SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
คลังข้อมูลชุมชน 101
กิจกรรมฝึ กอบรมเชิงปฏิบัติการ
“คลังข้อมูลชุมชนและเครือข่ายข้อมูล”, รุ่นที่ 2
16-18 ธันวาคม 2562, จ.ราชบุรี
OUTLINE
ที่มาและหลักคิดใน
การทางาน
กระบวนการทางาน
และตัวอย่างชุมชน
ระบบคลังข้อมูล
ชุมชน
16/12/2019 SITTISAK R. 2
“…เมื่อผมได้เห็นวัตถุจากชุมชนมาไซ ผมรู้สึกตกใจ
เล็กน้อย...มันมีคำอธิบำยที่ไม่ค่อยละเอียดนัก และ
ขำดกำรอธิบำยถึงนัยยะควำมสำคัญทำง
วัฒนธรรมด้วย ...เพราะผมรู้ดีว่าวัฒนธรรมของพวกเรา
ไม่มีวันตาย มันเป็นวัฒธรรมที่มีชีวิต”
https://www.theguardian.com/culture/2018/dec/04/pitt-rivers-museum-oxford-maasai-colonial-
artefacts?fbclid=IwAR3mQDDHeqjCFbCHDAdtpAxymhzev_1zbo9wYW9wWIDNEnFACAn6H1Y8VCI
“...การส่งคืนสมบัติทางวัฒนธรรม มิได้เป็น
เพียงรูปแบบเดียวของการปลดแอกอาณานิคม
แต่ยังเปลี่ยนรูปแบบการทางานของสถาบัน
วิชาการด้วย... การปลดแอก หมายถึง การ
ทบทวนโครงสร้างการทางานของพิพิธภัณฑ์
เสียใหม่...จนกว่ำชุมชนที่เป็นเจ้ำของ
สมบัติทำงวัฒนธรรม จะได้เข้ำมำจัดกำร
วัตถุเหล่ำนี้ด้วยตนเองในพิพิธภัณฑ์ทั้ง
เป็นการชั่วคราวและในระยะยาว มิเช่นนั้นแล้ว
มันก็จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงใดๆ เกิด
ขึ ้นกับสถาบัน”
3
ทำไมเรื่องของเรำ เรำควรเล่ำเอง
เข้ำใจเรื่องของ
เรำให้ถูกต้อง
ใช้เรื่องของเรำ
ให้เหมำะสม
เรำควรได้รับ
ประโยชน์จำก
เรื่องของเรำด้วย
UNESCO Universal Declaration on Cultural Diversity
2001
• มาตรา 5 สิทธิทางวัฒนธรรมในฐานะปัจจัยที่ทาให้เกิด
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
• มาตรา 7 มรดกทางวัฒนธรรมเป็นบ่อเกิดแห่งการ
สร ้างสรรค์
รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช
2560
• หมวด 3 มาตรา 43 บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิ (1)
อนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น
และของชาติ
• หมวด 4 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย มาตรา 50 บุคคลมี
หน้าที่ ดังต่อไปนี้ (8) ร่วมมือและสนับสนุนการอนุรักษ์และ
คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ความ
หลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งมรดกวัฒนธรรม
16/12/2019 SITTISAK R. 4
โครงกำรพัฒนำคลังข้อมูลชุมชนและเครือข่ำยข้อมูล
แสวงหา-สร ้าง-
ประสาน-
ทางานร่วมกับ
เครือข่ายข้อมูล
ศึกษา-พัฒนา
กระบวนการ
จัดการและดูแล
ข้อมูลชุมชน
พัฒนา-
เชื่อมโยงข้อมูล
ชุมชนผ่าน
ระบบคลังข้อมูล
ชุมชน
เสริมสร ้างความ
เข้มแข็ง-ใช ้
ประโยชน์จาก
ข้อมูลชุมชน
“เรื่องราวของชุดสะสม (collection) ของกลุ่มคนที่
อาศัยอยู่ในพื ้นที่เดียวกัน หรืออาจต่างพื ้นที่กัน ซึ่งเกิด
จากการทางานร่วมกันระหว่างเครือข่ายและผู้เกี่ยวข้อง
กับข้อมูล ในการรวบรวม จัดกำรและดูแลข้อมูล
(data curation) ที่กลุ่มคนเหล่านี ้มีควำมสนใจ
(interest) มีควำมสัมพันธ์ (relationship) มีกำร
กระทำระหว่ำงกัน (interaction) มีควำมรู้สึก
(sense) หรือมีพื้นฐำนชีวิต (pattern of life)
ร่วมกัน โดยมีเป้าหมายสาคัญ คือ จัดเก็บ-จัดกำร-
ดูแล-ใช้ประโยชน์จำกข้อมูลชุมชนอย่ำง
เหมำะสมและยั่งยืน”
Icon from: https://www.flaticon.com/16/12/2019 5SITTISAK R.
มิติของคลังข้อมูล
ชุมชน
16/12/2019 SITTISAK R. 6
• ภูมิศำสตร ์- มีถิ่นอาศัย หรือขอบเขต
ทางภูมิศาสตร ์บางอย่างร่วมกัน
• สังคมศำสตร ์– มีผลประโยชน์ร่วมกัน
หรือมีความสนใจร่วมกัน
• จิตวิทยำ- มีความรู้สึกร่วมกัน
วัตถุทาง
วัฒนธรรม
ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
การแสดงออก
ทางวัฒนธรรม
เหตุการณ์
สถานที่
ภาพเคลื่อนไหวภาพนิ่ง
เสียง เอกสาร
บุคคล
ข้อมูลเฉพาะ (องค์ความรู้ท้องถิ่น)
ข้อมูลชุมชนทั่วไป
➢ แผนที่เดินดิน
➢ ปฏิทินชุมชน
➢ ประวัติชุมชน
วางแผน
ได้มำ
คัดเลือก
จัดทำ
รำยกำร
และ
ตรวจสอบ
นำเข้ำ
และ
อธิบำย
แบ่งปัน
เครื่องมือ7ชิ้นเพื่อเรียนรู้วีถีชุมชน
มีทักษะในการจัดการและดูแล
กิจกรรมฝึกอบรมการจัดการและดูแล
เนื้อหา-ไฟล์ข้อมูลที่มีคุณภาพ
ตระหนัก
เข้าใจ
ข้อมูล
(Data)
ผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูล
(Stakeholders)
กำรจัดกำร
และดูแล
(Curation)
เครือข่ำย
(Network)
วงจรชีวิต
ข้อมูลชุมชน
กระบวนการจัดการและดูแลข้อมูลที่มีมาตรฐาน
รู้จักและเข้าใจชุมชนตนเอง
716/12/2019 SITTISAK R.
ข้อมูล (Data)
ข้อมูลที่ชุมชนมีแผนจะจัดเก็บ
รวมถึงข้อมูลที่ได้รับการบันทึก
ไว้แล้วในวัสดุที่จับต้องได้
(ภาพถ่าย สมุด ใบลาน ฯลฯ)
และจับต้องมิได้ (ไฟล์ภาพ
ไฟล์ภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ)
รวมถึงเรื่องเล่าต่างๆ ที่
เกี่ยวข้อง (ประวัติศาสตร ์บอก
เล่า) ซึ่งยังมิได้รับการบันทึกไว้
16/12/2019
SITTISAK R. 8
วัตถุทาง
วัฒนธรรม
ภูมิปัญญา
การแสดงออกทาง
วัฒนธรรม
วิถีชีวิต
เหตุการณ์
สถานที่
ภาพนิ่ง
ความทรงจา
ภาพเคลื่อนไหว
เอกสาร
เรื่องเล่า
เครือข่ำย (Network)
ผู้มีส่วนร่วมในการดาเนิน
กิจกรรมการทาคลังข้อมูลชุมชน
ทุกผ่าย เช่น ศมส.
สถาบันการศึกษา/หน่วยงานใน
พื้นที่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เข้า
ร่วมกิจกรรม อบต. วัฒนธรรม
จังหวัด เป็ นต้น
16/12/2019 SITTISAK R. 9
• คนที่เก็บข้อมูลเป็ น
• คนที่จัดกำรข้อมูลได้
• คนที่สามารถเลือกใช้ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ตรงกับ
เป้าประสงค์ที่ต้องการสื่อสาร
• คนที่สามารถเผยแพร่ข้อมูลด้วยความเคารพ (สิทธิของ
บุคคลผู้ให้ข้อมูล และสิทธิของชุมชน)
• คนที่สามารถใช้ประโยชน์จำกข้อมูลเพื่อพัฒนาชุมชนได้
ผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูล
(Stakeholders)
ผู้ให้ข้อมูล เจ้าของข้อมูล ทายาท
เจ้าของข้อมูล ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กับข้อมูลที่ชุมชนมีแผนกาลังจะ
จัดเก็บ สามารถเป็ นได้ทั้งบุคคล
ภายในและภายนอกชุมชน ทั้งนี้
เพื่อจัดลาดับความสาคัญของ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่จะต้อง
ดาเนินการให้เหมาะสม ตอบสนอง
ความต้องการของผู้เกี่ยวข้องกับ
ข้อมูลในแต่ละระดับ และต้อง
สอดคล้องไปกับวัตถุประสงค์ของ
โครงการ
16/12/2019 SITTISAK R. 10
? ?
? ?
สูง
ต่ำ
สูง
มีควำมสนใจ
มีอิทธิพล
ทายาทเจ้าของ
Collection
เยาวชนในพื้นที่
อบต./อบจ.
ชมรมคนรัก
ประวัติศาสตร ์
ท้องถิ่น
คำถำมชวนคิด?
ข้อมูล
• ชุมชนเรามีข้อมูลอะไรบ้าง
• จะไปหาข้อมูลจากไหน จาก
ใคร?
• อยากจะใช ้ข้อมูลชุดนี้ไปทา
อะไรบ้าง?
• แล้วอยากจะให้ใครเอาไปใช ้?
คนทำงำน
• จะหาใครมาช่วย
ทางานดี?
• จะได้รับการ
สนับสนุนในรูปแบบ
ใดบ้าง? (ทุน,
เครือข่าย, ความรู้
ในการทางาน)
• ต้องส่งงาน
อะไรบ้าง?
• มีกรอบเวลาในการ
ทางานอย่างไร?
กำรเก็บข้อมูล
• จะเก็บข้อมูลอย่างไร?
• จะรู้ได้อย่างไรว่าข้อมูลไหนควรเก็บ/
ไม่ควรเก็บ?
• จะรู้ได้อย่างไรว่าข้อมูลไหนถูกต้อง/ไม่
ถูกต้อง
• จะอธิบายข้อมูลที่เก็บมาอย่างไร?
กำรจัดกำรข้อมูล
• ใครจะเป็ นเจ้าของข้อมูล
บุคคล/ชุมชน/สถาบัน
วิชาการ?
• ใครจะได้ประโยชน์/เสีย
ประโยชน์จากข้อมูลชุดนี้
• จะดูแลรักษาแบบไหน?
• จะเผยแพร่และใช ้
ประโยชน์อย่างไร?
• จะทาอย่างไรให้ใช ้
ประโยชน์จากข้อมูลที่
เก็บมาได้อย่างเหมาสม
และยั่งยืน?
12
ข้อมูลชุมชนมำจำกที่ใด? ในรูปแบบใดบ้ำง?
16/12/2019 SITTISAK R. 13
มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องได้ (Tangible
Cultural Heritage)
• อนุสรณ์สถาน
• กลุ่มอาคาร
• แหล่ง
• ผู้คน (People) – ใคร?, ทาอะไร?
• สถำนที่ (Place) – ที่ไหน?
• เหตุกำรณ์ (Event) – เมื่อไหร่?,
อย่างไร?, ทาไม?
จับต้องมิได้ (Digital Format)
• ได้รับการบันทึก/แปลงสภาพในรูปแบบดิจิทัล
• ไฟล์ภาพ, ไฟล์เอกสาร, ไฟล์เสียง, ไฟล์VDO, ฯลฯ
จับต้องได้ (Physical Format)
• ได้รับการบันทึกไว้แล้วในรูปแบบ
ดั้งเดิม/จับต้องได้
• สมุด, หนังสือ, ใบลาน, ภาพถ่าย,
VDO, เทปคลาสเซ็ท ฯลฯ
มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องมิได้
(Intangible Cultural Heritage)
• ภาษา ภาษาถิ่น และภาษาชาติ
พันธุ์
• วรรณกรรมพื้นบ้าน
• ศิลปะการแสดง
• แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม
และงานเทศกาล
• งานฝีมือดั้งเดิม
• ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ
ธรรมชาติและจักรวาล
