SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.:
LEARNING BY DOING
ประชุมผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเสนอแนะแนวทางวิชาการสาหรับ ศมส.
14/02/2018
สิทธิศักดิ์ รุ่งเจริญสุขศรี
นักวิชาการ
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
OUTLINE
????-2555: ยุค
แรกเริ่มของการ
ผลิตฐานข้อมูล
2556: จุดก้าว
กระโดดในการ
จัดการคลังข้อมูล
2561-2565:
ความท้าทายใหม่
ที่ต้องเผชิญ
2
????-2555: ยุคแรกเริ่ม
ของการผลิตฐานข้อมูล
ที่มา:
https://web.archive.org/web/19990427133516/http://www.
sac.or.th:80/
• เริ่มให้บริการฐานข้อมูลเป็นครั้ง
แรกเมื่อปี ????
• ห้องสมุดเริ่มให้บริการสืบค้นข้อมูล
เมื่อปี 2541
• หน้าเว็บ (webpage) ทีเก่า
ที่สุดของ ศมส. ถูกบันทึกไว้โดย
Internet Archive เมื่อวันที่
27 เมษายน 2542
3
รายชื่อฐานข้อมูล ศมส. สารวจเมื่อปี 2555
1. ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย (2546)
2. ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย
(2547)
3. ฐานข้อมูลงานวิจัยทางชาติพันธุ์วิทยา (2549)
4. ของเล่นพื้นบ้าน (2549)
5. ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยาในประเทศไทย
(2550)
6. ข่าวมานุษยวิทยา (2550)
7. หนังสือเก่าชาวสยาม (2551)
8. ภาพยนตร์ชาติพันธุ์ (2552)*
9. มานุษยวิทยากายภาพ (ปรับปรุงใหม่และจะ
ให้บริการในปี 2561)
10. ICH & Museums Field School
(2555)
11. รายชื่อวรรณกรรมท้องถิ่นภาคตะวันตก (ภายหลัง
เปลี่ยนชื่อเป็น “ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาค
ตะวันตกในประเทศไทย” (2558))
12. ฐานข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย (2558)
13. ฐานข้อมูลแหล่งโบราณคดีที่สาคัญในประเทศไทย
(2555)
14. ฐานข้อมูลมานุษยวิทยาการดนตรี (ไม่ได้ดาเนินการ)
4
ผลลัพธ์ที่ได้จากการสารวจความคิดเห็นผู้ปฏิบัติงานเมื่อปี 2555
• รับมอบงานมา...แต่ไม่รู้จะเริ่มอะไร ตรงไหน อย่างไรดี?
• จะแปลงสภาพเอกสารในรูปแบบใด? ความละเอียด
เท่าไหร่?
• Metadata อะไรถึงเหมาะ...แล้วฐานอื่นๆ เขาทางาน
กันแบบไหน...
• จะให้รายละเอียดข้อมูลแบบไหนถึงจะเรียกว่ามี
“คุณภาพ” แถมต้อง “เข้าใจง่าย” ถูกใจผู้ใช้บริการ
• แล้วจะเผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบใด C หรือ CC
หรือไม่มีก็ไม่เป็นไร...
• ฯลฯ
5
ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยา
6
File no. for digital object,
refers back to anthro. collection
Type of doc. (link to 'document
type' table)
Name of anthropologist whose collec.
Contains the digital object (link to
'anthropologist' table')
Title of object
One file no. can contain more
Than one item, like records created
for one activity. Comprising four
data field paper cards
Description of photo or text
Path to digital file on local SAC
server
Subject determined by creator
Subject related to digital
Object (th/en through linked
'subject' table), the SAC Archives
uses the Human Relation Area File
(Yale system)
link to object in the same box
• ไม่มีการให้
รายละเอียดใน
แต่ละช่วงชั้น เน้น
การให้
รายละเอียดใน
ระดับรายชิ้น
(item level)
• กาหนด
องค์ประกอบ
ข้อมูลขึ้นเอง
ฐานข้อมูลงานวิจัยทางชาติพันธุ์
7
2556: จุดก้าวกระโดดใน
การจัดการคลังข้อมูล
โครงการจัดการ
เนื้อหาคลังข้อมูล
ดิจิทัล ศมส.
(DCP, 2556)
สารวจองค์ความรู้
ด้านการจัดการ
คลังข้อมูล
เสริมสร้างความรู้ใน
การจัดการเนื้อหา
ข้อมูลดิจิทัล
นโยบายการจัดการ
เนื้อหาคลังข้อมูล
ดิจิทัล ศมส.+คู่มือ
ปฏิบัติงานแต่ละฐาน
•รายงานกิจกรรม
“ทบทวนตัวเรา”
จานวน 9 เรื่อง
•รายงาน Business
Model
Canvas จานวน 1
เรื่อง
•สารวจคู่เทียบในการ
ทางาน
•การมีส่วนร่วมของชุมชนในการ
จัดการมรดกวัฒนธรรมในรูปแบบ
ดิจิทัล
•แนวทางการประยุกต์ใช้งาน
Ontology ในการจัดการ
ข้อมูล
•บทบาทและทักษะของนักวิชาการ
ในการจัดการและเผยแพร่ความรู้
8
STANDARD METADATA FOR
DIGITAL HERITAGE COLLECTIONS
Material Culture
• Libraries
• Archives
• Museums
Bibliographic
• Libraries
• Archives
• Museums
Archival
• Libraries
• Archives
• Museums
Data Structure CDWA MARC ISAD
EAD
Data Content CCO AACR2 (RDA) DACS
Data Format XML XML
ISO2709
XML
Data Exchange OAI OAI
Z39.50
SRU
SRW
OAI
(Elings & Waibel, 2007) 9
METADATA (1)
• ออกแบบโดยนักวิชาการ ศมส. โดยอิงหัวเรื่องจากเนื้อหาวิชาการเป็นหลัก มิได้อ้างอิงมาตรฐาน metadata
Home Made Metadata (4 dbs)
• 15 core elements (++sub-elements):Title, Creator, Subject, Description,
Publisher, Contributor, Date,Type, Format, Identifier, Source, Language,
Relation, Coverage, Rights.
• เป็นมาตรฐาน metadata ที่ฐานข้อมูลส่วนใหญ่ของ ศมส. เลือกใช้
• นิยมใช้กับ Intangible Digital Record เช่น summarise/analyse, digitisation, field work
โดยที่ศมส. มิได้ครอบครองวัสดุต้นฉบับ
Dublin Core Metadata (14 dbs)
• 8 core elements (47 sub-elements): Identity, Context, Content & Structure,
Conditions,Allied materials, Notes,Access points, Control.
• สามารถ export เป็น EAD (Encoded Archival Description)
ISAD(G) (1 db)
10
METADATA (2)
• 7 core elements (53 sub-elements): Identity, Creation date, Measurement,
Material and Techniques,Archaeological context, Related, Control area.
• ใช้กับวัสดุทางวัฒนธรรม เช่น ภาชนดินเผา ลูกปัด
CDWA Lite (2 dbs)
• ใช้กับข่าวมานุษยวิทยา
MARC 21 (1 db)
• Encoded Archival Context - Corporate bodies, Persons, and Families (EAC-
CPF) ใช้กับฐานข้อมูลนักสังคมวิทยาและนักมานุษยวิทยา
EAC-CPF (1 db)
11
METADATA (3)
• มีต้นแบบมาจากเว็บไซต์ Community Archives and Heritage Group (CAHG) ซึ่งเก็บ
รวบรวมเอกสารจดหมายเหตุ (วัตถุและเรื่องเล่า) ของ UK และ Ireland
• พยายามลดความซับซ้อนในการให้คาอธิบายข้อมูล เพื่อเปิดโอกาสให้ชุมชน (ครอบคลุมถึงกลุ่มคนที่มีถิ่นอาศัย
วัฒนธรรม ความเชื่อ ภูมิหลัง อัตลักษณ์ และความสนใจร่วมกัน (Flinn, 2007, p.153)) สามารถนาไปใช้
งานได้โดยง่ายขึ้น
• 14 Core elements (46 sub-elements) สามารถให้คาอธิบายทรัพยากรได้ทั้งแบบเดี่ยว
(individual items) และแบบกลุ่ม (group items)
Community Archives (1 db)
• Specific Elements – ออกแบบโดยอ้างอิงจากมาตรฐาน metadata ต่างๆ (DC, CDWA,
ISAD(G))ให้เป็นแกนหลักในการอธิบายข้อมูล จากนั้น จึงเพิ่มองค์ประกอบข้อมูลเฉพาะที่เป็นไปตามเนื้อหา
ข้อมูลวิชาการของแต่ละฐานข้อมูล เข่น <dc:title;culture>, <sac:shapeDescription>,
<dc:format;forming> เป็นต้น
• Cultural Rights Elements – ออกแบบโดยคานึงถึงสิทธิทางวัฒนธรรม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่
เกี่ยวกับข้อมูล เช่น<sac:traditionalKnowledgeLicense>, <sac:culturalProtocol>
SAC qualifier
SAC’s Common
Elements
• <dc:type>
• <dc:date.created.
standard>
• <dc:title>
• <dc:description>
• <dc:creator>
• <dc:coverage.
temporal>
• <dc:coverage.
spatial>
12
7. FORMAT
7.1 จานวนหน้า Total Pages <dc:format;totalPag
es>
Number เพื่อระบุจานวนหน้าทั้งหมดของผลงาน
ตัวอย่างเช่น
- 125
7.2 สื่อ Medium <dc.format.medium
>
Choice type:
- PDF Document
เพื่อระบุนามสกุลไฟล์ดิจิทัลของวัสดุ/
เอกสารที่ได้รับการแปลงสภาพเป็นไฟล์
ดิจิทัล และข้อมูลที่เป็นไฟล์ดิจิทัลโดย
กาเนิด
7.3 ความยาว Extent <dc.format.extent> เพื่อระบุขนาดความจุของสื่อ เช่น 2 MB
8. DESCRIPTION
*8.1 คาอธิบาย/บทคัดย่อ Abstract <dc:description.abst
ract>
Text เพื่ออธิบายเนื้อหา หรือบทคัดย่อของ
ผลงานในรูปแบบการพรรณาความ โดย
ผู้จัดทา (16.1)
8.2 สารบัญ Table of Contents <dc:description;tabl
eOfContents>
Text เพื่อระบุสารบัญโดยผู้จัดทา (16.1)
13
EX. ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. - DC (1)
EX. ฐานข้อมูลนิทาน – DC + SAC QUALIFIER (2)
14
TH EN Tag name Definition
1.1 ชื่อ-นามสกุลของผู้เก็บข้อมูล Creator <dc:creator> ชื่อนามสกุลของเจ้าของผลงาน ในที่นี้
หมายถึงผู้เก็บข้อมูล (หน้าชื่อของผู้เก็บ
ข้อมูลไม่ต้องใส่คานาหน้า เช่น นาย นาง
น.ส. ตาแหน่งวิชาการเช่น เช่น ศ. ผศ.
รศ. ดร.และตาแหน่งราชการ เช่น
พ.ต.ท.)
1.2 อายุของผู้เก็บข้อมูล (ปี) Age of creator <dc:creator.age> อายุของผู้เก็บข้อมูล (ใส่เฉพาะตัวเลข)
1.3 สถาบันการศึกษาของผู้เก็บข้อมูล Name of organisation <dc:creator.org> ชื่อสถาบันการศึกษาที่ผู้เก็บข้อมูลสังกัด
1.4 ระดับการศึกษาผู้เก็บข้อมูล Educational level of
creator
<dc:creator.edulevel> ระดับการศึกษาสูงสุดของผู้เก็บข้อมูล
1.5 ที่อยู่ของผู้เก็บข้อมูล Address of creator <dc:creator.add> ที่อยู่ปัจจุบันของผู้เก็บข้อมูล ที่สามารถ
ติดต่อได้ กรณีต้องการถามข้อมูล
เพิ่มเติม
1.6 เบอร์โทรศัพท์ของผู้เก็บข้อมูล Telephone number of
creator
<dc:creator.tel> เบอร์โทรศัพท์ของผู้เก็บข้อมูล
1.7 อีเมลของผู้เก็บข้อมูล Email of creator <dc:creator.email> อีเมลของผู้เก็บข้อมูล
1.Informationofcreator
EX. ฐานข้อมูลภาชนะดินเผาในประเทศไทย
CDWA LITE + SAC QUALIFIER (3)
Old
element
name
NewTH New EN CDWA-LITE DC
1.8.1 ชื่อภาชนะ ชื่อภาชนะ Title <cdwalite:title> <dc:title>
1.8.2 ชื่อภาชนะ
(ศมส.)
ชื่อรอง Alternative Title <sac:alternativeTitle> <dc:title.alternative>
1.8.3 ชื่อรูปแบบ
ภาชนะ (ของ ศมส.)
รูปแบบภาชนะ Typology <sac:typology> <dc:title;typology>
1.8.4 ชื่อวัฒนธรรม วัฒนธรรม Culture <cdwalite:culture> <dc:title;culture>
1.8.5 ที่มาของชื่อภาชนะ Source of Title <cdwalite:sourceTitle> <dc:source.title>
15
1.8Description
Sequential Actions
1. Conceptualise – การวางกรอบความคิด
2. Create or receive – การสร้างหรือรับมอบ
3. Appraise and Select – การประเมินและ
คัดเลือก
4. Ingest – การนาเข้า
5. Preservation action – การสงวนและรักษา
6. Store – การจัดเก็บ
7. Access, Use, and Reuse – การเข้าถึง การใช้
และการนากลับมาใช้ใหม่
8. Transform – การเปลี่ยนสภาพข้อมูลไปสู่รูปแบบ
อื่นๆ
DATA LIFECYCLE & SAC’S WORKFLOW
16
17
HYBRID
CURATOR
Content Curator:
• มีความเชี่ยวชาญในประเด็นวิชาการ ทา
หน้าที่ในการแสวงหา คัดเลือก รวบรวม
และจัดการข้อมูลเพื่อเผยแพร่ไปยัง
กลุ่มเป้าหมาย
• เข้าใจพฤติกรรมการใช้งาน และความ
ต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
• มีความสามารถในการแปรรูป และนาเสนอ
ข้อมูลสู่สาธารณะได้อย่างเหมาะสม
Data Curator:
• พัฒนานโยบายในการปฏิบัติงานและ
ให้บริการ
• วิเคราะห์เนื้อหาดิจิทัลเพื่อกาหนดการ
ให้บริการที่เหมาะสม
• ให้คาแนะนาแก่ผู้สร้างข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูล
และผู้ที่นาข้อมูลกลับมาใช้ใหม่
• จัดเก็บข้อมูลเข้าสู่คลังอย่างมี
ประสิทธิภาพ
• พัฒนาและกาหนดข้อตกลง/เงื่อนไขใน
การใช้ข้อมูล
• ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล
• พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลให้
เหมาะสมสาหรับการเข้าถึง ให้
คาอธิบาย นาเสนอ จัดเก็บ และดูแล
รักษา
• ทาให้ข้อมูลสามารถใช้/นากลับ หรือค้น
คืนได้
• วางแผนการสงวนรักษา เช่น มั่นใจว่า
แหล่งจัดเก็บมีความเหมาะสม มีการ
สารองข้อมูลสม่าเสมอ มีการสารวจ
ตรวจตราความล้าสมัย
• พัฒนาการทางานร่วมกัน หมายถึง
แนวทางที่จะทาให้ข้อมูลในระบบหรือ
component ต่างๆ ของแต่ละ
หน่วยงานสามารถทางานร่วมกันได้โดย
ระบบไม่จาเป็นต้องมาจากที่เดียวกัน
หรือหน่วยงานเดียวกัน แต่ต้องสามารถ
คุยกันได้ติดต่อสื่อสารกันได้
แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้
(Harvey, 2010, p.58)
CONTENTS
• 4 categories
• 31 databases
LEARNING
2561-2565: ความท้าทายใหม่ที่ต้องเผชิญ
18
ฐานข้อมูลชาติพันธุ์
1. กลุ่มชาติพันธุ์
2. งานวิจัยชาติพันธุ์
3. ภาพยนตร์ชาติพันธุ์
4. กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้*
5. ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์*
ฐานข้อมูลสังคมวัฒนธรรม
6. พิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
7.ของเล่นพื้นบ้านในประเทศไทย
8. ประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
9. เครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้าน
10. เรือนพื้นถิ่นในประเทศไทย
11. นามานุกรมวรรณคดีไทย
12. หนังสือเก่าชาวสยาม
13. สังคมวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้
14. ภูมินามในจังหวัดสมุทรสาคร*
15. วัดพุทธในจังหวัดสมุทรสาคร*
16. นิทาน ตานาน และเรื่องเล่าพื้นบ้าน
ในประเทศไทยและเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้*
ฐานข้อมูลโบราณคดีและประวัติศาสตร์
17. จารึกในประเทศไทย
18. เอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
19. จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารา
20. แหล่งโบราณคดีที่สาคัญในประเทศไทย
21. ศิลปกรรมในประเทศไทย
22. ศิลปกรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
23. ภาชนะดินเผาในประเทศไทย
24. มานุษยวิทยากายภาพในประเทศไทย
25. บรรณนิทัศน์เอกสารวิชาการโบราณคดีในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้*
26. ฐานข้อมูลลูกปัดโบราณในประเทศไทย*
ฐานข้อมูลในแวดวงมานุษยวิทยา
27. จดหมายเหตุมานุษยวิทยา
28. ศัพท์มานุษยวิทยา
29. ข่าวมานุษยวิทยา
30. นักสังคมวิทยาและนัก
มานุษยวิทยา*
31. งานศึกษาวิจัยของ ศมส.
*อยู่ในระหว่างดาเนินการ
AUTO-CITATION
19
APA, MLA, HARVARD
MODEL FOR HERITAGE SELF-
DOCUMENTATION BY LOCAL COMMUNITIES
LEARNINGANDINNOVATIONSKILLS
INFORMATION,MEDIA,ANDTECHNOLOGYSKILLS
LIFEANDCAREERSKILLS
21stCENTURYTHEMES
DESCRIB-
ING
MANAG
-ING
DISCO-
VERING
USE&
RE-SUE
SELECT-
ING
CREAT-
ING
COMMUNITY’S
ARCHIVES
CONCEP-
TUALISE
PRESER
-VING
MEMMORY
INSTITU-
TIONS
(SAC+NET-
WORK)
COMMU-
NITIES
USERS/
CUSTO-
MERS
CREATIVE ECOLOGY
• FUNDING
• TRAINING
• RE-COLLECTING
• TECHNOLOGY
• RESEARCH DATA
• INFORMATION
REPACKAGING
• CULTURAL GUIDELINE
• CONSULTING (R&D)
OUTPUT-OUTCOME
• COMMUNITIES DATA
MANAGEMENT
COURSE (CDMC):
TANGILBLE-
INTANGIBLE-DIGITAL
• ONLINE SOURCES
• SAFEGUARDING
COMMUNITIES
• COMMUNITIES
LEARNING CENTRE
• COMMUNITIES
NETWORK
• APPROPRIATE USAGE
• VALUE ADDITIONTO
CULTURAL
INFORMATION
WEB ARCHIVING PROJECT
21
• สารวจและศึกษาเว็บไซต์ทางด้าน
มานุษยวิทยาทั้งในประเทศ และ
SEA
• พัฒนาระบบ Digital Web
Archiving เพื่อทาสาเนาและ
สงวนรักษาสารสนเทศบนเว็บไซต์
เป้าหมาย
• จัดทาความร่วมมือกับหน่วยงาน
เป้าหมาย เพื่อชักชวนให้เป็น
เครือข่าย Web Archive
วัตถุประสงค์
• สารสนเทศทางด้านมานุษยวิทยา
ของประเทศที่เผยแพร่บน
WWW ได้รับการรวบรวมและ
สงวนรักษา
ผลลัพธ์
ที่มา: http://pandora.nla.gov.au/
แนวปฏิบัติการจัดการข้อมูล
ทางมานุษยวิทยา
22ที่มา: http://localcontexts.org/tk-labels/
คลังข้อมูลที่มีคุณภาพ
23
ความน่าเชื่อถือ (Trust)
มีความถูกต้อง/มี
ลักษณะที่น่าเชื่อถือ
(Authenticity)
สามารถเข้าใจใน
บริบท
(Understand-
ability)
สามารถใช้งานได้
(Usability)
มีบูรณภาพ
(Integrity)
(Giarlo, 2013)
Q & A
24
Thank you
Email: sittisak.r@sac.or.th
Slideshare: sittisak017

More Related Content

Similar to พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING

แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานSirisuda Sirisinha
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
Thai DOI - Digital Object Identifier
Thai DOI - Digital Object IdentifierThai DOI - Digital Object Identifier
Thai DOI - Digital Object IdentifierBoonlert Aroonpiboon
 
การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...
การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...
การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...Satapon Yosakonkun
 
Opendream cmu-20100422
Opendream cmu-20100422Opendream cmu-20100422
Opendream cmu-20100422opendream
 
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Mediaเทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social MediaSatapon Yosakonkun
 
บลงงงสเ (1).pdf
บลงงงสเ  (1).pdfบลงงงสเ  (1).pdf
บลงงงสเ (1).pdfPloyko Stawbery
 
งาน กนกวรรณ
งาน กนกวรรณงาน กนกวรรณ
งาน กนกวรรณDexloei Prawza
 
Greenstone : From Paper to Digital Collection
Greenstone : From Paper to Digital CollectionGreenstone : From Paper to Digital Collection
Greenstone : From Paper to Digital CollectionBoonlert Aroonpiboon
 

Similar to พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING (20)

it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
20100612 digital-metadata
20100612 digital-metadata20100612 digital-metadata
20100612 digital-metadata
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
20181101 sac digitalrepositiry-oer
20181101 sac digitalrepositiry-oer20181101 sac digitalrepositiry-oer
20181101 sac digitalrepositiry-oer
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Web 2.0 reserch tools
Web 2.0 reserch toolsWeb 2.0 reserch tools
Web 2.0 reserch tools
 
Thai DOI - Digital Object Identifier
Thai DOI - Digital Object IdentifierThai DOI - Digital Object Identifier
Thai DOI - Digital Object Identifier
 
OSS for WUNCA 51
OSS for WUNCA 51OSS for WUNCA 51
OSS for WUNCA 51
 
20070924 metadata-dublincore
20070924 metadata-dublincore20070924 metadata-dublincore
20070924 metadata-dublincore
 
การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...
การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...
การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
Presentation thesis
Presentation thesisPresentation thesis
Presentation thesis
 
Opendream cmu-20100422
Opendream cmu-20100422Opendream cmu-20100422
Opendream cmu-20100422
 
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Mediaเทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
 
บลงงงสเ (1).pdf
บลงงงสเ  (1).pdfบลงงงสเ  (1).pdf
บลงงงสเ (1).pdf
 
Open Source for Library
Open Source for LibraryOpen Source for Library
Open Source for Library
 
Greenstone & Dspace
Greenstone & DspaceGreenstone & Dspace
Greenstone & Dspace
 
งาน กนกวรรณ
งาน กนกวรรณงาน กนกวรรณ
งาน กนกวรรณ
 
Greenstone : From Paper to Digital Collection
Greenstone : From Paper to Digital CollectionGreenstone : From Paper to Digital Collection
Greenstone : From Paper to Digital Collection
 

More from Sittisak Rungcharoensuksri

คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101Sittisak Rungcharoensuksri
 
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนการจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนSittisak Rungcharoensuksri
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101Sittisak Rungcharoensuksri
 
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Sittisak Rungcharoensuksri
 
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน Sittisak Rungcharoensuksri
 
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGTHE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGSittisak Rungcharoensuksri
 
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลการเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลSittisak Rungcharoensuksri
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคSittisak Rungcharoensuksri
 
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลการดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลSittisak Rungcharoensuksri
 
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุSittisak Rungcharoensuksri
 
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 

More from Sittisak Rungcharoensuksri (17)

คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101
 
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
 
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
 
Information Savvy; For Gen Z
Information Savvy; For Gen ZInformation Savvy; For Gen Z
Information Savvy; For Gen Z
 
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนการจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
 
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGSAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101
 
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
 
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
 
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGTHE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
 
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลการเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
 
20161203 icadlpresentation-sittisak
20161203 icadlpresentation-sittisak20161203 icadlpresentation-sittisak
20161203 icadlpresentation-sittisak
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
 
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลการดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
 
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
 
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
 
How to establish the SAC web standard?
How to establish the SAC web standard?How to establish the SAC web standard?
How to establish the SAC web standard?
 

พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING

  • 1. พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING ประชุมผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเสนอแนะแนวทางวิชาการสาหรับ ศมส. 14/02/2018 สิทธิศักดิ์ รุ่งเจริญสุขศรี นักวิชาการ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • 3. ????-2555: ยุคแรกเริ่ม ของการผลิตฐานข้อมูล ที่มา: https://web.archive.org/web/19990427133516/http://www. sac.or.th:80/ • เริ่มให้บริการฐานข้อมูลเป็นครั้ง แรกเมื่อปี ???? • ห้องสมุดเริ่มให้บริการสืบค้นข้อมูล เมื่อปี 2541 • หน้าเว็บ (webpage) ทีเก่า ที่สุดของ ศมส. ถูกบันทึกไว้โดย Internet Archive เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2542 3
  • 4. รายชื่อฐานข้อมูล ศมส. สารวจเมื่อปี 2555 1. ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย (2546) 2. ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย (2547) 3. ฐานข้อมูลงานวิจัยทางชาติพันธุ์วิทยา (2549) 4. ของเล่นพื้นบ้าน (2549) 5. ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยาในประเทศไทย (2550) 6. ข่าวมานุษยวิทยา (2550) 7. หนังสือเก่าชาวสยาม (2551) 8. ภาพยนตร์ชาติพันธุ์ (2552)* 9. มานุษยวิทยากายภาพ (ปรับปรุงใหม่และจะ ให้บริการในปี 2561) 10. ICH & Museums Field School (2555) 11. รายชื่อวรรณกรรมท้องถิ่นภาคตะวันตก (ภายหลัง เปลี่ยนชื่อเป็น “ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาค ตะวันตกในประเทศไทย” (2558)) 12. ฐานข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย (2558) 13. ฐานข้อมูลแหล่งโบราณคดีที่สาคัญในประเทศไทย (2555) 14. ฐานข้อมูลมานุษยวิทยาการดนตรี (ไม่ได้ดาเนินการ) 4
  • 5. ผลลัพธ์ที่ได้จากการสารวจความคิดเห็นผู้ปฏิบัติงานเมื่อปี 2555 • รับมอบงานมา...แต่ไม่รู้จะเริ่มอะไร ตรงไหน อย่างไรดี? • จะแปลงสภาพเอกสารในรูปแบบใด? ความละเอียด เท่าไหร่? • Metadata อะไรถึงเหมาะ...แล้วฐานอื่นๆ เขาทางาน กันแบบไหน... • จะให้รายละเอียดข้อมูลแบบไหนถึงจะเรียกว่ามี “คุณภาพ” แถมต้อง “เข้าใจง่าย” ถูกใจผู้ใช้บริการ • แล้วจะเผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบใด C หรือ CC หรือไม่มีก็ไม่เป็นไร... • ฯลฯ 5
  • 6. ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยา 6 File no. for digital object, refers back to anthro. collection Type of doc. (link to 'document type' table) Name of anthropologist whose collec. Contains the digital object (link to 'anthropologist' table') Title of object One file no. can contain more Than one item, like records created for one activity. Comprising four data field paper cards Description of photo or text Path to digital file on local SAC server Subject determined by creator Subject related to digital Object (th/en through linked 'subject' table), the SAC Archives uses the Human Relation Area File (Yale system) link to object in the same box • ไม่มีการให้ รายละเอียดใน แต่ละช่วงชั้น เน้น การให้ รายละเอียดใน ระดับรายชิ้น (item level) • กาหนด องค์ประกอบ ข้อมูลขึ้นเอง
  • 8. 2556: จุดก้าวกระโดดใน การจัดการคลังข้อมูล โครงการจัดการ เนื้อหาคลังข้อมูล ดิจิทัล ศมส. (DCP, 2556) สารวจองค์ความรู้ ด้านการจัดการ คลังข้อมูล เสริมสร้างความรู้ใน การจัดการเนื้อหา ข้อมูลดิจิทัล นโยบายการจัดการ เนื้อหาคลังข้อมูล ดิจิทัล ศมส.+คู่มือ ปฏิบัติงานแต่ละฐาน •รายงานกิจกรรม “ทบทวนตัวเรา” จานวน 9 เรื่อง •รายงาน Business Model Canvas จานวน 1 เรื่อง •สารวจคู่เทียบในการ ทางาน •การมีส่วนร่วมของชุมชนในการ จัดการมรดกวัฒนธรรมในรูปแบบ ดิจิทัล •แนวทางการประยุกต์ใช้งาน Ontology ในการจัดการ ข้อมูล •บทบาทและทักษะของนักวิชาการ ในการจัดการและเผยแพร่ความรู้ 8
  • 9. STANDARD METADATA FOR DIGITAL HERITAGE COLLECTIONS Material Culture • Libraries • Archives • Museums Bibliographic • Libraries • Archives • Museums Archival • Libraries • Archives • Museums Data Structure CDWA MARC ISAD EAD Data Content CCO AACR2 (RDA) DACS Data Format XML XML ISO2709 XML Data Exchange OAI OAI Z39.50 SRU SRW OAI (Elings & Waibel, 2007) 9
  • 10. METADATA (1) • ออกแบบโดยนักวิชาการ ศมส. โดยอิงหัวเรื่องจากเนื้อหาวิชาการเป็นหลัก มิได้อ้างอิงมาตรฐาน metadata Home Made Metadata (4 dbs) • 15 core elements (++sub-elements):Title, Creator, Subject, Description, Publisher, Contributor, Date,Type, Format, Identifier, Source, Language, Relation, Coverage, Rights. • เป็นมาตรฐาน metadata ที่ฐานข้อมูลส่วนใหญ่ของ ศมส. เลือกใช้ • นิยมใช้กับ Intangible Digital Record เช่น summarise/analyse, digitisation, field work โดยที่ศมส. มิได้ครอบครองวัสดุต้นฉบับ Dublin Core Metadata (14 dbs) • 8 core elements (47 sub-elements): Identity, Context, Content & Structure, Conditions,Allied materials, Notes,Access points, Control. • สามารถ export เป็น EAD (Encoded Archival Description) ISAD(G) (1 db) 10
  • 11. METADATA (2) • 7 core elements (53 sub-elements): Identity, Creation date, Measurement, Material and Techniques,Archaeological context, Related, Control area. • ใช้กับวัสดุทางวัฒนธรรม เช่น ภาชนดินเผา ลูกปัด CDWA Lite (2 dbs) • ใช้กับข่าวมานุษยวิทยา MARC 21 (1 db) • Encoded Archival Context - Corporate bodies, Persons, and Families (EAC- CPF) ใช้กับฐานข้อมูลนักสังคมวิทยาและนักมานุษยวิทยา EAC-CPF (1 db) 11
  • 12. METADATA (3) • มีต้นแบบมาจากเว็บไซต์ Community Archives and Heritage Group (CAHG) ซึ่งเก็บ รวบรวมเอกสารจดหมายเหตุ (วัตถุและเรื่องเล่า) ของ UK และ Ireland • พยายามลดความซับซ้อนในการให้คาอธิบายข้อมูล เพื่อเปิดโอกาสให้ชุมชน (ครอบคลุมถึงกลุ่มคนที่มีถิ่นอาศัย วัฒนธรรม ความเชื่อ ภูมิหลัง อัตลักษณ์ และความสนใจร่วมกัน (Flinn, 2007, p.153)) สามารถนาไปใช้ งานได้โดยง่ายขึ้น • 14 Core elements (46 sub-elements) สามารถให้คาอธิบายทรัพยากรได้ทั้งแบบเดี่ยว (individual items) และแบบกลุ่ม (group items) Community Archives (1 db) • Specific Elements – ออกแบบโดยอ้างอิงจากมาตรฐาน metadata ต่างๆ (DC, CDWA, ISAD(G))ให้เป็นแกนหลักในการอธิบายข้อมูล จากนั้น จึงเพิ่มองค์ประกอบข้อมูลเฉพาะที่เป็นไปตามเนื้อหา ข้อมูลวิชาการของแต่ละฐานข้อมูล เข่น <dc:title;culture>, <sac:shapeDescription>, <dc:format;forming> เป็นต้น • Cultural Rights Elements – ออกแบบโดยคานึงถึงสิทธิทางวัฒนธรรม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ เกี่ยวกับข้อมูล เช่น<sac:traditionalKnowledgeLicense>, <sac:culturalProtocol> SAC qualifier SAC’s Common Elements • <dc:type> • <dc:date.created. standard> • <dc:title> • <dc:description> • <dc:creator> • <dc:coverage. temporal> • <dc:coverage. spatial> 12
  • 13. 7. FORMAT 7.1 จานวนหน้า Total Pages <dc:format;totalPag es> Number เพื่อระบุจานวนหน้าทั้งหมดของผลงาน ตัวอย่างเช่น - 125 7.2 สื่อ Medium <dc.format.medium > Choice type: - PDF Document เพื่อระบุนามสกุลไฟล์ดิจิทัลของวัสดุ/ เอกสารที่ได้รับการแปลงสภาพเป็นไฟล์ ดิจิทัล และข้อมูลที่เป็นไฟล์ดิจิทัลโดย กาเนิด 7.3 ความยาว Extent <dc.format.extent> เพื่อระบุขนาดความจุของสื่อ เช่น 2 MB 8. DESCRIPTION *8.1 คาอธิบาย/บทคัดย่อ Abstract <dc:description.abst ract> Text เพื่ออธิบายเนื้อหา หรือบทคัดย่อของ ผลงานในรูปแบบการพรรณาความ โดย ผู้จัดทา (16.1) 8.2 สารบัญ Table of Contents <dc:description;tabl eOfContents> Text เพื่อระบุสารบัญโดยผู้จัดทา (16.1) 13 EX. ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. - DC (1)
  • 14. EX. ฐานข้อมูลนิทาน – DC + SAC QUALIFIER (2) 14 TH EN Tag name Definition 1.1 ชื่อ-นามสกุลของผู้เก็บข้อมูล Creator <dc:creator> ชื่อนามสกุลของเจ้าของผลงาน ในที่นี้ หมายถึงผู้เก็บข้อมูล (หน้าชื่อของผู้เก็บ ข้อมูลไม่ต้องใส่คานาหน้า เช่น นาย นาง น.ส. ตาแหน่งวิชาการเช่น เช่น ศ. ผศ. รศ. ดร.และตาแหน่งราชการ เช่น พ.ต.ท.) 1.2 อายุของผู้เก็บข้อมูล (ปี) Age of creator <dc:creator.age> อายุของผู้เก็บข้อมูล (ใส่เฉพาะตัวเลข) 1.3 สถาบันการศึกษาของผู้เก็บข้อมูล Name of organisation <dc:creator.org> ชื่อสถาบันการศึกษาที่ผู้เก็บข้อมูลสังกัด 1.4 ระดับการศึกษาผู้เก็บข้อมูล Educational level of creator <dc:creator.edulevel> ระดับการศึกษาสูงสุดของผู้เก็บข้อมูล 1.5 ที่อยู่ของผู้เก็บข้อมูล Address of creator <dc:creator.add> ที่อยู่ปัจจุบันของผู้เก็บข้อมูล ที่สามารถ ติดต่อได้ กรณีต้องการถามข้อมูล เพิ่มเติม 1.6 เบอร์โทรศัพท์ของผู้เก็บข้อมูล Telephone number of creator <dc:creator.tel> เบอร์โทรศัพท์ของผู้เก็บข้อมูล 1.7 อีเมลของผู้เก็บข้อมูล Email of creator <dc:creator.email> อีเมลของผู้เก็บข้อมูล 1.Informationofcreator
  • 15. EX. ฐานข้อมูลภาชนะดินเผาในประเทศไทย CDWA LITE + SAC QUALIFIER (3) Old element name NewTH New EN CDWA-LITE DC 1.8.1 ชื่อภาชนะ ชื่อภาชนะ Title <cdwalite:title> <dc:title> 1.8.2 ชื่อภาชนะ (ศมส.) ชื่อรอง Alternative Title <sac:alternativeTitle> <dc:title.alternative> 1.8.3 ชื่อรูปแบบ ภาชนะ (ของ ศมส.) รูปแบบภาชนะ Typology <sac:typology> <dc:title;typology> 1.8.4 ชื่อวัฒนธรรม วัฒนธรรม Culture <cdwalite:culture> <dc:title;culture> 1.8.5 ที่มาของชื่อภาชนะ Source of Title <cdwalite:sourceTitle> <dc:source.title> 15 1.8Description
  • 16. Sequential Actions 1. Conceptualise – การวางกรอบความคิด 2. Create or receive – การสร้างหรือรับมอบ 3. Appraise and Select – การประเมินและ คัดเลือก 4. Ingest – การนาเข้า 5. Preservation action – การสงวนและรักษา 6. Store – การจัดเก็บ 7. Access, Use, and Reuse – การเข้าถึง การใช้ และการนากลับมาใช้ใหม่ 8. Transform – การเปลี่ยนสภาพข้อมูลไปสู่รูปแบบ อื่นๆ DATA LIFECYCLE & SAC’S WORKFLOW 16
  • 17. 17 HYBRID CURATOR Content Curator: • มีความเชี่ยวชาญในประเด็นวิชาการ ทา หน้าที่ในการแสวงหา คัดเลือก รวบรวม และจัดการข้อมูลเพื่อเผยแพร่ไปยัง กลุ่มเป้าหมาย • เข้าใจพฤติกรรมการใช้งาน และความ ต้องการของกลุ่มเป้าหมาย • มีความสามารถในการแปรรูป และนาเสนอ ข้อมูลสู่สาธารณะได้อย่างเหมาะสม Data Curator: • พัฒนานโยบายในการปฏิบัติงานและ ให้บริการ • วิเคราะห์เนื้อหาดิจิทัลเพื่อกาหนดการ ให้บริการที่เหมาะสม • ให้คาแนะนาแก่ผู้สร้างข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูล และผู้ที่นาข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ • จัดเก็บข้อมูลเข้าสู่คลังอย่างมี ประสิทธิภาพ • พัฒนาและกาหนดข้อตกลง/เงื่อนไขใน การใช้ข้อมูล • ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลให้ เหมาะสมสาหรับการเข้าถึง ให้ คาอธิบาย นาเสนอ จัดเก็บ และดูแล รักษา • ทาให้ข้อมูลสามารถใช้/นากลับ หรือค้น คืนได้ • วางแผนการสงวนรักษา เช่น มั่นใจว่า แหล่งจัดเก็บมีความเหมาะสม มีการ สารองข้อมูลสม่าเสมอ มีการสารวจ ตรวจตราความล้าสมัย • พัฒนาการทางานร่วมกัน หมายถึง แนวทางที่จะทาให้ข้อมูลในระบบหรือ component ต่างๆ ของแต่ละ หน่วยงานสามารถทางานร่วมกันได้โดย ระบบไม่จาเป็นต้องมาจากที่เดียวกัน หรือหน่วยงานเดียวกัน แต่ต้องสามารถ คุยกันได้ติดต่อสื่อสารกันได้ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ (Harvey, 2010, p.58)
  • 18. CONTENTS • 4 categories • 31 databases LEARNING 2561-2565: ความท้าทายใหม่ที่ต้องเผชิญ 18 ฐานข้อมูลชาติพันธุ์ 1. กลุ่มชาติพันธุ์ 2. งานวิจัยชาติพันธุ์ 3. ภาพยนตร์ชาติพันธุ์ 4. กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้* 5. ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์* ฐานข้อมูลสังคมวัฒนธรรม 6. พิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย 7.ของเล่นพื้นบ้านในประเทศไทย 8. ประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย 9. เครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้าน 10. เรือนพื้นถิ่นในประเทศไทย 11. นามานุกรมวรรณคดีไทย 12. หนังสือเก่าชาวสยาม 13. สังคมวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ 14. ภูมินามในจังหวัดสมุทรสาคร* 15. วัดพุทธในจังหวัดสมุทรสาคร* 16. นิทาน ตานาน และเรื่องเล่าพื้นบ้าน ในประเทศไทยและเอเชียตะวันออก เฉียงใต้* ฐานข้อมูลโบราณคดีและประวัติศาสตร์ 17. จารึกในประเทศไทย 18. เอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย 19. จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารา 20. แหล่งโบราณคดีที่สาคัญในประเทศไทย 21. ศิลปกรรมในประเทศไทย 22. ศิลปกรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 23. ภาชนะดินเผาในประเทศไทย 24. มานุษยวิทยากายภาพในประเทศไทย 25. บรรณนิทัศน์เอกสารวิชาการโบราณคดีในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้* 26. ฐานข้อมูลลูกปัดโบราณในประเทศไทย* ฐานข้อมูลในแวดวงมานุษยวิทยา 27. จดหมายเหตุมานุษยวิทยา 28. ศัพท์มานุษยวิทยา 29. ข่าวมานุษยวิทยา 30. นักสังคมวิทยาและนัก มานุษยวิทยา* 31. งานศึกษาวิจัยของ ศมส. *อยู่ในระหว่างดาเนินการ
  • 20. MODEL FOR HERITAGE SELF- DOCUMENTATION BY LOCAL COMMUNITIES LEARNINGANDINNOVATIONSKILLS INFORMATION,MEDIA,ANDTECHNOLOGYSKILLS LIFEANDCAREERSKILLS 21stCENTURYTHEMES DESCRIB- ING MANAG -ING DISCO- VERING USE& RE-SUE SELECT- ING CREAT- ING COMMUNITY’S ARCHIVES CONCEP- TUALISE PRESER -VING MEMMORY INSTITU- TIONS (SAC+NET- WORK) COMMU- NITIES USERS/ CUSTO- MERS CREATIVE ECOLOGY • FUNDING • TRAINING • RE-COLLECTING • TECHNOLOGY • RESEARCH DATA • INFORMATION REPACKAGING • CULTURAL GUIDELINE • CONSULTING (R&D) OUTPUT-OUTCOME • COMMUNITIES DATA MANAGEMENT COURSE (CDMC): TANGILBLE- INTANGIBLE-DIGITAL • ONLINE SOURCES • SAFEGUARDING COMMUNITIES • COMMUNITIES LEARNING CENTRE • COMMUNITIES NETWORK • APPROPRIATE USAGE • VALUE ADDITIONTO CULTURAL INFORMATION
  • 21. WEB ARCHIVING PROJECT 21 • สารวจและศึกษาเว็บไซต์ทางด้าน มานุษยวิทยาทั้งในประเทศ และ SEA • พัฒนาระบบ Digital Web Archiving เพื่อทาสาเนาและ สงวนรักษาสารสนเทศบนเว็บไซต์ เป้าหมาย • จัดทาความร่วมมือกับหน่วยงาน เป้าหมาย เพื่อชักชวนให้เป็น เครือข่าย Web Archive วัตถุประสงค์ • สารสนเทศทางด้านมานุษยวิทยา ของประเทศที่เผยแพร่บน WWW ได้รับการรวบรวมและ สงวนรักษา ผลลัพธ์ ที่มา: http://pandora.nla.gov.au/
  • 24. Q & A 24 Thank you Email: sittisak.r@sac.or.th Slideshare: sittisak017