SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการ
เอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล”
16-18 สิงหาคม 2560 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
สิทธิศักดิ์ รุ่งเจริญสุขศรี
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
OUTLINE
เอกสารโบราณ
VS Digital
collections
ทาไมต้องเป็น
เอกสารโบราณ
ดิจิทัล?
ชวนคิดก่อนเริ่ม
ลงมือทา
2
“MANUSCRIPT” - ต้นฉบับตัวเขียน/ต้นฉบับผู้แต่ง/เอกสารโบราณ
• (1) “ต้นฉบับตัวเขียน” คือ ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทาขึ้น โดยใช้
ลายมือเขียน ได้แก่ หนังสือที่จัดทาในสมัยโบราณก่อนที่จะมีการ
พิมพ์ โดยการใช้จาร หรือสลักลงบนวัสดุต่าง ๆ เช่น แผ่นหิน แผ่นดิน
เหนียว แผ่นไม้ แผ่นโลหะ แผ่นหนัง ใบลาน กระดาษ เป็นต้น
ตัวอย่างของต้นฉบับตัวเขียน ได้แก่ ศิลาจารึก สมุดข่อย ใบลาน
แผ่นปาปิรัส (papyrus) ต้นฉบับตัวเขียนมีความสาคัญในการใช้เป็น
หลักฐานทางวิชาการและเป็นแหล่งสารสนเทศทางประวัติศาสตร์ใน
การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ความเป็นอยู่
ประเพณีวัฒนธรรม ของประเทศและชุมชนต่าง ๆ ในอดีต (i.e.
“เอกสารโบราณ”)
• (2) “ต้นฉบับของผู้แต่งหนังสือ” ก่อนที่จะนาไปพิมพ์เผยแพร่ อาจอยู่
ในรูปของต้นฉบับตัวเขียนที่เขียนด้วยลายมือของผู้แต่งเอง หรือเป็น
ต้นฉบับพิมพ์ดีดก็ได้ (สวทช.) 3
“Manuscript” คือ เอกสารใดๆ ก็ตามที่ถูกเขียน/บันทึกด้วย
ลายมือ หรือการพิมพ์ โดยมิใช่การพิมพ์ หรือการผลิตซ้าด้วย
ระบบ/วิธีอัตโนมัติ ...ซึ่งรวมถึงต้นฉบับของผู้แต่งหนังสือที่เกิด
จากลายมือ พิมพ์ดีด หรือแม้แต่การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
(เช่น Microsoft Word) ในการจัดทาสาเนาผลงาน...ก่อนหน้า
การมาถึงของระบบการพิมพ์ เอกสารและหนังสือทั้งหมดล้วน
ถูกจัดเป็นต้นฉบับตัวเขียน...ไม่มีการจากัดในเรื่องเนื้อหาของ
ต้นฉบับตัวเขียน เพราะอาจปรากฏลายมือเขียน สูตรการ
คานวณทางคณิตศาสตร์ แผนที่ คาอธิบายภาพประกอบ/
รูปภาพ ต้นฉบับตัวเขียนอาจปรากฏในรูปแบบของหนังสือเป็น
เล่ม ม้วน (กระดาษ, หนัง) หนังสือโบราณเขียนด้วยมือ...
(Wikipedia)
อะไรคือ “DIGITAL COLLECTIONS”?
“…ชุดสะสมทรัพยากรดิจิทัล (collection of digital resources) ซึ่งรวมถึงเมทาดา
ทา (metadata) ของทรัพยากรนั้นๆ ด้วย ถูกนาเสนอออนไลน์ผ่านทางหน้าจอ เพื่อ
อนุญาตให้ผู้ใช้งานสามารถสืบค้น (search) หรือค้นดู (browse) เนื้อหาของชุด
สะสมนั้นได้...มักมีความเกี่ยวข้องกับหัวเรื่อง ประเภทของทรัพยากร หรือ
ลักษณะเฉพาะที่ร่วมกันบางประการ โดยเฉพาะทรัพยากรดิจิทัลประเภทเดียวกัน
เช่น ภาพนิ่ง ข้อความ เสียง และไฟล์ภาพเคลื่อนไหว….ชุดสะสมดิจิทัลนี้ครอบคลุม
ทรัพยากรที่เป็นดิจิทัลโดยกาเนิด (born digital) และทรัพยากรดิจิทัลที่อยู่ในรูปแบบ
ที่จับต้องได้/มีต้นฉบับ (physical form) ซึ่งได้รับการแปลงสภาพ (digitization)
เพื่อให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล.” (Miller, 2011: 6)
• วัตถุดิจิทัลที่จับต้อง
มิได้ (Intangible
digital object)
• วัตถุดิจิทัลที่จับต้องได้
(Tangible digital
object)
4
วัตถุดิจิทัลที่จับต้องมิได้
5
วัตถุดิจิทัลที่จับต้องได้ (1)
6
7
วัตถุดิจิทัลที่จับต้องได้ (2)
เพิ่มช่องทางในการเข้าถึง
ผ่านเครือข่าย Internet