• กีฬาภูมิปัญญาไทย การเล่น
กีฬา และศิลปะการต่อสู้ป้ องกัน
ตัว
มรดกวัฒนธรรม
(Cultural
heritage)
คาอธิบาย
(Description)
รูปแบบการ
บันทึก
(Format)
กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำร
ข้อมูลชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (1)
• อบรมการใช ้เครื่องมือศึกษา
ชุมชนทั้ง 3 ชิ้น คือ แผนที่เดินดิน
ปฏิทินชุมชน และประวัติชุมชน
• ถ่ายทอดกระบวนการจัดการและ
ดูแลข้อมูลชุมชนที่ได้มาตามวงจร
ชีวิตข้อมูลชุมชนทั้ง 5 ขั้นตอน
เริ่มตั้งแต่ 1) การวางแผน 2) การ
ได้มาซึ่งข้อมูล 3) การคัดเลือก
จัดทารายการ และตรวจสอบ
คุณภาพข้อมูล 4) การนาเข้าและ
อธิบาย 5) การแบ่งปัน
วัตถุประสงค์ • ชุมชนบ้านโป่งมะนาว
ลพบุรี
• หอศาตราแสนเมืองฮอม
แพร่
• ชุมชนบ้านห้วยตองก๊อ
แม่ฮ่องสอน
• เครือข่ายพิพิธภัณฑ์เชียง
แสนเชียงราย
• ชุมชนบ้านเหมืองแพร่ เลย
• ศาลเจ้าจุ้ยตุ่ยเต้าโบ้เก้ง
ภูเก็ต
• ชุมชนบ้านผึ้ง ราษีไศล ศรี
สะเกษ
• หมู่บ้านดอยช ้าง ลีซู
เชียงราย
• ชุมชนบางอ้อ กรุงเทพฯ
• กลุ่มเครือข่ายชาติพันธุ์ปะ
โอพะเยา
• ชุมชนกันตัง ตรัง
• ชุมชนเจ็ดริ้ว สมุทรสาคร
• ชุมชนวัดเทพากร
กรุงเทพฯ
13
ชุมชน
16/12/2019 16SITTISAK R.
เวทีพบเพื่อน, 14-15 ม.ค. 2562
ณ ศูนย์มำนุษยวิทยำสิรินธร (องค์กำรมหำชน)
แนะนาแนวคิดโครงการ, แผนที่ความคิดชุมชนของเรา, ดอกไม้ในใจคุณ
16/12/2019 17SITTISAK R.
กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำร
ข้อมูลชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (1)
บ้านเหมืองแพร่ อ.นาแห้ว จ.เลย
16/12/2019 18SITTISAK R.
กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำรข้อมูลชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (2)
ตามล่าหาบ่อเกลือ
จากคาบอกเล่า ณ
บ้านเหมืองแพร่ อ.
นาแห้ว จ.เลย
16/12/2019 19SITTISAK R.
กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำรข้อมูล
ชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (3)
มัสยิดบางอ้อ เขตบางพลัด จ.กรุงเทพฯ
16/12/2019 20SITTISAK R.
กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำรข้อมูล
ชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (4)
สารวจชุมชน
มุสลิมริมแม่น้า
เจ้าพระยา
16/12/2019 21SITTISAK R.
กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำรข้อมูล
ชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (5)
เมืองเก่าเชียงแสน อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
16/12/2019 22SITTISAK R.
กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำรข้อมูลชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (6)
สารวจชุมทาง
การค้าริมแม่น้าโขง
16/12/2019 23SITTISAK R.
ประเด็นและเป้ ำหมำยกำรใช้ประโยชน์จำกคลังข้อมูลชุมชน Y1
ชุมชน ประเด็น เป้ ำหมำยกำรใช้ประโยชน์
กลุ่มชาติพันธุ์ลีซู
ชุมชนบ้านดอยล้าน
จ.เชียงราย
• ตานานและความเชื่อ
ของชุมชน
• ศึกษาตานานและความเชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ลีซูผ่านเว็บไซต์ได้
• ใช ้ข้อมูลเพื่อเรียนรู้อัตลักษณ์และความเชื่อ
ชุมชนมัสยิดบางอ้อ
กรุงเทพฯ
• อาหาร
• ความสัมพันธ์ของคน
ในชุมชน
• เผยแพร่สู่สาธารณะในรูปแบบต่างๆ (คู่มือภูมิปัญญาอาหารมุสลิม
กิจกรรมสอนทาอาหาร ฯลฯ)
• เพื่อสร ้างความเข้าใจในความหลากหลายทางวัฒนธรรมมุสลิมของ
ชุมชนบางอ้อ
ชุมชนบ้านผึ้ง จ.ศรี
สะเกษ
• เครื่องมือประมงน้าจืด
ในลุ่มน้ามูลตอนกลาง
• บันทึกและส่งผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่น และวิถีชีวิตที่สัมพันธ์กับเครื่องมือ
ประมงได้รับการบันทึกและถ่ายทอดให้กับคนรุ่นต่อไป
• มีระบบจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากการเผยแพร่ข้อมูล
ชุมชนในสื่อต่างๆ
ศาลเจ้าจุ้ยตุ่ยเต้าโบ้
เก้ง จ.ภูเก็ต
• ข้อมูลวัตถุทาง
วัฒนธรรม
• ข้อมูลภาพถ่าย
• ใช ้ข้อมูลเพื่อการจัดทาพิพิธภัณฑ์ของศาลเจ้า
• ใช้พิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งเรียนรู้ประวัติความเป็นของท้องถิ่น และสร ้าง
ปฏิสัมพันธ์กับชุมชนโดยรอบ
ชุมชนบ้านทุ่ง
บานเย็น จ.พะเยา
