งมรดกโลกบ้านเชียง - คาชะโนด (วังนาคินทร์) เส้นทางที่ 4 - ท่องเที่ยวเวียงจันทน์ ไป-กลับ - ล่องแพท่าง่อน หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ผู้ร่วมเดินทางรับผิดชอบ - เส้นทางที่ 1, 2 และ 3 ไม่มีค่าใช้จ่าย - เส้นทางที่ 4 จานวน 1,500 บาท
  • 17. กาหนดการนาเสนอ ผลงานวิจัยแบบบรรยาย กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ ห้องสุพรรณิการ์ อาคารศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 เวลา 14.30-17.30 น. ประธาน : ผศ.สุพจน์ พฤกษะวัน ศ.ดร.สังวรณ์ กิจทวี และ ดร.กาญจนา เชียงทอง รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ ผลงานวิจัยดีเด่น BD-096 ผศ.ดร.สุภาวดี แหยมคง การศึกษาความหลากหลายของวิถีชีวิตและภูมิปัญญาการเลี้ยงไก่ พื้นเมืองไทยในจังหวัดพิษณุโลก (มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม) BD-072 รศ.ดร.สุชาติ แสงทอง การพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมดนตรีพื้นบ้านเพื่อการประดิษฐ์สร้างดนตรีเพื่อ การผ่อนคลาย (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์) BD-153 อ.ดร.วัชรี รวยรื่น การกระจายตัวและการใช้ประโยชน์ป่าสาคูในพื้นที่ภาคใต้: จังหวัด สุราษฏร์ธานี ชุมพรและระนอง (อาเภอเมืองและกระบุรี) (มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี) ผลงานวิจัยแบบบรรยาย BD-066 ผศ.ศุภมาตร อิสสระพันธุ์ การกระจายตัวและการใช้ประโยชน์ป่าสาคูในพื้นที่ภาคใต้: จังหวัด นครศรีธรรมราช (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช) BD-017 ผศ.วิวรณ์ วงศ์อรุณ ผักพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง ตาบลทองมงคล อาเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์) BD-079 อ.ดร.สุนทรียา กาละวงศ์ การขยายพันธุ์ในหลอดทดลองของต้นม่วงไตรบุญ (Tribounia venosa) พรรณไม้ประจาถิ่นในอู่ทอง (มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา) BD-085 อ.รุจิราภา งามสระคู องค์ความรู้ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมืองไทยทรงดา ตาบลบ้านดอน อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี (มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร) BD-128 อ.จีรภัทร์ อัฐฐิศิลป์เวท การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ข้าวพันธุ์พื้นเมืองในจังหวัดนครนายก (มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์) BD-151 ผศ.ณัฐวุฒิ สุวรรณทิพย์ การสื่อสารการตลาดเชิงวัฒนธรรมเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทาง ศิลปวัฒนธรรมตลาดน้าคลองแดน: ตลาดน้าสามคลองสองเมืองของ จังหวัดสงขลาและจังหวัดนครศรีธรรมราช (มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี)
  • 18. กาหนดการนาเสนอ ผลงานวิจัยแบบบรรยาย กลุ่มการวิจัยจากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่นวัตกรรมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ห้องทองกวาว อาคารศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 เวลา 14.30-17.30 น. ประธาน : ศ.ดร.เกตุ กรุดพันธ์ ผศ.ดร.วัชรี จาปามูล อ.ดร.เฉลิมพงษ์ แสนจุ้ม รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ ผลงานวิจัยดีเด่น IN-014 ผศ.ดร.มาหามะสูไฮมี มะแซ การต้านการยับ การยับยั้งจุลินทรีย์และต้านรังสียูวีของผ้าฝ้ายที่ย้อมจาก วัสดุเศษเหลือของพืชตามภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย) ผลงานวิจัยแบบบรรยาย IN-004 อ.