• ส่งเสริมให้เข้าถึงวัสดุหลากหลายที่ได้รับการแปลง
สภาพแล้ว
• ส่งเสริมให้เกิดการใช้ทรัพยากรทางไกลจากผู้ใช้ที่ไม่
สะดวกจะมายังแหล่งจัดเก็บ
• ส่งเสริมให้เกิดผู้ใช้หน้าใหม่ที่มิได้จากัดอยู่แค่นักวิจัย
ในสาขาที่เกี่ยวข้อง
(Hughes, 2004: 8-17) 8
ทาไมต้องเป็ น DIGITAL
COLLECTIONS? (1)
ทาไมต้องเป็ น DIGITAL COLLECTIONS?(2)
เอกสารต้นฉบับ
ได้รับการสงวนรักษา
• ช่วยสงวนรักษาและป้องกันวัสดุต้นฉบับ
ไม่ให้เสื่อมสภาพจากการใช้งาน หรือจัด
แสดง
• ช่วยเปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการสามารถใช้
งานเอกสารที่เปราะบางได้
Digital collections ได้รับการพัฒนา
• เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
• Collection มีโอกาสเข้าถึงมากขึ้นผ่าน
ทางเครือข่าย
(Hughes, 2004: 8-17)
9
ทาไมต้องเป็ น DIGITAL COLLECTIONS? (3)
ส่งผลในเชิงยุทธศาสตร์ต่อหน่วยงาน
• ช่วยประชาสัมพันธ์การทางานของหน่วยงาน
• เอกสารที่ตกค้างได้รับการสารวจ และจัด
ระเบียบ
• ช่วยพัฒนาทักษะของผู้ปฏิบัติงานผ่าน
กระบวนการทางาน
• ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
เพื่อพัฒนา Digital collections
ส่งเสริมให้เกิดการใช้เพื่อการศึกษาและวิจัย
• สามารถพัฒนาให้เป็นสื่อการเรียนรู้ให้
สาธารณชน หรือเยาวชนได้ (Outreach
programme)
• เกิดพื้นที่แลกเปลี่ยน เรียนรู้ และตรวจสอบ
ความถูกต้องของข้อมูลโดยผู้เชี่ยวชาญ
(Academic community on cyberspace)
(Hughes, 2004: 8-17) 10
ตัวอย่างเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล (1)
11
Digital Bodleian,
Bodleian Libraries,
University of Oxford
Title:Watercolour
Paintings of Burmese
Life
Source: http://digital.bodleian.ox.ac.uk/inquire/Discover/Search/#/?p=c+3,t+burma,rsrs+0,rsps+10,fa+,so+ox%3Asort%5Easc,scids+,pid+14071a0f-1ce5-430a-9f9d-8f40e7fe5214,vi
12
Endangered Archives Project, British Library
EAP698/25/4: "Legends of earth taking shape,
origin of the human life and creatures, promotion
ceremony of dignitaries Pasaih,Tapah”,
http://eap.bl.uk/database/overview_item.a4d?catId
=258764;r=5030
ตัวอย่างเอกสารโบราณ
ในรูปแบบดิจิทัล (2)
13
Endangered Archives Project, British
Library
EAP128/1: "Thai Rainbow Archives
Collection:A digitised collection of
Thai gay, lesbian and transgender
publications [1982-2009]“,
http://eap.bl.uk/database/overview_item.a4d?
catId=32603;r=6477
ตัวอย่างเอกสารโบราณใน
รูปแบบดิจิทัล (3)
ชวนคิดก่อนเริ่ม
ลงมือทา
• เราจะเรียนรู้และ
พัฒนาทักษะในการ
ทางานอย่างต่อเนื่อง
ได้อย่างไร?
• เราจะทาอย่างไรให้
ตอบสนองความ
ต้องการของ
ผู้ใช้บริการ?
• เราอยากจะให้
ผู้ใช้บริการพูดถึงเรา
อย่างไร?
• อะไรคือผลลัพธ์ที่
สาคัญของโครงการ?
OUTCOMES
CUSTO-
MERS
LEANRNING
AND
GROWTH
PROCESSES
14
OBJECTIVE:
เพื่อรวบรวม จัดการ สงวนรักษา
และเปิดโอกาสให้สาธารณชน
เข้าถึงเอกสารโบราณได้ในระบบ
ออนไลน์....
Source: https://www.bl.uk/aboutus/foi/pubsch/pubscheme4/BLB1606.pdf
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง
(OUTCOMES)
• มีนโยบาย/ขั้นตอน/แผนงานที่เหมาะสมสาหรับการ
ดาเนินโครงการ