• อาหารประจาท้องถิ่น • ใช ้อาหารเป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษาชุมชน
ทำไมต้องจัดกำรข้อมูล?
16/12/2019 SITTISAK R. 25
20191212-proposalCommunityArchive
20191215-proposalCommunityArchive-ed-sittisak
เหตุเคยเกิด ณ ซอย...
“ซอยชบำดง เดิมเป็นย่านโคมเขียวโคมแดงของ………เพราะอยู่ตรงบริเวณ
ท่าเรือและท่ารถ จึงเป็นทาเลที่เหมาะในการประกอบกิจการ มีร้านเปิดอยู่ 3-4 ร้าน เมื่อ
ประมาณ 30 ปีที่แล้ว ราคาค่าบริการอยู่ที่ครั้งละ 20-30 บาท คนที่ทามาทางานส่วนใหญ่
เป็นคนเมือง ตอนหลังจึงเริ่มมีคนไทใหญ่มาทางาน นอกเหนือจากต้อนรับลูกค้าที่เป็นนัก
เดินทางแล้ว คนในท้องถิ่นก็มาใช้บริการเช่นกัน โดยเฉพาะเด็กวัยรุ่นในชุมชนจะมา
‘เปิ ดซิง’ กันที่นี่ มีคาท้องถิ่นที่นิยมใช้เรียกกัน ‘เก็บน้ำหัว’ ในอดีต เวลามีหนัง
กลางแปลงมาพากย์ก็จะมีมุกประมาณว่า แน่จริงไปนัดดวลกันที่ซอยชบาดง”
สัมภาษณ์ พ่อหลวงแดง, อายุ 48 ปี,03/05/2019
ซอยรมณีย์
ถ.ถลาง จ.ภูเก็ต
ที่มา: https://www.museumthailand.com/th/knowledge/Soi-Rommanee
16/12/2019 27SITTISAK R.
พรมแดนรัฐชำติ-พรมแดนวัฒนธรรม
ที่มา: https://loeitime.blogspot.com/2019/09/blog-
post_3.html?fbclid=IwAR10SInHoI7jizVhBuB3kVEjVzhkS1mTAATfI9SGQrTzMQigZwy4_4XrYkc
“...ชาวบ้านพ่อค้าแม่ขายจุดผ่อนปรน อ.นาแห้ว สุดจะทนทหารล่ารายชื่อยื่น
นายอาเภอให้ออกนอกพื้นที่ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 62 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ที่จุดผ่อน
ปรนด่านชั่วคราวชายแดนไทย - สปป.ลาว บ้านเหมืองแพร่ อ.นาแห้ว จ.เลย มีตัวแทน
ชาวบ้าน พ่อค้าแม่ขาย ได้ถือป้ ำยร้องเรียนสุดทนควำมประพฤติกรรมของ
นำยทหำรพรำนประจำด่ำน พร ้อมกับล่ารายชื่อกว่า 100 คน ทาหนังสือถึง
นายอาเภอนาแห้วขอให้ย้ายนายทหารพราน โดยการนาของผู้กองหนุ่มออกจากพื้นที่
ขืนยังอยู่ต่อไปควำมสัมพันธ ์ไทย -ลำว ควำมเป็ นพี่เป็ นน้องมำอย่ำง
ยำวนำนต้องขำดสะปั่น ใช้อำนำจไม่นึกถึงควำมสัมพันธ ์ วิถีของควำม
เป็ นอยู่ร่วมกันอย่ำงเป็ นพี่เป็ นน้องกันมำนับ 100 ปี ปฎิบัติหน้าที่เข้มงวดเกิน
เหตุ จนมีผลกระทบความสัมพันธ์การค้าเงียบเหงา ตลาดหน้าด่านไร ้คนสัญจร...”
“..การปฏิบัติหน้าที่ตามแนวชายแดน ได้ดาเนินการตามกฎหมาย และคาสั่งของผู้บัญชาการทหารบก ซึ่ง
ปัจจุบันภัยคุกคำมประเทศชำติได้เปลี่ยนแปลงไป เจ้ำหน้ำที่ต้องดูแลควำมมั่นคงด้ำนยำเสพ
ติด แรงงำนต่ำงด้ำว ปัญหำโรคระบำด ... ตนก็เข้ำใจดีถึงขนบธรรมเนียมประเพณี
ควำมสัมพันธ ์แบบเครือญำติของชำวนำแห้วกับฝั่ง สปป.ลำว แต่จะมำละเมิดกฎหมำย
ประเทศตนเองไม่ได้...”
ที่มา: https://www.facebook.com/NahaeoDistrict/posts/235090470494465716/12/2019 28SITTISAK R.
Community Archive Workflow
File cataloging
• ไฟล์ดิจิทัลที่ได้จัดกลุ่ม
เบื้องต้นตามประเด็น
การเก็บข้อมูล
Community Drive-
CD
• นาเข้าและสงวนรักษา
ไฟล์ข้อมูลของชุมชนที่
ได้มีการจัดกลุ่ม
เบื้องต้นในระบบ
cloud
Content Management
System-CMS
• สร้างและจัดการดูแลข้อมูล
ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกแล้ว
เพื่อนาเสนอสู่สาธารณะ
WWW
• นาเสนอข้อมูลชุมชน
ผ่านระบบ www
16/12/2019 30
SITTISAK R.
Community
Drive - CD
16/12/2019 31
• คลังเก็บรักษา
ข้อมูลชุมชนถาวร
• ชุมชนสามารถ
บริหารจัดการ
และเลือกข้อมูลไป
สร ้าง record ได้
ด้วยตนเอง
SITTISAK R.
https://communityarchive.sac.or.
th/admin/
คลังข้อมูลชุมชน
อธิบำยอะไรบ้ำง
➢ ข้อมูลทั่วไป
ชุมชน
➢ ข้อมูลชุมชน
จำกเครื่องมือ
ศึกษำชุมชน 7
ชิ้น
• แผนที่เดิน
ดิน
• ประวัติ
ชุมชน
• ปฏิทิน
ชุมชน
➢ ข้อมูลแบ่ง
ตำมประเภท
• ภำพนิ่ง
• ภำพเคลื่อนไ
หว
• เสียง
• เอกสำร
➢ ข้อมูลตำม
หมวด
• วัตถุทำง
วัฒนธรรม
• ภูมิปัญญำ
ท้องถิ่น
• กำร
แสดงออก
ทำง
วัฒนธรรม
• ประวัติศำสต
ร ์ชุมชน
• เหตุกำรณ์
• สถำนที่
• บุคคล
16/12/2019 SITTISAK R. 32
คนที่รู ้เรื่องของเรำดีที่สุด คือ “ตัวเรำเอง”
Thank you
Email: sittisak.r@sac.or.th
Slideshare: sittisak017
FB: Digital Curation in Thailand
FB: คลังข้อมูลชุมชน
Q & A
16/12/2019 SITTISAK R. 38