อัครเจตน์ ชัยภูมิ การสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นการทอผ้าชาวไทญ้อสู่เยาวชนด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ ในตาบลแซงบาดาล อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ (มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์) IN-008 อ.มธุรส ชาวไร่ปราณ การศึกษารายการประกอบอาคารทางสถาปัตยกรรม “บ้านเสายองหิน” หมู่บ้านภูผักไซ่ อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก) IN-009 ผศ.ยิ่งยง รุ่งฟ้า การบูรณาการของเล่นจากภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อใช้บาบัดเด็กสมาธิสั้นโดยใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก) IN-029 อ.สาคัญ ฮ่อบรรทัด ภูมิปัญญาการมัดหมี่กับการก่อรูปของลาย (มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์) IN-035 อ.ดร.เอนกพงศ์ ธรรมาธิวัฒน์ การศึกษาคุณสมบัติด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมของเนื้อดินปั้นและ น้าเคลือบสาหรับผลิตเครื่องปั้นดินเผา บ้านแก่งเป้า อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ (มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์) IN-037 อ.ดร.ปิยศักดิ์ ถีอาสนา เกมเสริมสร้างพัฒนาการการเรียนรู้เด็กออทิสติก โดยใช้การละเล่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน (มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม) IN-038 อ.ณรงค์ คชภักดี การพัฒนาวิธีตรวจวิเคราะห์เห็ดพิษโดยอาศัยภูมิปัญญาในการทดสอบ เห็ดพิษด้วยเทคนิคการประมวลผลเชิงรูปภาพและสมาร์ทโฟน (มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง)
  • 19. รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ ผลงานวิจัยแบบบรรยาย (ต่อ) IN-041 อ.ดร.จักรพันธ์ โสมะเกษตริน นวัตกรรมการย้อมสีด้วยมูลหนอนไหม เพื่อการออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมทอมือพื้นเมือง กรณีศึกษา หมู่บ้านไหมไทยเฉลิมพระเกียรติ บ้านอะลาง ตาบลโคกจาน อาเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ (มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ) IN-042 ผศ.ดร.พัชรา ปราชญ์เวทย์ การใช้สื่อมัลติมิเดียในการเล่าขานตานานเมืองเพื่อส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว ในจังหวัดศรีสะเกษ (มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ) IN-049 ผศ.ดร.นิราวรรณ กุนัน ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรเพื่อป้องกันและรักษาโรคของกระบือปลัก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี) หมายเหตุ : อาหารว่างเสิร์ฟในห้องประชุม และลาดับในการนาเสนออาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
  • 20. กาหนดการนาเสนอ ผลงานวิจัยแบบบรรยาย กลุ่มการพัฒนาครูของครูด้วยโจทย์วิจัยท้องถิ่น ห้องประชุม 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 เวลา 14.30-17.30 น. ประธาน : ศ.ดร.สุมาลี ตั้งประดับกุล รศ.ดร.สุมาลี ชัยเจริญ ผศ.ดร.เพียงจันทร์ สนธยานนท์ และ ผศ.ดร.ธิดารัตน์ เอกสิทธิกุล รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ ผลงานวิจัยดีเด่น TT-037 ผศ.ดร.สุทธิพงศ์ บุญผดุง การพัฒนาสมรรถนะการทาวิจัยเชิงปฏิบัติการของนักศึกษาครูโดยใช้แนวคิด การจูงใจของวล๊อดคอร์สกี้ (มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา) ผลงานวิจัยแบบบรรยาย TT-003 อ.ดร.สุริยาวุธ สุวรรณบุบผา การพัฒนาทักษะการถอดความของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ (มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์) TT-005 ผศ.