• มีผลลัพธ์ในการดาเนินโครงการที่สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ และเหมาะสมกับการจัดการทรัพยากร
(เอกสารโบราณ)
• มีทรัพยากรดิจิทัลสามารถค้นพบและเข้าถึงได้
• ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรดิจิทัลได้อย่าง
ยั่งยืน
อะไรคือผลลัพธ์ที่สาคัญของ
โครงการ?
15
กลุ่มผู้ใช้บริการที่คาดหวัง
(CUSTOMERS)
• คานึงถึงความเหมาะสมในการเข้าถึงและ
สงวนรักษา
• เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและ
ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการทางาน
• สร้างนวัตกรรม มีความน่าเชื่อถือ สามารถ
เป็นเพื่อนร่วมงานที่ดีได้
• มีศักยภาพและความน่าเชื่อถือในการจัดการ
• มีประสบการณ์การทางานในฐานะผู้เก็บ
รักษา digital collection
เราอยากจะให้ผู้ใช้บริการพูดถึง
เราอย่างไร?
16
การทางานที่คาดหวัง
(PROCESSES)
• จัดทานโยบายการจัดการ Digital Collection ที่
เหมาะสมกับทรัพยากร และกระบวนการทางานจริง
• มีองค์ความรู้และความชานาญเพียงพอสาหรับการ
จัดการ
• มีการแลกเปลี่ยน Digital collection กับเครือข่าย
• วางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาวเพื่อพัฒนาศักยภาพ
ของโครงการ/บุคลกร/องค์กร
• วางแผนจัดทา KPI ให้สอดคล้องกับกับกระบวนการ
ทางาน
• ให้ความสาคัญและประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์
จากผู้ปฏิบัติงานและผู้เชี่ยวชาญอย่างเหมาะสม
เราจะทาอย่างไรให้ตอบสนอง
ความต้องการของผู้ใช้บริการ?
17
การเรียนรู้และพัฒนาทักษะ
(LEARNING AND GROWTH)
• มีการพัฒนาทักษะการทางานที่จาเป็นในแต่
ละระดับ/ตาแหน่งอย่างเหมาะสม
• มีระบบติดตามและตรวจสอบแผนการทางาน
ได้อย่างใกล้ชิด และสามารถปรับเปลี่ยนได้
อย่างเหมาะสม
• มีระบบที่จัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลที่
เหมาะสม เพื่อการตัดสินใจการดาเนินงาน
• มีระบบการทางานที่ยืดหยุ่นและสามารถจ้า
งานบุคคลภายนอกมาช่วยงานได้
• สร้างความท้าทายและบรรยากาศการทางาน
ที่สร้างสรรค์ให้กับผู้ปฏิบัติงาน
เราจะเรียนรู้และพัฒนาทักษะในการ
ทางานอย่างต่อเนื่องได้อย่างไร?
18
TO DO LISTS
จัดทาแผนยุทธศาสตร์สงวน
รักษาทรัพยากรดิจิทัล
จัดทานโยบายการคัดเลือก
ทรัพยากรให้สอดคล้องกับ
แผนปฏิบัติงาน
วางแผนพัฒนาบุคลากรให้มี
ทักษะในการสงวนรักษา
ทรัพยากรดิจิทัลและวัสดุ
ต้นฉบับ
ออกแบบแผนงานในเก็บ
รักษาทรัพยากรดิจิทัล
(digital resources) และ
metadata
วางแผนพัฒนาทักษะดิจิทัล
ที่จาเป็นสาหรับปฏิบัติงาน
มีแผนการตรวจสอบทะเบียน
ข้อมูล เพื่อการคัดเลือกและ
จาหน่ายออกอย่างเหมาะสม
มีแผนยุทธศาสตร์ในการ
พัฒนาและปรับใช้
metadata
ศึกษาและตรวจสอบ
ความก้าวหน้าทาง IT เพื่อ
นามาประยุกต์ใช้อย่าง
เหมาะสม
ทบทวนและวิเคราะห์สถิตติ
การใช้งาน เพื่อใช้วางแผน
พัฒนา collection
วางแผนร่วมกับเครือข่ายเพื่อ
แบ่งปันและพัฒนา digital
collection
19
“เอกสารที่เป็นมรดกวัฒนธรรมได้สะท้อนให้เห็นถึงความ
หลากหลายทางภาษา ผู้คน และวัฒนธรรม วัตถุเหล่านี้
เปรียบเสมือนกระจกที่สะท้อนภาพความทรงจาของโลก แต่ความ
ทรงจานี้เต็มไปด้วยความเปราะบาง อีกทั้งในแต่ละวัน บางส่วน
ของความทรงจาเหล่านี้กาลังสูญหายไปตลอดกาล ไม่มีสิ่งใดมา
ทดแทนได้”
UNESCO Memory of the World Programme
20
21
Q & A
THANKYOU
sittisak.r@sac.or.th
Slideshare: sittisak017