More Related Content

What's hot

การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...chatkul chuensuwankul
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๖
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๖มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๖
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๖Boonlert Aroonpiboon
 
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) นางสาวอัมพร แสงมณี
 

What's hot (8)

บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๖
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๖มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๖
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๖
 
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
 
Skillmapping version2
Skillmapping version2Skillmapping version2
Skillmapping version2
 
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
Skillmapping
SkillmappingSkillmapping
Skillmapping
 

Similar to คลังข้อมูลชุมชน 101

คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013Anunta Intra-aksorn
 
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโตการเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโตFURD_RSU
 
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้Duangjai Boonmeeprasert
 
Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templateMai Lovelove
 
ประเภทของนันทนาการ
ประเภทของนันทนาการประเภทของนันทนาการ
ประเภทของนันทนาการnok_bb
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
Thaikid Library Network and Community
Thaikid Library Network and CommunityThaikid Library Network and Community
Thaikid Library Network and CommunityMaykin Likitboonyalit
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 

Similar to คลังข้อมูลชุมชน 101 (20)

คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
 
Archives and Museum in Digital Age
Archives and Museum in Digital AgeArchives and Museum in Digital Age
Archives and Museum in Digital Age
 
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
 
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโตการเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
 
Digital Library for Thailand
Digital Library for ThailandDigital Library for Thailand
Digital Library for Thailand
 
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-template
 
ประเภทของนันทนาการ
ประเภทของนันทนาการประเภทของนันทนาการ
ประเภทของนันทนาการ
 
Personal Digital Archive Development
Personal Digital Archive DevelopmentPersonal Digital Archive Development
Personal Digital Archive Development
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Archives and Digital Archives
Archives and Digital ArchivesArchives and Digital Archives
Archives and Digital Archives
 
Pdf
PdfPdf
Pdf
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
Thaikid Library Network and Community
Thaikid Library Network and CommunityThaikid Library Network and Community
Thaikid Library Network and Community
 
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
Tha464 3
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
20181101 sac digitalrepositiry-oer
20181101 sac digitalrepositiry-oer20181101 sac digitalrepositiry-oer
20181101 sac digitalrepositiry-oer
 

More from Sittisak Rungcharoensuksri

การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนการจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนSittisak Rungcharoensuksri
 
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Sittisak Rungcharoensuksri
 
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGTHE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGSittisak Rungcharoensuksri
 
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOINGพัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOINGSittisak Rungcharoensuksri
 
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลการเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลSittisak Rungcharoensuksri
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคSittisak Rungcharoensuksri
 
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลการดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลSittisak Rungcharoensuksri
 
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุSittisak Rungcharoensuksri
 

More from Sittisak Rungcharoensuksri (13)

Information Savvy; For Gen Z
Information Savvy; For Gen ZInformation Savvy; For Gen Z
Information Savvy; For Gen Z
 
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนการจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
 
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGSAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
 
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
 
20180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-1
20180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-120180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-1
20180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-1
 
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGTHE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
 
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOINGพัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
 
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลการเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
 
20161203 icadlpresentation-sittisak
20161203 icadlpresentation-sittisak20161203 icadlpresentation-sittisak
20161203 icadlpresentation-sittisak
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
 
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลการดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
 
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
 
How to establish the SAC web standard?
How to establish the SAC web standard?How to establish the SAC web standard?
How to establish the SAC web standard?
 