ดร.ภูชิต ภูชานิ การวิจัยเรื่องการประเมินผลการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณแบบ รวบยอดของนักศึกษาฝึกหัดครูสาขาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ กาญจนบุรี (มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี) TT-011 อ.ดร.จิราภรณ์ ปุณยวัจน์พรกุล การพัฒนาแบบทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาของนักศึกษาสาขาวิชาฟิสิกส์และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ทั่วไป (มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่) TT-018 อ.ดร.บัณฑิตา อินสมบัติ การยกระดับคุณภาพผู้เรียนจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์ (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์) TT-030 อ.วรากร แซ่พุ่น การพัฒนาบทเรียนเสริมทักษะบนเครือข่ายแอพพลีเคชั่น เรื่อง ทักษะ การเรียนรู้ภาษาจีนเบื้องต้น สาหรับนักศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา) หมายเหตุ : อาหารว่างเสิร์ฟในห้องประชุม และลาดับในการนาเสนออาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
  • 21. กาหนดการนาเสนอ ผลงานวิจัยแบบบรรยาย กลุ่มผลงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยของรัฐ 20 แห่ง ห้องอินทนิล อาคารศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 เวลา 14.30-17.30 น. ประธาน : ศ.ดร.ประเสริฐ โศภน ศ.ดร.ละออศรี เสนาะเมือง และ ศ.ดร.ศราวุฒิ จิตรภักดี เวลา รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ ผลงานวิจัยดีเด่น 15.30-15.50 น. 20U-055 ผศ.ดร.ทนพ.สราวุธ คาปวน Combination of Anti-diabetic drug, metformin, and p38 MAPK inhibitor (SB 203580) reduced ischaemic/reperfusion injury in cardiac cells in hyperglycaemic condition (มหาวิทยาลัยนเรศวร) 15.50-16.10 น. 20U-064 รศ.ดร.กรรณิการ์ วงศ์ดี บทบาทของไฟโบรบลาสต์โกรทแฟคเตอร์-23 ต่อการดูดซึม แคลเซียมที่เซลล์เยื่อบุลาไส้ และการเจริญของเซลล์ ออสติโอบลาสต์ (มหาวิทยาลัยบูรพา) 16.10-16.30 น. 20U-107 รศ.ดร.ไพโรจน์ ประมวล พั น ธุ ศ าส ต ร์ ป ร ะ ช าก ร ข อ งแ ม ล งวั น ผ ล ไม้ Bactrocera cucurbitae (Coquillett) ในประเทศไทย (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) 16.30-16.50 น. 20U-141 รศ.ดร.สุรัตน์ ละภูเขียว องค์ประกอบทางเคมีจากกระพี้เครือและขามเครือ (มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) 16.50-17.10 น. 20U-147 รศ.ดร.นฤมล มาแทน การพัฒนาข้าวกล้องไข่มดริ้นให้มีกลิ่นหอมยาวนานและ ปราศจากเชื้อราโดยใช้น้ามันหอมระเหยจากดอกจาปี (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) 17.10-17.30 น. 20U-212 รศ.ดร.จารูญ เล้าสินวัฒนา การควบคุมวัชพืชในนาหว่านน้าตมโดยผลิตภัณฑ์ควบคุม วัชพืชจากธรรมชาติ (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) หมายเหตุ : อาหารว่างเสิร์ฟในห้องประชุม และลาดับในการนาเสนออาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
  • 22. การนาเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ บริเวณด้านหลังอาคารกิจกรรมนักศึกษา วันศุกร์ที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 13.00-15.30 น. กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-001 ผศ.ดร.ชัยธัช จันทร์สมุด การศึกษาและพัฒนาการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของสมุนไพร พื้นบ้านแบบมีส่วนร่วมบริเวณลุ่มน้าลาน้ายัง: กรณีศึกษาประชาชน กลุ่มชาติพันธ์ภูไท หมู่บ้านกุดสิมคุ้มใหม่ ตาบลกุดสิมคุ้มใหม่ อาเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ BD-002 อ.อิทธิพล ขึมภูเขียว สัมประสิทธิ์ความแปรปรวนของฟีโนไทป์ (PCV) จีโนไทป์ (GCV) อัตราพันธุกรรม (Heritability) และสหสัมพันธ์ของลักษณะองค์ประกอบ ผลผลิตและผลผลิตของงา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-003 อ.ดร.กฤษณ์ สงวนพวก ผลของเมธิลจัสโมเนท ไนตริกออกไซด์และ 1-เมธิลไซโคลโพรพีนร่วมกับ สภาพบรรยากาศดัดแปลงต่อการปรับปรุงคุณภาพ และยืดอายุการเก็บรักษา ของมะม่วงน้าดอกไม้ตัดแต่งพร้อมบริโภค BD-004 รศ.ขนิษฐา เจริญลาภ การผลิตไบโอฟิล์มจากเปลือกกล้วยเพื่อลดการดูดซับน้ามันในผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร บ้านผาปก ต.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี BD-005 ผศ.ดร.สุวิมล พิชญไพบูลย์ การจัดการชุมชนต้นแบบในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม: ชุมชนสวนหลวง 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-006 อ.ดร.นันทพร พึ่งสังวร การคัดเลือกจุลินทรีย์ที่สามารถใช้น้ามันปาล์มผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอท (พีเอชเอ) BD-007 อ.ศรัณยา รักเสรี การสารวจและคัดแยกเชื้อราทะเลจากป่าชายเลนในภาคตะวันออกของ ประเทศไทยเพื่อการศึกษาความสามารถในการผลิตเอนไซม์
  • 23. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-008 ผศ.ดร.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ ความหลากหลายทางชีวภาพของแบคทีเรียผลิตเซลลูโลสสาหรับผลิตเซลลูโลส เพื่อใช้เป็นบรรจุภัณฑ์อาหาร BD-009 ผศ.ดร.ศิริวรรณ ตี้ภู่ การศึกษาปริมาณแคปไซซินและลักษณะดีเอ็นเอเพื่อกาหนดอัตลักษณ์ สายพันธุ์พริกพื้นเมืองในจังหวัดนครราชสีมา BD-010 อ.ดร.สมพงษ์ แสนเสนยา การศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ปริมาณสารหอม (2-อะเซทิล-1-ไพโรลีน), ความหลากหลายของชนิดสารระเหย ปริมาณแป้งทนย่อย ปริมาณกรด แกมมาอะมิโนบิวทิริก (กาบา) และปริมาณแอนโทไซยานิน เพื่อใช้เป็น แนวทางในการกาหนดอัตลักษณ์ การอนุรักษ์ และเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับ กลุ่มข้าวพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ BD-011 อ.ดร.สุภาวดี ปาทาธนานนท์ มะกอกป่า กับคุณค่าทางชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-012 อ.ดร.จิระศักดิ์ ธาระจักร์ พฤติกรรมการแตกหักที่สัมพันธ์กับสมบัติทางกลและทางกายภาพของข้าว BD-013 ผศ.จุฑามาศ พีรพัชระ การศึกษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาอาชีพการทาขนมกง ชุมชน วัดไชโยวรวิหาร จังหวัดอ่างทอง BD-014 ผศ.จอมขวัญ สุวรรณรักษ์ กระบวนการผลิตผักแกะสลักบรรจุในภาชนะปิดสนิท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-015 อ.พรพิมล ศักดา การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมไทยทรงดาบ้านเกาะแรต ตาบลบางปลา อาเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม BD-016 อ.ดร.ฟ้าใส สามารถ ผลกระทบของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพของ ป่าชายเลน บริเวณชุมชนพันท้ายนรสิงห์ ตาบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร BD-018 ผศ.ดร.สุภาภร ภิญโญฉัตรจินดา ภูมิปัญญาท้องถิ่นและความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุมชนไทยทรงดา ตาบลดอนยายหอมจังหวัดนครปฐม