More Related Content

Similar to การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล

รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์Humanities Information Center
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotiondecnun
 
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learnerKruBeeKa
 
เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2Prachyanun Nilsook
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardBoonlert Aroonpiboon
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101Sittisak Rungcharoensuksri
 
กลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterกลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterOdosa Kasida
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาAo Krubz
 
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบleemeanxun
 
Basic conceptict4child
Basic conceptict4childBasic conceptict4child
Basic conceptict4childarchangoh
 

Similar to การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล (20)

รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
 
V 251
V 251V 251
V 251
 
V 303
V 303V 303
V 303
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
Digital Collection ... Guideline
Digital Collection ... GuidelineDigital Collection ... Guideline
Digital Collection ... Guideline
 
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
 
Library for AEC
Library for AECLibrary for AEC
Library for AEC
 
20653 v 244
20653 v 24420653 v 244
20653 v 244
 
KIDS-D AND BEYOND
KIDS-D AND BEYONDKIDS-D AND BEYOND
KIDS-D AND BEYOND
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2
 
V 267
V 267V 267
V 267
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101
 
กลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterกลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpter
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
 
Open Access in Thailand
Open Access in ThailandOpen Access in Thailand
Open Access in Thailand
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนา
 
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
 
Basic conceptict4child
Basic conceptict4childBasic conceptict4child
Basic conceptict4child
 

More from Sittisak Rungcharoensuksri

คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101Sittisak Rungcharoensuksri
 
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนการจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนSittisak Rungcharoensuksri
 
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Sittisak Rungcharoensuksri
 
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน Sittisak Rungcharoensuksri
 
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGTHE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGSittisak Rungcharoensuksri
 
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOINGพัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOINGSittisak Rungcharoensuksri
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคSittisak Rungcharoensuksri
 
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลการดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลSittisak Rungcharoensuksri
 
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุSittisak Rungcharoensuksri
 
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 

More from Sittisak Rungcharoensuksri (18)

คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101
 
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
 
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
 
Information Savvy; For Gen Z
Information Savvy; For Gen ZInformation Savvy; For Gen Z
Information Savvy; For Gen Z
 
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนการจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
 
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGSAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
 
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
 
20181101 sac digitalrepositiry-oer
20181101 sac digitalrepositiry-oer20181101 sac digitalrepositiry-oer
20181101 sac digitalrepositiry-oer
 
20180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-1
20180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-120180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-1
20180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-1
 
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
 
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGTHE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
 
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOINGพัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
 
20161203 icadlpresentation-sittisak
20161203 icadlpresentation-sittisak20161203 icadlpresentation-sittisak
20161203 icadlpresentation-sittisak
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
 
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลการดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
 
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
 
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
 
How to establish the SAC web standard?
How to establish the SAC web standard?How to establish the SAC web standard?
How to establish the SAC web standard?
 

การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล

Editor's Notes

  1. ต้นฉบับตัวเขียน อันนี้ที่คุ้นเคยกันในการผลิตเอกสารโบราณ แต่พอยุคสมัยเริ่มเปลี่ยนไป ต้นฉบับพิมพ์ดีดที่ใช้เครื่องพิมพ์ดีดก็ถือเป็นต้นฉบับได้เหมือนกัน แล้วพอยิ่งเข้าสู่ยุคดิจิทัลจากคำแปลของ WIKIPEDIA นี่เราจะเห็นได้ว่าการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น MS Word ก็ถือเป็นต้นฉบับตัวเขียนได้เช่นกัน
  2. “…ชุดสะสมทรัพยากรดิจิทัล (collection of digital resources) ซึ่งรวมถึงเมทาดาทา (metadata) ของทรัพยากรนั้นๆ ด้วย ถูกนำเสนอออนไลน์ผ่านทางหน้าจอ เพื่ออนุญาตให้ผู้ใช้งานสามารถสืบค้น (search) หรือค้นดู (browse) เนื้อหาของชุดสะสมนั้นได้...มักมีความเกี่ยวข้องกับหัวเรื่อง ประเภทของทรัพยากร หรือลักษณะเฉพาะที่ร่วมกันบางประการ โดยเฉพาะทรัพยากรดิจิทัลประเภทเดียวกัน เช่น ภาพนิ่ง ข้อความ เสียง และไฟล์ภาพเคลื่อนไหว….ชุดสะสมดิจิทัลนี้ครอบคลุมทรัพยากรที่เป็นดิจิทัลโดยกำเนิด (born digital) และทรัพยากรดิจิทัลที่อยู่ในรูปแบบที่จัดต้องได้/มีต้นฉบับ (physical form) ซึ่งได้รับการแปลงภาพ (digitization) เพื่อให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล
  3. ตัวอย่างเช่น เอกสารโบราณวัดคาคารามตู้นี้ ตอนแรกก็เป็นแค่เอกสารโบราณที่เราจับต้องได้ แต่พอทางศูนย์ฯ ได้เข้าไปจัดการและถ่ายภาพให้เป็นไฟล์ดิจิทัล ตอนนี้เราจะเห็นแล้วว่า “เนื้อหา” ของเอกสารโบราณวัดคงคารามชุดนี้ มีทั้งที่ได้รับการบันทึกอยู่ที่ตัวใบลาน กับเนื้อหาที่ปรากฏอยู่ในรูปแบบของ digital format แล้ว
  4. จากตัวอย่างที่ผมยกมานี้เราจะเริ่มเห็นความซับซ้อนในการจัดการกับเอกสารโบราณแล้ว ว่ามิได้จำกัดอยู่เพียงแค่การจัดการในเชิงกายภาพ เช่น การทำความสะอาด การทำทะเบียน แต่พอเราแปลงมันให้อยู่ในรูปแบบของไฟล์ดิจิทัลแล้ว ความซับซ้อนในการจัดการก็เพิ่มมากขึ้นไปอีกระดับ คำถามสำคัญที่ผมอยากชวนให้คิดกัน คือ 1. เราจะมีวิธีการจัดการอย่างไรให้ Physical และ Digital มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงถึงกันได้ ไม่ใช่ว่าเราไปถ่ายรูปเอกสารโบราณมาชุดหนึ่ง แล้ว 5 ปี ผ่านไป เรากลับมาเปิดคอมดูไฟล์ภาพพวกนี้อีกครั้งก็นึกไม่ออกแล้วว่ารูปเซ็ตนี้ไปถ่ายที่ไหนมา 2. เราควรพิจารณาคุณค่าของเอกสารโบราณที่ความเป็น “ต้นฉบับ” หรือ “เนื้อหา” เพราะภายใต้สภาวะดิจิทัลที่ไฟล์สามารถทำซ้ำได้ไม่ยากเย็น และไม่จำกัดจำนวน การทำสำเนาดิจิทัลของเราที่มองว่าเป็นการช่วยอนุรักษ์เอกสารต้นฉบับ ช่วยให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงได้สะดวกเนี่ย มันจะกลายเป็นการลดทอนคุณค่าความเป็นต้นฉบับของแท้ของเอกสารโบราณ หรืออาจนำไปสู่การจารกรรมตามใบสั่งได้หรือเปล่า อันนี้เป็นคำถามที่ผมชวนให้ทุกคนคิดตามกัน แล้วผมจะถามคำถามนี้ซ้ำอีกครั้งว่าทุกท่านมีความเห็นอย่างไรในตอนท้าย โดยที่ยังคงคุณค่าความเป็นต้นฉบับและสามารถนำไปใช้งานได้อย่างยั่งยืน
  5. ทุกท่านรู้หรือไม่ว่าใน 60 วินาทีนี่เกิดอะไรขึ้นบ้างบนโลก internet 3.3 ล้านโพสต์บนหน้า FB 3.8 ล้านการค้นหาบน Google VDO 500 กว่าชม.ถูกโพสบนยูทิวป์ ดังนั้นแล้ว Internet จึงเป็นพื้นที่ใหม่ที่เปิดโอกาสให้เราสามารถเผยแพร่เนื้อหาของเราได้ เพราะ - ส่งเสริมให้เข้าถึงวัสดุหลากหลายที่ได้รับการแปลงสภาพแล้ว - ส่งเสริมให้เกิดการใช้ทรัพยากรทางไกลจากผู้ใช้ที่ไม่สะดวกจะมายังแหล่งจัดเก็บ - ส่งเสริมให้เกิดผู้ใช้หน้าใหม่ที่มิได้จำกัดอยู่แค่นักวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้อง เช่น กลุ่มผู้ใช้ทั่วไปที่สนใจหาข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต นักวิจัยที่ต้องการข้อมูลเพื่อนำไปใช้บูรณาการผลการศึกษาของตน เช่น นักธรณีวิทยาอาจสนใจเรียนรู้เรื่องการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ จึงทำการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารทางประวัติศาสตร์ * ทั้งนี้ เพื่อให้การทำงานในเชิงกลยุทธ์เห็นผลได้ไว และแน่ชัด ควรเน้นการนำเสนอ collection ที่ได้รับการคัดเลือกว่าเป็นจุดเด่น หรือมีความสำคัญ เพราะไม่สามารถแปลงทุกอย่างให้เป็นดิจิทัลได้ เนื่องจากข้อจำกัดด้านงบประมาณ * อย่างไรก็ดี ปัญหาที่ท้าทายในข้อนี้ คือ การพยายามเชื่อมโยงวัสดุดจิทัลที่หลากหลาย เช่น ภาพถ่าย บันทึก แผนที่ เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถขยายการสืบค้นจาก “หัวเรื่อง” ที่ตนเองค้นหาได้