คลังข้อมูลชุมชน 101

  • 3. “…เมื่อผมได้เห็นวัตถุจากชุมชนมาไซ ผมรู้สึกตกใจ เล็กน้อย...มันมีคำอธิบำยที่ไม่ค่อยละเอียดนัก และ ขำดกำรอธิบำยถึงนัยยะควำมสำคัญทำง วัฒนธรรมด้วย ...เพราะผมรู้ดีว่าวัฒนธรรมของพวกเรา ไม่มีวันตาย มันเป็นวัฒธรรมที่มีชีวิต” https://www.theguardian.com/culture/2018/dec/04/pitt-rivers-museum-oxford-maasai-colonial- artefacts?fbclid=IwAR3mQDDHeqjCFbCHDAdtpAxymhzev_1zbo9wYW9wWIDNEnFACAn6H1Y8VCI “...การส่งคืนสมบัติทางวัฒนธรรม มิได้เป็น เพียงรูปแบบเดียวของการปลดแอกอาณานิคม แต่ยังเปลี่ยนรูปแบบการทางานของสถาบัน วิชาการด้วย... การปลดแอก หมายถึง การ ทบทวนโครงสร้างการทางานของพิพิธภัณฑ์ เสียใหม่...จนกว่ำชุมชนที่เป็นเจ้ำของ สมบัติทำงวัฒนธรรม จะได้เข้ำมำจัดกำร วัตถุเหล่ำนี้ด้วยตนเองในพิพิธภัณฑ์ทั้ง เป็นการชั่วคราวและในระยะยาว มิเช่นนั้นแล้ว มันก็จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงใดๆ เกิด ขึ ้นกับสถาบัน” 3
  • 4. ทำไมเรื่องของเรำ เรำควรเล่ำเอง เข้ำใจเรื่องของ เรำให้ถูกต้อง ใช้เรื่องของเรำ ให้เหมำะสม เรำควรได้รับ ประโยชน์จำก เรื่องของเรำด้วย UNESCO Universal Declaration on Cultural Diversity 2001 • มาตรา 5 สิทธิทางวัฒนธรรมในฐานะปัจจัยที่ทาให้เกิด ความหลากหลายทางวัฒนธรรม • มาตรา 7 มรดกทางวัฒนธรรมเป็นบ่อเกิดแห่งการ สร ้างสรรค์ รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 • หมวด 3 มาตรา 43 บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิ (1) อนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น และของชาติ • หมวด 4 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย มาตรา 50 บุคคลมี หน้าที่ ดังต่อไปนี้ (8) ร่วมมือและสนับสนุนการอนุรักษ์และ คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ความ หลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งมรดกวัฒนธรรม 16/12/2019 SITTISAK R. 4
  • 5. โครงกำรพัฒนำคลังข้อมูลชุมชนและเครือข่ำยข้อมูล แสวงหา-สร ้าง- ประสาน- ทางานร่วมกับ เครือข่ายข้อมูล ศึกษา-พัฒนา กระบวนการ จัดการและดูแล ข้อมูลชุมชน พัฒนา- เชื่อมโยงข้อมูล ชุมชนผ่าน ระบบคลังข้อมูล ชุมชน เสริมสร ้างความ เข้มแข็ง-ใช ้ ประโยชน์จาก ข้อมูลชุมชน “เรื่องราวของชุดสะสม (collection) ของกลุ่มคนที่ อาศัยอยู่ในพื ้นที่เดียวกัน หรืออาจต่างพื ้นที่กัน ซึ่งเกิด จากการทางานร่วมกันระหว่างเครือข่ายและผู้เกี่ยวข้อง กับข้อมูล ในการรวบรวม จัดกำรและดูแลข้อมูล (data curation) ที่กลุ่มคนเหล่านี ้มีควำมสนใจ (interest) มีควำมสัมพันธ์ (relationship) มีกำร กระทำระหว่ำงกัน (interaction) มีควำมรู้สึก (sense) หรือมีพื้นฐำนชีวิต (pattern of life) ร่วมกัน โดยมีเป้าหมายสาคัญ คือ จัดเก็บ-จัดกำร- ดูแล-ใช้ประโยชน์จำกข้อมูลชุมชนอย่ำง เหมำะสมและยั่งยืน” Icon from: https://www.flaticon.com/16/12/2019 5SITTISAK R.
  • 6. มิติของคลังข้อมูล ชุมชน 16/12/2019 SITTISAK R. 6 • ภูมิศำสตร ์- มีถิ่นอาศัย หรือขอบเขต ทางภูมิศาสตร ์บางอย่างร่วมกัน • สังคมศำสตร ์– มีผลประโยชน์ร่วมกัน หรือมีความสนใจร่วมกัน • จิตวิทยำ- มีความรู้สึกร่วมกัน
  • 7. วัตถุทาง วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น การแสดงออก ทางวัฒนธรรม เหตุการณ์ สถานที่ ภาพเคลื่อนไหวภาพนิ่ง เสียง เอกสาร บุคคล ข้อมูลเฉพาะ (องค์ความรู้ท้องถิ่น) ข้อมูลชุมชนทั่วไป ➢ แผนที่เดินดิน ➢ ปฏิทินชุมชน ➢ ประวัติชุมชน วางแผน ได้มำ คัดเลือก จัดทำ รำยกำร และ ตรวจสอบ นำเข้ำ และ อธิบำย แบ่งปัน เครื่องมือ7ชิ้นเพื่อเรียนรู้วีถีชุมชน มีทักษะในการจัดการและดูแล กิจกรรมฝึกอบรมการจัดการและดูแล เนื้อหา-ไฟล์ข้อมูลที่มีคุณภาพ ตระหนัก เข้าใจ ข้อมูล (Data) ผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูล (Stakeholders) กำรจัดกำร และดูแล (Curation) เครือข่ำย (Network) วงจรชีวิต ข้อมูลชุมชน กระบวนการจัดการและดูแลข้อมูลที่มีมาตรฐาน รู้จักและเข้าใจชุมชนตนเอง 716/12/2019 SITTISAK R.
  • 8. ข้อมูล (Data) ข้อมูลที่ชุมชนมีแผนจะจัดเก็บ รวมถึงข้อมูลที่ได้รับการบันทึก ไว้แล้วในวัสดุที่จับต้องได้ (ภาพถ่าย สมุด ใบลาน ฯลฯ) และจับต้องมิได้ (ไฟล์ภาพ ไฟล์ภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ) รวมถึงเรื่องเล่าต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง (ประวัติศาสตร ์บอก เล่า) ซึ่งยังมิได้รับการบันทึกไว้ 16/12/2019 SITTISAK R. 8 วัตถุทาง วัฒนธรรม ภูมิปัญญา การแสดงออกทาง วัฒนธรรม วิถีชีวิต เหตุการณ์ สถานที่ ภาพนิ่ง ความทรงจา ภาพเคลื่อนไหว เอกสาร เรื่องเล่า
  • 9. เครือข่ำย (Network) ผู้มีส่วนร่วมในการดาเนิน กิจกรรมการทาคลังข้อมูลชุมชน ทุกผ่าย เช่น ศมส. สถาบันการศึกษา/หน่วยงานใน พื้นที่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เข้า ร่วมกิจกรรม อบต. วัฒนธรรม จังหวัด เป็ นต้น 16/12/2019 SITTISAK R. 9 • คนที่เก็บข้อมูลเป็ น • คนที่จัดกำรข้อมูลได้ • คนที่สามารถเลือกใช้ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ตรงกับ เป้าประสงค์ที่ต้องการสื่อสาร • คนที่สามารถเผยแพร่ข้อมูลด้วยความเคารพ (สิทธิของ บุคคลผู้ให้ข้อมูล และสิทธิของชุมชน) • คนที่สามารถใช้ประโยชน์จำกข้อมูลเพื่อพัฒนาชุมชนได้