  • 24. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-019 อ.ครรชิต เงินคาคง การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายของสาหร่ายขนาดเล็กที่มีศักยภาพ ในการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และผลของการเปลี่ยนแปลง คาร์บอนไดออกไซด์ที่มีผลต่อการผลิตไขมัน BD-020 อ.เจนจิรา ลานแก้ว ศักยภาพและแนวทางการใช้ประโยชน์ของผักพื้นบ้านในอาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน BD-021 อ.เชาวลีย์ ใจสุข การประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรมในประชากรปลาท้องถิ่นบางชนิด เพื่อฐานข้อมูลทางพันธุกรรม: กรณีศึกษาแม่น้าว้าตอนล่าง จังหวัดน่าน BD-022 อ.ดร.รัชณีภรณ์ อิ่นคา การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ามันหอมระเหยจากเมล็ดมะไฟจีนเพื่อไล่แมลง BD-023 อ.ดร.อุษณีย์ภรณ์ สร้อยเพ็ชร์ การศึกษาความหลากหลายของลักษณะภายนอกที่ปรากฏในสายพันธุ์ไก่ พื้นเมืองไทยตามลักษณะอุดมทัศนีย์ในจังหวัดพิษณุโลก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-024 ผศ.ดวงเดือน สงฤทธิ์ ปัญหาน้าเค็มรุกล้าพื้นที่ปลูกจากของเกษตรกร ตาบลขนาบนาก อาเภอ ปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช BD-025 อ.ดร.ธณิกานต์ ธรสินธุ์ การศึกษาผลของการเติมเคี่ยมที่มีต่อลักษณะทางกายภาพ เคมี และจุลินทรีย์ ของน้าหวานต้นจาก BD-026 อ.ดร.วีระเกียรติ ทรัพย์มี สภาพการใช้ผลผลิตจากต้นจาก และการศึกษาด้านนิเวศวิทยาป่าจาก ของชุมชนในตาบลขนาบนาก อาเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช BD-027 อ.ดร.อรพรรณ จันทร์อินทร์ การบริหารจัดการความหลากหลายของอาหารพื้นเมืองเพื่อความมั่นคงทาง อาหารของชุมชนบริเวณชายแดนไทย-มาเลเชีย ของจังหวัดสงขลา BD-028 อ.อัมรินทร์ สันตินิยมภักดี การกระจายตัวและการใช้ประโยชน์ป่าสาคูในพื้นที่ภาคใต้ จังหวัดตรัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-029 อ.ณัฐกิตทิ์ โตอ่อน ผลกระทบของโรงงานอุตสาหกรรมต่อความหลากหลายของแพลงก์ตอนและ สัตว์หน้าดินในแม่น้าป่าสัก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา BD-030 ผศ.นิษฐกานต์ ประดิษฐศรีกุล ความหลากหลายทางชีวภาพของแบคทีเรียในกะปิเจและปลาร้าเจของชุมชน อโศก
  • 25. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-031 อ.ดร.ฉัตร พยุงวิวัฒนกูล การประเมินค่าความหลากหลายทางชีวภาพเชิงพื้นที่ของระบบนิเวศป่าต้นน้า โดยใช้ระบบภูมิสารสนเทศ ในพื้นที่ลุ่มน้าย่อยลาตะคองตอนบน จังหวัดนครราชสีมา BD-032 ผศ.ดร.นิศาชล ฤๅแก้วมา การสารวจชนิด ปริมาณ และการแพร่กระจายของพรรณไม้น้าในลาน้าพุง จังหวัดสกลนคร BD-033 อ.วุฒิพงษ์ ฮามวงศ์ การศึกษาและจัดทาฐานข้อมูลผักพื้นบ้านและสมุนไพรไทยในจังหวัดสกลนคร BD-034 ดร.สุกัญญา คาหล้า ความผันแปรทางพันธุกรรมของปลากดเหลืองในลุ่มน้าก่า BD-035 ผศ.ดร.สาเนาว์ เสาวกูล ความหลากหลายทางชีวภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่กระจายของประชากร ปลาในพื้นที่ชุ่มน้า ลาน้ามูล จังหวัดศรีสะเกษ BD-036 ผศ.ดร.อโนทัย วิงสระน้อย ชนิดแมลงเบียนดักแด้แมลงวัน: ผลของชนิดแมลงเบียนต่อพฤติกรรมการเบียน และการสืบพันธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-037 อ.จรายุทธ มงคลวงษ์ ความหลากหลายทางภูมิปัญญาท้องถิ่นชุมชนชายแดนบ้านพุน้าร้อน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรี BD-038 อ.ดร.ปิยะพร พิทักษ์ตันสกุล ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์พืชผักพื้นบ้านด้านอาหารและสมุนไพร ของชุมชนชายแดนบ้านพุน้าร้อน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรี BD-039 อ.