  6. - ช่วยสงวนรักษาและป้องกันวัสดุต้นฉบับไม่ให้เสื่อมสภาพจากการใช้งาน หรือจัดแสดง ช่วยเปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการสามารถใช้งานเอกสารที่เปราะบางได้ * อย่างไรก็ดี เราต้องตระหนักว่า Digital format เองก็ไม่มีความถาวรเช่นกัน เพราะอาจประสบปัญหาเรื่องไฟล์เสื่อมสภาพ หรือเทคโนโลยีอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้เกิดความล้าสมัยทางด้านเทคโนโลยีที่ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงหรือใช้ซ้ำได้ เช่น ข้อมูลที่เคยบันทึกไว้ในแผ่นดิสก์ขนาด 3 ½ นิ้วที่ทุกวันนี้เปิดใช้งานไม่ได้แล้ว หรือแผ่น CD ที่เราใช้สำรองข้อมูลก็เช่นกัน ที่กลายเป็นว่าทุกวันนี้มี external hardisk drive ที่มีความจุปริมาณมหาศาลเริ่มเข้ามาแทนที่ หรือแม้แต่การเกิดขึ้นของระบบ Cloud ที่ทุกอย่างถูกโยนขึ้นไปเก็บใน storage ที่ไหนไม่รู้ แต่คุณสามารถขถึงได้จากทุกที่ ขอแค่มี internet
  7. – ชุดเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัลเป็นอีกหนึ่งผลงานที่ช่วยประชาสัมพันธ์การทำงานขององค์กรให้สาธารณชนรับทราบ และยังสามารถใช้เป็นผลงานในการขอทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกได้ เอกสารของหน่วยงานได้รับการสำรวจและจัดการ ซึ่งจะช่วยให้เอกสารที่เดิมที่อาจเคยถูกปล่อยทิ้งไว้ได้รับการระบุแหล่ง ให้คำอธิบาย ถือเป็นการจัดระเบียบเอกสารของหน่วยงานไปในตัว กระบวนการจดหมายเหตุดิจิทัลอาจกินระยะเวลายาวนาน ส่งเสริมให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้พัฒนาทักษะทางด้านการจัดการ (ทั้งในเชิงเนื้อหา+เทคนิค) ถือเป็นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลไปในตัว นอกจากนี้ ยังจะช่วยพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ที่จะรองรับการจัดการและการเผยแพร่อีกด้วย เปิดโอกาสให้หน่วยงานวางแผนยุทธศาสตร์ในการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อพัฒนา collection หรือขอทุนวิจัยเพื่อพัฒนาโดยรวม
  8. โดยทั่วไปแล้ว วัตถุประสงค์หลักของการทำ Digital collections คือ ..... แต่มี 4 อย่างที่ผมอยากชวนคิดก่อนเริ่มลงมือทำ คือ Outcomes Customers Processes Learning and Growth
  9. เป็นพื้นฐานอยู่แล้วที่การทำงานของเราจะต้องมี Output ออกมา เพื่อเป็นสิ่งที่ช่วยยืนยันว่างาน/โครงการของเรามีผลผลิตที่จับต้องได้ เช่น งานจัดการเอกสารโบราณดิจิทัล ผลผลิต คือ เอกสารจำนวนเท่าไหร่ได้รับการจัดการ ได้รับการสแกน แล้วออนไลน์ แต่เราเคยนึกไปถึง Outcomes หรือผลผลติที่คาดหวังที่เราต้องการจะให้เกิดขึ้นมากน้อยแค่ไหน อะไรคือผลลัพธ์ที่สำคัญของโครงการเอกสารโบราณดิจิทัลที่เรากำลังดำเนินงาน เรามี......