  • 10. ผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูล (Stakeholders) ผู้ให้ข้อมูล เจ้าของข้อมูล ทายาท เจ้าของข้อมูล ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กับข้อมูลที่ชุมชนมีแผนกาลังจะ จัดเก็บ สามารถเป็ นได้ทั้งบุคคล ภายในและภายนอกชุมชน ทั้งนี้ เพื่อจัดลาดับความสาคัญของ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่จะต้อง ดาเนินการให้เหมาะสม ตอบสนอง ความต้องการของผู้เกี่ยวข้องกับ ข้อมูลในแต่ละระดับ และต้อง สอดคล้องไปกับวัตถุประสงค์ของ โครงการ 16/12/2019 SITTISAK R. 10 ? ? ? ? สูง ต่ำ สูง มีควำมสนใจ มีอิทธิพล ทายาทเจ้าของ Collection เยาวชนในพื้นที่ อบต./อบจ. ชมรมคนรัก ประวัติศาสตร ์ ท้องถิ่น
  • 11. คำถำมชวนคิด? ข้อมูล • ชุมชนเรามีข้อมูลอะไรบ้าง • จะไปหาข้อมูลจากไหน จาก ใคร? • อยากจะใช ้ข้อมูลชุดนี้ไปทา อะไรบ้าง? • แล้วอยากจะให้ใครเอาไปใช ้? คนทำงำน • จะหาใครมาช่วย ทางานดี? • จะได้รับการ สนับสนุนในรูปแบบ ใดบ้าง? (ทุน, เครือข่าย, ความรู้ ในการทางาน) • ต้องส่งงาน อะไรบ้าง? • มีกรอบเวลาในการ ทางานอย่างไร? กำรเก็บข้อมูล • จะเก็บข้อมูลอย่างไร? • จะรู้ได้อย่างไรว่าข้อมูลไหนควรเก็บ/ ไม่ควรเก็บ? • จะรู้ได้อย่างไรว่าข้อมูลไหนถูกต้อง/ไม่ ถูกต้อง • จะอธิบายข้อมูลที่เก็บมาอย่างไร? กำรจัดกำรข้อมูล • ใครจะเป็ นเจ้าของข้อมูล บุคคล/ชุมชน/สถาบัน วิชาการ? • ใครจะได้ประโยชน์/เสีย ประโยชน์จากข้อมูลชุดนี้ • จะดูแลรักษาแบบไหน? • จะเผยแพร่และใช ้ ประโยชน์อย่างไร? • จะทาอย่างไรให้ใช ้ ประโยชน์จากข้อมูลที่ เก็บมาได้อย่างเหมาสม และยั่งยืน? 12
  • 12. ข้อมูลชุมชนมำจำกที่ใด? ในรูปแบบใดบ้ำง? 16/12/2019 SITTISAK R. 13 มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องได้ (Tangible Cultural Heritage) • อนุสรณ์สถาน • กลุ่มอาคาร • แหล่ง • ผู้คน (People) – ใคร?, ทาอะไร? • สถำนที่ (Place) – ที่ไหน? • เหตุกำรณ์ (Event) – เมื่อไหร่?, อย่างไร?, ทาไม? จับต้องมิได้ (Digital Format) • ได้รับการบันทึก/แปลงสภาพในรูปแบบดิจิทัล • ไฟล์ภาพ, ไฟล์เอกสาร, ไฟล์เสียง, ไฟล์VDO, ฯลฯ จับต้องได้ (Physical Format) • ได้รับการบันทึกไว้แล้วในรูปแบบ ดั้งเดิม/จับต้องได้ • สมุด, หนังสือ, ใบลาน, ภาพถ่าย, VDO, เทปคลาสเซ็ท ฯลฯ มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องมิได้ (Intangible Cultural Heritage) • ภาษา ภาษาถิ่น และภาษาชาติ พันธุ์ • วรรณกรรมพื้นบ้าน • ศิลปะการแสดง • แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล • งานฝีมือดั้งเดิม • ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ ธรรมชาติและจักรวาล • กีฬาภูมิปัญญาไทย การเล่น กีฬา และศิลปะการต่อสู้ป้ องกัน ตัว มรดกวัฒนธรรม (Cultural heritage) คาอธิบาย (Description) รูปแบบการ บันทึก (Format)
  • 13. กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำร ข้อมูลชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (1) • อบรมการใช ้เครื่องมือศึกษา ชุมชนทั้ง 3 ชิ้น คือ แผนที่เดินดิน ปฏิทินชุมชน และประวัติชุมชน • ถ่ายทอดกระบวนการจัดการและ ดูแลข้อมูลชุมชนที่ได้มาตามวงจร ชีวิตข้อมูลชุมชนทั้ง 5 ขั้นตอน เริ่มตั้งแต่ 1) การวางแผน 2) การ ได้มาซึ่งข้อมูล 3) การคัดเลือก จัดทารายการ และตรวจสอบ คุณภาพข้อมูล 4) การนาเข้าและ อธิบาย 5) การแบ่งปัน วัตถุประสงค์ • ชุมชนบ้านโป่งมะนาว ลพบุรี • หอศาตราแสนเมืองฮอม แพร่ • ชุมชนบ้านห้วยตองก๊อ แม่ฮ่องสอน • เครือข่ายพิพิธภัณฑ์เชียง แสนเชียงราย • ชุมชนบ้านเหมืองแพร่ เลย • ศาลเจ้าจุ้ยตุ่ยเต้าโบ้เก้ง ภูเก็ต • ชุมชนบ้านผึ้ง ราษีไศล ศรี สะเกษ • หมู่บ้านดอยช ้าง ลีซู เชียงราย • ชุมชนบางอ้อ กรุงเทพฯ • กลุ่มเครือข่ายชาติพันธุ์ปะ โอพะเยา • ชุมชนกันตัง ตรัง • ชุมชนเจ็ดริ้ว สมุทรสาคร • ชุมชนวัดเทพากร กรุงเทพฯ 13 ชุมชน 16/12/2019 16SITTISAK R.
  • 14. เวทีพบเพื่อน, 14-15 ม.ค. 2562 ณ ศูนย์มำนุษยวิทยำสิรินธร (องค์กำรมหำชน) แนะนาแนวคิดโครงการ, แผนที่ความคิดชุมชนของเรา, ดอกไม้ในใจคุณ 16/12/2019 17SITTISAK R.
  • 15. กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำร ข้อมูลชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (1) บ้านเหมืองแพร่ อ.นาแห้ว จ.เลย 16/12/2019 18SITTISAK R.
  • 16. กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำรข้อมูลชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (2) ตามล่าหาบ่อเกลือ จากคาบอกเล่า ณ บ้านเหมืองแพร่ อ. นาแห้ว จ.เลย 16/12/2019 19SITTISAK R.
  • 17. กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำรข้อมูล ชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (3) มัสยิดบางอ้อ เขตบางพลัด จ.กรุงเทพฯ 16/12/2019 20SITTISAK R.
  • 18. กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำรข้อมูล ชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (4) สารวจชุมชน มุสลิมริมแม่น้า เจ้าพระยา 16/12/2019 21SITTISAK R.
  • 19. กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำรข้อมูล ชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (5) เมืองเก่าเชียงแสน อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 16/12/2019 22SITTISAK R.
  • 20. กิจกรรมฝึ กอบรมกำรเก็บและจัดกำรข้อมูลชุมชน, เม.ย.-พ.ค. 2562 (6) สารวจชุมทาง การค้าริมแม่น้าโขง 16/12/2019 23SITTISAK R.