สุวิมล กะตากูล ความหลากหลายของอาหารท้องถิ่น และพืชผักพื้นบ้าน ของชุมชนชายแดน บ้านพุน้าร้อน เขตเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-040 อ.พิรฎา ทองประเสริฐ ความหลากหลายของผักพื้นบ้านภาคเหนือในชุมชนย้ายถิ่นถาวรจากล้านนา จังหวัดกาแพงเพชร BD-041 อ.ดร.มณฑา หมีไพรพฤกษ์ ความหลากหลายของพันธุ์ข้าวพื้นเมืองใน จังหวัดกาแพงเพชร BD-042 อ.ศุภวัฒน์ วิสิฐศิริกุล การศึกษาสัณฐานวิทยาพันธุ์ข้าวพื้นเมืองในเขตอาเภอพบพระ และ อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก BD-043 ผศ.อนุชา เกตุเจริญ ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชผักพื้นบ้าน สู่ชุมชนแบบเศรษฐกิจ พอเพียงภาคเหนือตอนล่าง
  • 26. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-044 ผศ.โกเมนทร์ บุญเจือ การใช้ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ขาข้อปล้องขนาดใหญ่ ในแปลงเกษตรเพื่อสนับสนุนการตรวจประเมินเกษตรอินทรีย์ BD-045 อ.นิยม สุทธหลวง องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสมุนไพรไทยเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รักษาโรคเบาหวาน: กรณีศึกษาจากตารายาสมุนไพร ลูกศิษย์หลวงปู่ศุข จังหวัดชัยนาท BD-046 อ.พิชิต ธิอิ่น การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในการรื้อฟื้นแหล่งท่องเที่ยวที่ตายแล้ว ด้วยทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-047 อ.เกศสุดา โภคานิตย์ การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารกองทุนหมู่บ้าน ตาบลบ้านขาม อาเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ BD-048 อ.ดร.สุรชัย จันทร์ศรี การกระจายตัวของเห็บสุนัขและเห็บวัวในจังหวัดชัยภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-049 อ.เพ็ญศรี มลิทอง การศึกษาความหลากหลายของพืชอาหารและการใช้ประโยชน์ของชาวลัวะ ในหมู่บ้านปางเกาะทราย อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย BD-050 ผศ.ดร.รณิดา ปิงเมือง การศึกษาการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศและการจัดการป่าชุมชนบ้านร่องบอน ตาบลม่วงคา อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย BD-051 อ.ดร.เสถียร ฉันทะ การวิเคราะห์สัณฐานวิทยาความหลากหลายทางพันธุกรรมข้าวก่าพื้นเมือง ในประเทศไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-052 อ.ดร.ทัตพร คุณประดิษฐ์ สถานการณ์ความหลากหลายทางชีวภาพของ สาหร่ายขนาดใหญ่ ไดอะตอม พื้นท้องน้า และสัตว์หน้าดิน ในลาน้าแม่สา อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ BD-053 อ.ดร.รุ่งนภา ทากัน การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน และความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ อาเภอ กัลยานิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
  • 27. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-054 รศ.ดร.กาสัก เต๊ะขันหมาก การพัฒนาพิพิธภัณฑ์มีชีวิตเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์ของตาบลทะเลชุบศร ตาบลเมือง จังหวัดลพบุรี BD-055 อ.คมกริช บุญเขียว การจัดการความรู้อาหารพื้นบ้าน ของชุมชนท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี BD-056 รศ.ดร.ดวงใจ บุญกุศล ชีววิทยาระบบสืบพันธุ์ของปลาช่อน Channa striata ในลาน้าแม่ลา จังหวัดสิงห์บุรี BD-057 ผศ.เพียงใจ เจียรวิชญกุล ความหลากหลายของผักพื้นบ้านและภูมิปัญญาด้านอาหารของชุมชนมอญ บางขันหมาก จังหวัดลพบุรี BD-058 ผศ.