  10. - คำนึงถึงความเหมาะสมในการเข้าถึงและสงวนรักษา - การเลือกใช้มาตรฐานในการแปลงสภาพ การเลือกใช้เมทาดาทาในการจัดการกับ Digital collection - เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการทำงาน - การลงพื้นที่ของเรานี่เปิดโอกาสให้ชุมชน/วัดที่เป็นเจ้าของเข้ามีส่วนร่วมในการจัดการ หรือเราถ่ายทอด Know how ในกาทำงานให้พวกเขามากน้อยเพียงใด เพื่อให้การทำงานเป็นไปอย่างยั่งยืน - เราสามารถเป็นผู้ให้บริการแก่ผู้ใช้บริการได้มากน้อยแค่ไหน ในรูปแบบไหน - เราสามารถเป็น partner กับเครือข่าย เพื่อถ่ายทอด เรียนรู้ หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกับเครือข่ายของเราได้ดีเพียงใด เราจะประกาศตัวเองผู้นำ หรือเราจะทำตัวเองเป็นผู้ตามตลอดไป - เราอยากให้ผู้ใช้บริหารพูดถึง Project ที่เราเคยทำไว้ในรูปแบบใด เป็นโครงการที่ดีมาก อยากให้หน่วยงานนี้ผลิตผลงานดีๆ แบบนี้ออกมาอีกเรื่อยๆ หรือจะให้พูดว่า อ๋อ หน่วยงาน...ที่เคยทำพัง ทำห่วย
  11. - จัดทำนโยบายการจัดการ Digital Collection ที่เหมาะสมกับทรัพยากร และกระบวนการทำงานจริง – ทั้งนี้เราต้องศึกษาและทำความเข้าใจธรรมชาติของ Collection ที่เรามีเสียก่อนว่าจะใช้รูปแบบ วิธีการไหนในการจัดการ และต้องนำไปปฏิบัติใช้ได้จริงด้วย เพราะ collection แต่ละประเภทอาจต้องการวิธีการจัดการที่แตกต่างกันไป อาจจะมีแกนในการทำงานบางอย่างร่วมกันได้ แต่รายละเอียดปลีกย่อยอาจมีความแตกต่างกันได้ เช่น งานเอกสารโบราณอาจเหมาะกับการใช้ DC ในการจัดการ แต่งานจดหมายเหตุเราต้องใช้ ISAD - มีองค์ความรู้และความชำนาญเพียงพอสำหรับการจัดการ – เราต้องไม่หยุดนิ่งที่จะหาความรู้เพิ่มเติม เพราะความรู้และเทคโนโลยีมันมีการอัพเดทตลอดเวลา เราต้องมีการวางแผนพัฒนาตัวเองให้มีความรู้ความชำนาญที่เหมาะสมกับงานของเรา - มีการแลกเปลี่ยน Digital collection กับเครือข่าย - วางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาวเพื่อพัฒนาศักยภาพของโครงการ/บุคลกร/องค์กร - วางแผนจัดทำ KPI ให้สอดคล้องกับกับกระบวนการทำงาน - ให้ความสำคัญและประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์จากผู้ปฏิบัติงานและผู้เชี่ยวชาญอย่างเหมาะสม
  12. การเรียนรู้และพัฒนาทักษะ ในส่วนนี้อาจเป็นแนวคิดในการทำงานสำหรับผู้บริหาร/Project manager ที่ต้องดูแลโครงการ งบประมาณ และคนว่าเราจะมีวิธีการบริหารจัดการคน รวมถึงการส่งเสริมทักษะต่างๆ ที่จำเป็นต่อการทำงานให้กับลูกทีมของเราอย่างไร ให้เขามีความก้าวหน้า มีความท้าทายในการทำงาน
  13. สุดท้ายผมขอสรุปสิ่งที่ชวนคิดตะกี้ออกมาเป็น รายการที่ต้องทำตามนี้ ที่น่าสนใจ คือ การเป็นสถิตติผู้ใช้งานด้วย เพื่อที่เราจะได้รู้พฤติกรรมการใข้งานของเขา แล้วนำมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาการทำงานของเรา เช่น ถ้า collection เรื่อง แมว ของเราฮิต มีคนมาขอใช้บริการเยอะมาก เราจะมีแผนการพัฒนา collection นี้ให้ไปไกลกว่านี้ได้อย่างไร ไม่ใช่แค่ให้บริการออนไลน์ ให้คนเข้ามาอ่านอย่างเดียว เราจะเอาไปทำ animation ดีมั้ย หรือเอาเนื้อหามาปรุงแต่งใหม่ให้ content มันมุ้งมิ้งถูกใจคนรักแมว
  14. สุดท้ายนี้ ผมขอยกคำพูดจากโครงการมรดกความทรงจำโลกของ UNESCO มาทิ้งท้ายนะครับ ..... ดังนั้นแล้ว หน้าที่ของเราในฐานะที่เราเป็น หรือกำลังจะเป็นผู้พิทักษ์มรดกความทรงจำของชุมชน ของโลก เราจำเป็นต้องมีความรู้ในการจัดการเอกสารโบราณที่ถูกต้องเสียก่อน สรุปคือ ทุกท่านคิดถูกแล้วที่มาลงครอส์นี้ครับ