  • 21. ประเด็นและเป้ ำหมำยกำรใช้ประโยชน์จำกคลังข้อมูลชุมชน Y1 ชุมชน ประเด็น เป้ ำหมำยกำรใช้ประโยชน์ กลุ่มชาติพันธุ์ลีซู ชุมชนบ้านดอยล้าน จ.เชียงราย • ตานานและความเชื่อ ของชุมชน • ศึกษาตานานและความเชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ลีซูผ่านเว็บไซต์ได้ • ใช ้ข้อมูลเพื่อเรียนรู้อัตลักษณ์และความเชื่อ ชุมชนมัสยิดบางอ้อ กรุงเทพฯ • อาหาร • ความสัมพันธ์ของคน ในชุมชน • เผยแพร่สู่สาธารณะในรูปแบบต่างๆ (คู่มือภูมิปัญญาอาหารมุสลิม กิจกรรมสอนทาอาหาร ฯลฯ) • เพื่อสร ้างความเข้าใจในความหลากหลายทางวัฒนธรรมมุสลิมของ ชุมชนบางอ้อ ชุมชนบ้านผึ้ง จ.ศรี สะเกษ • เครื่องมือประมงน้าจืด ในลุ่มน้ามูลตอนกลาง • บันทึกและส่งผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่น และวิถีชีวิตที่สัมพันธ์กับเครื่องมือ ประมงได้รับการบันทึกและถ่ายทอดให้กับคนรุ่นต่อไป • มีระบบจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากการเผยแพร่ข้อมูล ชุมชนในสื่อต่างๆ ศาลเจ้าจุ้ยตุ่ยเต้าโบ้ เก้ง จ.ภูเก็ต • ข้อมูลวัตถุทาง วัฒนธรรม • ข้อมูลภาพถ่าย • ใช ้ข้อมูลเพื่อการจัดทาพิพิธภัณฑ์ของศาลเจ้า • ใช้พิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งเรียนรู้ประวัติความเป็นของท้องถิ่น และสร ้าง ปฏิสัมพันธ์กับชุมชนโดยรอบ ชุมชนบ้านทุ่ง บานเย็น จ.พะเยา • อาหารประจาท้องถิ่น • ใช ้อาหารเป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษาชุมชน
  • 22. ทำไมต้องจัดกำรข้อมูล? 16/12/2019 SITTISAK R. 25 20191212-proposalCommunityArchive 20191215-proposalCommunityArchive-ed-sittisak
  • 23. เหตุเคยเกิด ณ ซอย... “ซอยชบำดง เดิมเป็นย่านโคมเขียวโคมแดงของ………เพราะอยู่ตรงบริเวณ ท่าเรือและท่ารถ จึงเป็นทาเลที่เหมาะในการประกอบกิจการ มีร้านเปิดอยู่ 3-4 ร้าน เมื่อ ประมาณ 30 ปีที่แล้ว ราคาค่าบริการอยู่ที่ครั้งละ 20-30 บาท คนที่ทามาทางานส่วนใหญ่ เป็นคนเมือง ตอนหลังจึงเริ่มมีคนไทใหญ่มาทางาน นอกเหนือจากต้อนรับลูกค้าที่เป็นนัก เดินทางแล้ว คนในท้องถิ่นก็มาใช้บริการเช่นกัน โดยเฉพาะเด็กวัยรุ่นในชุมชนจะมา ‘เปิ ดซิง’ กันที่นี่ มีคาท้องถิ่นที่นิยมใช้เรียกกัน ‘เก็บน้ำหัว’ ในอดีต เวลามีหนัง กลางแปลงมาพากย์ก็จะมีมุกประมาณว่า แน่จริงไปนัดดวลกันที่ซอยชบาดง” สัมภาษณ์ พ่อหลวงแดง, อายุ 48 ปี,03/05/2019 ซอยรมณีย์ ถ.ถลาง จ.ภูเก็ต ที่มา: https://www.museumthailand.com/th/knowledge/Soi-Rommanee 16/12/2019 27SITTISAK R.
  • 24. พรมแดนรัฐชำติ-พรมแดนวัฒนธรรม ที่มา: https://loeitime.blogspot.com/2019/09/blog- post_3.html?fbclid=IwAR10SInHoI7jizVhBuB3kVEjVzhkS1mTAATfI9SGQrTzMQigZwy4_4XrYkc “...ชาวบ้านพ่อค้าแม่ขายจุดผ่อนปรน อ.นาแห้ว สุดจะทนทหารล่ารายชื่อยื่น นายอาเภอให้ออกนอกพื้นที่ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 62 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ที่จุดผ่อน ปรนด่านชั่วคราวชายแดนไทย - สปป.ลาว บ้านเหมืองแพร่ อ.นาแห้ว จ.เลย มีตัวแทน ชาวบ้าน พ่อค้าแม่ขาย ได้ถือป้ ำยร้องเรียนสุดทนควำมประพฤติกรรมของ นำยทหำรพรำนประจำด่ำน พร ้อมกับล่ารายชื่อกว่า 100 คน ทาหนังสือถึง นายอาเภอนาแห้วขอให้ย้ายนายทหารพราน โดยการนาของผู้กองหนุ่มออกจากพื้นที่ ขืนยังอยู่ต่อไปควำมสัมพันธ ์ไทย -ลำว ควำมเป็ นพี่เป็ นน้องมำอย่ำง ยำวนำนต้องขำดสะปั่น ใช้อำนำจไม่นึกถึงควำมสัมพันธ ์ วิถีของควำม เป็ นอยู่ร่วมกันอย่ำงเป็ นพี่เป็ นน้องกันมำนับ 100 ปี ปฎิบัติหน้าที่เข้มงวดเกิน เหตุ จนมีผลกระทบความสัมพันธ์การค้าเงียบเหงา ตลาดหน้าด่านไร ้คนสัญจร...” “..การปฏิบัติหน้าที่ตามแนวชายแดน ได้ดาเนินการตามกฎหมาย และคาสั่งของผู้บัญชาการทหารบก ซึ่ง ปัจจุบันภัยคุกคำมประเทศชำติได้เปลี่ยนแปลงไป เจ้ำหน้ำที่ต้องดูแลควำมมั่นคงด้ำนยำเสพ ติด แรงงำนต่ำงด้ำว ปัญหำโรคระบำด ... ตนก็เข้ำใจดีถึงขนบธรรมเนียมประเพณี ควำมสัมพันธ ์แบบเครือญำติของชำวนำแห้วกับฝั่ง สปป.ลำว แต่จะมำละเมิดกฎหมำย ประเทศตนเองไม่ได้...” ที่มา: https://www.facebook.com/NahaeoDistrict/posts/235090470494465716/12/2019 28SITTISAK R.
  • 25. Community Archive Workflow File cataloging • ไฟล์ดิจิทัลที่ได้จัดกลุ่ม เบื้องต้นตามประเด็น การเก็บข้อมูล Community Drive- CD • นาเข้าและสงวนรักษา ไฟล์ข้อมูลของชุมชนที่ ได้มีการจัดกลุ่ม เบื้องต้นในระบบ cloud Content Management System-CMS • สร้างและจัดการดูแลข้อมูล ชุมชนที่ได้รับการคัดเลือกแล้ว เพื่อนาเสนอสู่สาธารณะ WWW • นาเสนอข้อมูลชุมชน ผ่านระบบ www 16/12/2019 30 SITTISAK R.
  • 26. Community Drive - CD 16/12/2019 31 • คลังเก็บรักษา ข้อมูลชุมชนถาวร • ชุมชนสามารถ บริหารจัดการ และเลือกข้อมูลไป สร ้าง record ได้ ด้วยตนเอง SITTISAK R. https://communityarchive.sac.or. th/admin/
  • 27. คลังข้อมูลชุมชน อธิบำยอะไรบ้ำง ➢ ข้อมูลทั่วไป ชุมชน ➢ ข้อมูลชุมชน จำกเครื่องมือ ศึกษำชุมชน 7 ชิ้น • แผนที่เดิน ดิน • ประวัติ ชุมชน • ปฏิทิน ชุมชน ➢ ข้อมูลแบ่ง ตำมประเภท • ภำพนิ่ง • ภำพเคลื่อนไ หว • เสียง • เอกสำร ➢ ข้อมูลตำม หมวด • วัตถุทำง วัฒนธรรม • ภูมิปัญญำ ท้องถิ่น • กำร แสดงออก ทำง วัฒนธรรม • ประวัติศำสต ร ์ชุมชน • เหตุกำรณ์ • สถำนที่ • บุคคล 16/12/2019 SITTISAK R. 32
  • 29. Thank you Email: sittisak.r@sac.or.th Slideshare: sittisak017 FB: Digital Curation in Thailand FB: คลังข้อมูลชุมชน Q & A 16/12/2019 SITTISAK R. 38