ดร.อาพล จุปะมัดถา ความหลากหลายของพันธุ์ สี แหล่งเลี้ยง และสัณฐานวิทยาไก่ชน ในอาเภอเมืองลพบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-059 อ.ธุวพล คงน้อย การศึกษาพื้นที่การเลี้ยงหอยแครงในพื้นที่บ้านขุนสมุทรจีน อาเภอพระสมุทร เจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ BD-060 ผศ.ดร.นงเยาว์ อุทุมพร การมีส่วนร่วมของชุมชนในการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการศึกษา ในสถานศึกษา อาเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ BD-061 อ.แสนชัย ลิขิตธีรวุฒิ การออกแบบเรขศิลป์สาหรับการสร้างอัตลักษณ์ และส่งเสริมภาพลักษณ์ ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-062 อ.ธีระ ธรรมวงศา ความหลากหลายของข้าวพื้นเมือง ภูมิปัญญาและการใช้ประโยชน์ในจังหวัดชัยภูมิ BD-063 ผศ.ประยุทธ กุศลรัตน์ สถานภาพของปลากัดป่าอีสานในจังหวัดนครราชสีมา และการตรวจสอบทาง เซลล์พันธุศาสตร์เพื่อการอนุรักษ์
  • 28. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-064 ผศ.ดร.จุติพร อัศวโสวรรณ การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพวิถีชีวิต และภูมิปัญญาท้องถิ่น: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช BD-065 ผศ.วรรณชัย พรหมเกิด การศึกษาและพัฒนารูปแบบการปลูกข้าวไร่พันธุ์พื้นเมือง เพื่อส่งเสริมการใช้ ประโยชน์ด้านอาหารอย่างยั่งยืน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช BD-067 ผศ.สุริยะ จันทร์แก้ว การขยายพันธุ์สาคู, ด้วงสาคู ผสมผสานกับการประมงของแหล่งน้าสู่รายได้ เพิ่มของเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-068 อ.ดร.กุลรภัส เทียมทิพร แผนที่ชาติพันธุ์ชุมชน: การจัดการระบบสารสนเทศภูมิปัญญาท้องถิ่นออนไลน์ เมืองปากน้าโพ จังหวัดนครสวรรค์ BD-069 ผศ.ดร.ทะเนตร อุฤทธิ์ การสร้างเครือข่ายเยาวชนเกษตรปลอดภัยเพื่อพัฒนาสู่ความยั่งยืนของ เกษตรอินทรีย์บนรากฐานของความหลากหลายทางชีวภาพ BD-070 อ.พงษ์ศักดิ์ สิริโสม การศึกษาความหลากหลายพันธุ์ข้าวพื้นเมืองบนฐานการใช้ประโยชน์และ การอนุรักษ์ของชุมชนในจังหวัดพิจิตร BD-071 อ.สิรภัทร ศิริบรรสพ การศึกษาพืชผักพื้นบ้านและอาหารพื้นเมืองในจังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี และพิจิตร BD-073 ผศ.ดร.สุภาวรรณ วงค์คาจันทร์ การพัฒนาเครือข่ายศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น BD-074 อ.อาภากร โพธิ์ดง บทเรียนท้องถิ่นภูมิปัญญา วัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน จากฐานข้อมูล ความหลากหลายทางชีวภาพไก่พื้นเมืองในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา รหัส หัวหน้าโครงการ บทคัดย่อ BD-075 อ.จรัญ ประจันบาล การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนมีส่วนร่วม: กรณีศึกษาป่าชุมชนบ้านศรีสรรเพชญ์ BD-076 อ.ภัทรภร เอื้อรักสกุล ความหลากหลาย การวิเคราะห์พันธุกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของพันธุ์ข้าว พื้นบ้านในเขตพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี BD-077 อ.ดร.รุ่งลักษณ์ แก้ววิเชียร ความหลากหลายของจุลินทรีย์ในดินจากพื้นที่ป่าชุมชนบ้านศรีสรรเพชญ์ ที่มีความสามารถในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช BD-078 รศ.วันทนี สว่างอารมณ์ ความหลากหลายของมันมือเสือพืชเศรษฐกิจท้องถิ่นของพื้นที่บ้าน ศรีสรรเพชญ์ ตาบลอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี