SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้
ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
จุฑามาศ ลิ้มรัตนพันธ์
สิทธิศักดิ์ รุ่งเจริญสุขศรี
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
OUTLINE
2
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
1. ศมส.ในฐานะคลังข้อมูล
ด้านประวัติศาสตร์และ
วัฒนธรรม
2. แนวทางการส่งเสริมและ
ส่งคืนความรู้สู่ชุมชน
6/4/2016
kahoot.it
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
3
6/4/2016
1. ศมส.ในฐานะคลังข้อมูลด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
1. กิจกรรมทาง
วิชาการ
•การประชุมประจาปี
•การประชุม
นานาชาติ
•วัฒนธรรมสัญจร
•เทศกาลพิพิธภัณฑ์
ท้องถิ่น
•บรรยายทางวิชาการ
•กิจกรรมเยาวชน
•การแสดงทาง
วัฒนธรรม
2. ฐานข้อมูล
•รวบรวมและ
สังเคราะห์ข้อมูล
•เอกสารต้นฉบับใน
รูปแบบไฟล์ดิจิทัล
3. วิจัยและพัฒนา
•งานวิจัย
•บทความ
4. นิทรรศการ
•On-site
•Online
5. ห้องสมุด
•ห้องสมุดศูนย์
มานุษยวิทยาสิรินธร
•หนังสือเก่าชาวสยาม
•ข่าวมานุษยวิทยา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
4
6/4/2016
คลังข้อมูล ศมส. www.sac.or.th
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
รวบรวมและสังเคราะห์
• ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
• ของเล่นพื้นบ้านในประเทศไทย
• กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย
• ฐานข้อมูลแหล่งโบราณคดีที่สาคัญใน
ประเทศไทย
• ฐานข้อมูลศิลปกรรมเอเชียอาคเนย์
• ประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
• คาศัพท์ทางมานุษยวิทยา
• ฐานข้อมูลงานวิจัยทางชาติพันธุ์ใน
ประเทศไทย
• ภาพยนตร์ชาติพันธุ์
• นามานุกรมวรรณคดีไทย
เอกสารต้นฉบับ
ในรูปแบบดิจิทัลไฟล์
• ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยา
• ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย
• ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาค
ตะวันตกในประเทศไทย
• หนังสือเก่าชาวสยาม
• ข่าวมานุษยวิทยา
ฐานข้อมูล 59-60
• ฐานข้อมูลศิลปกรรมในประเทศไทย
• ฐานข้อมูลสังคม-วัฒนธรรมในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้
• ฐานข้อมูลภาชนะดินเผาในประเทศ
ไทย
• ฐานข้อมูลเครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้าน
• ฐานข้อมูลมานุษยวิทยากายภาพ
• ฐานข้อมูลเรือนพื้นถิ่นในประเทศไทย
ห้องสมุด ศมส.
• ประเภท
• หนังสือ 63,677 เรื่อง
• E-book 1,313 เรื่อง
• งานวิจัย 3,937 เรื่อง
• วารสาร (T-E) 207 เรื่อง
• จุลสาร 2,135 เรื่อง
• สื่อโสตทัศน์ 5,465 เรื่อง
• หัวเรื่อง
• ชาติพันธุ์
• มรดกวัฒนธรรม
• สังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
• ประวัติศาสตร์
6/4/2016
จุดมุ่งหมายและจุดแข็ง
ของคลังข้อมูล ศมส.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
6
คลังข้อมูล
คุณภาพ
1. ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
ของเนื้อหา
2. อัพเดท
ข้อมูลอย่าง
ต่อเนื่อง
3. สามารถ
เข้าถึง ใช้และ
ใช้ซ้าได้อย่าง
ยิ่งยืน
4. ส่งคืน
ความรู้สู่ชุมชน
6/4/2016
•ใครสร้าง?
•สร้างเรื่องอะไร?
•สร้างอย่างไร?
สร้างข้อมูล
•ศมส.
คลังข้อมูล • ฐานข้อมูล
• นิทรรศการ
• หนังสือ/ คู่มือ ฯลฯ
เผยแพร่
2. แนวทางการศึกษาและส่งคืนความรู้สู่ชุมชน
ข้อค้นพบใหม่
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
7
6/4/2016
นักวิชาการ ชุมชน ข้อมูล/คลังข้อมูล เผยแพร่
เครื่องมือ
ศึกษาชุมชน
+ สถาบันการศึกษา??
(โรงเรียน มหาวิทยาลัย)
+ ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา
+ วัด พระ
+ อปท. ฯลฯศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
8
6/4/2016
พื้นที่ เวลา
ความคิด ผู้คน
ชุมชน
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
9
6/4/2016
แผนที่ - แผนที่เดินดิน
10
6/4/2016
เวลา - ประวัติศาสตร์ชุมชน
- รวมหลายรุ่น (ข้อมูลในช่วงเวลาที่
หลากหลาย)
- สอบทานกลับไป กลับมา
- อาจจะรวบรวมมาจากประวัติชีวิต
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
11
6/4/2016
เวลา - ปฏิทินชุมชน
- ประเพณี 12 เดือน
- ปฏิทินการเพาะปลูก (อาชีพ/ รายได้/ แรงงาน)
- ปฏิทินโรงเรียน (แรงงานในชุมชน)
- ปฏิทินทรัพยากรธรรมชาติ (หาอยู่ หากิน)
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
12
6/4/2016
เครือญาติ/ประวัติชีวิต
- ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน - ฐานอานาจ
- อาชีพ - การย้ายถิ่นฐาน
- ความเชื่อ/ ประเพณี/ การนับถือผี - โรคภัย ฯลฯศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
13
6/4/2016
ระบบความคิด –
Mind Map/
Photo voice
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
14
6/4/2016
กิจกรรมเยาวชนตะลุย
บ้านแพดตามรอยไม
เคิล
12-13 มี.ค. 54
โรงเรียนชุมชนบ้านเชียง
บาน ต.เชียงบาน อ.เชียง
คา
จ.พะเยา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
15
6/4/2016
ประเด็นชวนคิด?!
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
16
1. ทักษะ (skill) VS เนื้อหา (content)
2. กระบวนการเรียนรู้ VS หลักสูตร
3. คิดได้เอง สร้างสรรค์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ VS ท่องจา
4. เทคโนโลยีที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนา VS การเรียนรู้ในห้องเรียน
ยืน ภู่วรรณ. 2559. รู้เท่าทันสื่อ รู้เท่าทันสารสนเทศ หัวใจการเรียนรู้ศววรรทที 21.
6/4/2016
ขอบคุณครับ/ค่ะ
6/4/2016ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาขน)
17
 jutamas.l@sac.or.th
 sittisak.r@sac.or.th

More Related Content

Viewers also liked

วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรมperrypunch
 
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้SeeGrundy
 
Ordesa viñamala
Ordesa  viñamalaOrdesa  viñamala
Ordesa viñamalaivalma05
 
Summary of work experience
Summary of work experienceSummary of work experience
Summary of work experienceTom Bourassa
 
Diary meeting for teachers in Skuodas lithuania
Diary   meeting for teachers in Skuodas lithuaniaDiary   meeting for teachers in Skuodas lithuania
Diary meeting for teachers in Skuodas lithuaniaread in europe
 
Untitled Presentation
Untitled PresentationUntitled Presentation
Untitled Presentationmoxajazmin
 
Agricultural marketing1
Agricultural marketing1Agricultural marketing1
Agricultural marketing1maruf raufi
 
SAEINDIA-ITER ANNUAL PLANNING REPORT_2KI5-16
SAEINDIA-ITER ANNUAL PLANNING REPORT_2KI5-16SAEINDIA-ITER ANNUAL PLANNING REPORT_2KI5-16
SAEINDIA-ITER ANNUAL PLANNING REPORT_2KI5-16sulagna rakshit
 
Music video purposes work sheet 2
Music video purposes work sheet  2Music video purposes work sheet  2
Music video purposes work sheet 2Sadie Bailey
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคchickyshare
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
Culture mapping: Space and place
Culture mapping: Space and placeCulture mapping: Space and place
Culture mapping: Space and placeDave Gray
 

Viewers also liked (18)

Introduction to reading map
Introduction to reading mapIntroduction to reading map
Introduction to reading map
 
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
 
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
 
Ordesa viñamala
Ordesa  viñamalaOrdesa  viñamala
Ordesa viñamala
 
Summary of work experience
Summary of work experienceSummary of work experience
Summary of work experience
 
derecho
derechoderecho
derecho
 
Diary meeting for teachers in Skuodas lithuania
Diary   meeting for teachers in Skuodas lithuaniaDiary   meeting for teachers in Skuodas lithuania
Diary meeting for teachers in Skuodas lithuania
 
Untitled Presentation
Untitled PresentationUntitled Presentation
Untitled Presentation
 
My presentation
My presentation My presentation
My presentation
 
Agricultural marketing1
Agricultural marketing1Agricultural marketing1
Agricultural marketing1
 
SAEINDIA-ITER ANNUAL PLANNING REPORT_2KI5-16
SAEINDIA-ITER ANNUAL PLANNING REPORT_2KI5-16SAEINDIA-ITER ANNUAL PLANNING REPORT_2KI5-16
SAEINDIA-ITER ANNUAL PLANNING REPORT_2KI5-16
 
Music video purposes work sheet 2
Music video purposes work sheet  2Music video purposes work sheet  2
Music video purposes work sheet 2
 
เรือนไทยภาคใต้
เรือนไทยภาคใต้เรือนไทยภาคใต้
เรือนไทยภาคใต้
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
Culture mapping: Space and place
Culture mapping: Space and placeCulture mapping: Space and place
Culture mapping: Space and place
 
Cultural Mapping
Cultural MappingCultural Mapping
Cultural Mapping
 
Tomelloso, Spain
Tomelloso, SpainTomelloso, Spain
Tomelloso, Spain
 

Similar to คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคSittisak Rungcharoensuksri
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101Sittisak Rungcharoensuksri
 
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101Sittisak Rungcharoensuksri
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗Boonlert Aroonpiboon
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖Manoonpong Srivirat
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...
ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...
ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...Poramin Insomniaz
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559Yui Yuyee
 

Similar to คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม (20)

โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
V 304
V 304V 304
V 304
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...
ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...
ารศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดีในพนื้ที่ภาคกล...
 
V 277
V 277V 277
V 277
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
 
สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
อังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้นอังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้น
 

More from Sittisak Rungcharoensuksri

บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนการจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนSittisak Rungcharoensuksri
 
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Sittisak Rungcharoensuksri
 
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน Sittisak Rungcharoensuksri
 
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGTHE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGSittisak Rungcharoensuksri
 
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOINGพัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOINGSittisak Rungcharoensuksri
 
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลการเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลSittisak Rungcharoensuksri
 
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลการดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลSittisak Rungcharoensuksri
 
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุSittisak Rungcharoensuksri
 

More from Sittisak Rungcharoensuksri (15)

บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
 
Information Savvy; For Gen Z
Information Savvy; For Gen ZInformation Savvy; For Gen Z
Information Savvy; For Gen Z
 
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนการจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
 
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGSAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
 
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
 
20181101 sac digitalrepositiry-oer
20181101 sac digitalrepositiry-oer20181101 sac digitalrepositiry-oer
20181101 sac digitalrepositiry-oer
 
20180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-1
20180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-120180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-1
20180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-1
 
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
 
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGTHE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
 
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOINGพัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
 
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลการเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
 
20161203 icadlpresentation-sittisak
20161203 icadlpresentation-sittisak20161203 icadlpresentation-sittisak
20161203 icadlpresentation-sittisak
 
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัลการดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
 
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
 
How to establish the SAC web standard?
How to establish the SAC web standard?How to establish the SAC web standard?
How to establish the SAC web standard?
 

คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม

Editor's Notes

  1. งานของศมส.แบ่งได้ 5 ด้านหลักๆ คือ
  2. ข้อมูลของศูนย์ฯ อาจสมารถแบ่งได้คร่าวๆ 2 ลักษณะ คือ 1. แบบที่เป็นข้อมูลพื้นฐานทางด้านสังคมวัฒนธรรมที่เราได้ทำการรวบรวมทั้งจากการทบทวนวรรณกรรมและการลงพื้นที่ภาพสนามจริงแล้วทำการสังเคราะห์ข้อมูลขึ้นมาใหม่ คุณอยากรู้ว่า “ประเพณีทำขวัญข้าว” ทำที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไรบ้าง อันนี้คุณก็สามารถเลือกเข้าไปดูได้จากฐานประเพณีท้องถิ่นไทย คุณณอยากรู้ว่าศูนย์การเรียนรู้ชุมชนแหล่งโบราณคดีหนองราชวัตร เปิดวันไหนบ้าง ภายในมีอะไรจัดแสดงบ้าง คุณก็สามารถเข้าไปดูรายละเอียดข้อมูลจากฐานนี้ได้ ซึ่งฐานนี้ผมคิดว่าน่าจะมีประโยชน์ไม่น้อยสำหรับคุณครูที่ต้องการศึกษาเรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่น แล้วยังไม่รู้ว่าท้องถิ่นตัวเองมีอะไรดีบ้าง ก็อาจจะลองเข้าไปดูข้อมูลเบื้องต้นจากในนี้ แล้วอาจร่วมมือกับพิพิธฯ ในการใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชนได้ 2. แบบที่เป็นข้อมูลเชิงลึกที่จะนำไปใช้เป็นหลักฐานชั้นต้นได้ อยากใช้งานเอกสารต้นฉบับแต่ไม่รู้จะไปหาจากที่ไหน หรือบางท่านอาจจะไม่สะดวกที่จะต้องไปถึงแหล่งข้อมูลที่จัดเก็บเอกสารนั้นๆ ศูนย์ฯ เรามองเห็นข้อจำกัดของการทำงานวิจัยในจุดนี้ เราจึงได้สแกนเอกสารต้นฉบับให้สมารถเข้าถึงและใช้งานได้โดยสะดวก แล้วเรายังมีการถอดความ หรือสรุปความเอาไว้ให้ด้วย เช่น ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยา ที่มีภาพถ่ายกับบันทึกภาคสนามของนักมานุษยวิทยารุ่นบุกเบิกที่ได้ทำการศึกษาพื้นที่ประเทศไทยเอาไว้ ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทยที่เป็นฐานข้อมูลที่เก่าแก่ที่สุดของศูนย์ฯ และมีการสะสมข้อมูลเอาไว้มากที่สุด คุณสามารถดูสำเนาจารึกต้นฉบับได้ หรือข่าวมานุษยวิทยาที่เราได้มีทั้งข่าวทางด่านสังคม-วัฒธรรมที่จัด นอกจากนี้ ในปี 59-60 ทางศูนย์ฯ ก็กำลังอยู่ในช่วงรวบรวมและจัดทำฐานข้อมูลขึ้นมาใหม่อีก 6 ฐาน โดยมีฐานที่น่าสนใจที่น่าจะเกี่ยวกับงานที่คุณครูทั้งหลายจะเข้าไปเกี่ยวข้อง คือ - ฐานข้อมูลสังคม-วัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพราะผมคิดว่าน่าจะเป็นแหล่งข้อมูลที่ดีสำหรับ นร.ในการเรียนรู้ประเพณีและวัฒนธรรมของเพื่อนบ้าน ฐานข้อมูลเครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้านอันนี้ก็น่าสนใจ เพราะเมื่อเร็วๆ นี้ผมได้มีโอกาสไปเยี่ยมพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านหนองบัวโคก จ.บุรีรัมย์ พิพิธฯ นี้เก็บเครื่องมือเครื่องใช้ของชาวอีสานเอาไว้หลากหลายมาก หลายอย่างทุกวันนี้เลิกใช้กันไปแล้ว แถมวัสดุส่วนใหญ่เป็นไม้ ไม้ไผ่ก็ผุพังไปตามกาลเวลา ศูนย์ฯ จึงมีความคิดที่จะเก็บรวบรวมข้อมูลเครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้านพวกนี้เอาไว้ จากคำบอกเล่าของผู้รู้จริง ผู้ที่เคยใช้งานจริง แล้วจัดทำเป็นฐานข้อมูล เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงและสืบค้นผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้ ไม่ต้องเดินทางมาถึงแหล่ง ช่วยเผยแพร่และเก็บรักษาความรู้ สุดท้าย คือ งานห้องสมุด ศูนย์ฯ เรามุ่งหวังที่จะเป็นห้องสมุดเฉพาะทางด้านมานุษยวิทยา เราจึงได้ทำการรวบรวมทรัพยากรต่างๆ มาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งศูนย์ฯ ปัจจุบัน.... ประเด็นที่ 1 ชาติพันธุ์: กลุ่มชาติพันธุ์ นโยบายชาติพันธุ์ สิทธิทางวัฒนธรรม ภาพยนตร์ชาติพันธุ์ ประเด็นที่ 2 มรดกวัฒนธรรม: โบราณคดี พิพิธภัณฑ์ มานุษยวิทยากายภาพ อาหาร ภูมิปัญญาท้องถิ่น คติชน ตำนาน นิทานพื้นบ้าน ประเพณีและพิธีกรรม ประเด็นที่ 3 สังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย: วัฒนธรรมศึกษา ทฤษฎีและแนวคิดทางมานุษยวิทยา คนชายขอบ สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เพศภาวะและเพศวิถี ประเด็นที่ 4 ประวัติศาสตร์: ประวัติศาสตร์สังคม ประวัติบุคคลสำคัญ ประวัติศาสตร์ชาติและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ขอยกตัวอย่างให้ดูจากหน้าฐานข้อมูลของศูนย์ ........
  3. คำถามก็คือ ถ้าในเมื่อทุกวันนี้มีเว็บไซต์ที่เผยแพร่ข้อมูลเยอะแยะมากมายไปหมด แค่ search หาใน google ก็ได้แหล่งข้อมูลที่จะเข้าไปใช้ข้อมูลตั้งเยอะแยะแล้ว ทำไมเราถึงต้องเลือกใช้ข้อมูลจากคลังข้อมูลของศูนย์ฯ เพราะเป้าหมายของศูนย์ฯ เรามุ่งหวังที่จะเป็น “คลังข้อมูลทางด้านมานุษยวิทยาที่มีคุณภาพในระดับชาติและระดับอาเซียน” เราจึงมุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพข้อมูลของเราอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความน่าเชื่อถือ สามารถนำไปใช้อ้างอิงได้จริงในเชิงวิชาการ โดยจุดแข็งของคลังข้อมูล ศมส. มี 4 ข้อ คือ 1. ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา โดยศูนย์ฯ มีนักวิชาการที่เชียวชาญในเนื้อหาประเด็นนั้นๆ เป็นผู้ผลิตข้อมูล และก็มีที่ปรึกษาทางวิชาการคอยควบคุมดูแลคุณภาพของข้อมูลให้มีความถูกต้องมากที่สุด ในส่วนของเนื้อหาที่เราไม่มีความเชี่ยวชาญ เราก็มีพันธมิตรทางวิชาการคอยร่วมมือกับเราในการผลิตข้อมูลให้ ตย เช่น อ.พิพัฒน์ คอยผลิตข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ให้เรา 2. หัวใจสำคัญของการคลังข้อมูล คือ การอัพเดทข้อมูลอย่างต่อเนื่อง บ่อยครั้งที่เราจะเห็นว่าหน่วยงานราชการไทยลุกขึ้นมาจัดทำคลังข้อมูล แต่สุดท้าย คลังข้อมูลก็ไม่มีการพัฒนา ต่อยอด ไปสู่อะไร แค่มีคลังข้อมูลแล้วก็จบกันไป หันไปทำอย่างอื่นต่อ แต่หนึ่งในพันธกิจหลักของศูนย์ฯ คือ การเป็นคลังข้อมูลเพื่อเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะ การดำเนินงานด้านฐานข้อมูลจึงถือเป็นงานหลังของเราที่เราดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน มีการนำเข้าและตรวจสอบข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อยๆ ตลอดระยะเวลาเกือบ 15 ปี ในจุดนี้ ผมจึงกล้าเคลมได้ว่าในสายสังคมศาสตร์-มนุษย์ศาสตร์เมืองไทย ไม่มีหน่วยงานไหนที่ทำงานด้านคลังข้อมูลมาอย่างต่อเนื่องและยาวนานเท่าศมส.อีกแล้ว 3. นอกเหนือจากความถูกต้องของเนื้อหาข้อมูลแล้ว อีกหนึ่งอย่างที่ศูนย์ฯ เริ่มให้ความสำคัญ และกำลังสนใจศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง คือ การทำให้ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในคลังข้อมูลสามารถเข้าถึง ใช้ และใช้ซ้ำได้อย่างยั่งยืน ในจุดนี้ บางท่านอาจจะงงว่าหมายถึงอะไร ยก ตย. ลิงก์ตาย ศูนย์ฯ มองว่าข้อมูลศูนย์ฯ สั่งสมมา ถือเป็น “ทรัพย์สินทางปัญญา” ขององค์กรที่เราลงทุน ลงแรง ลงเวลา ผลิตและสั่งสมมายาวนาน ดังนั้นแล้ว ข้อมูลพวกนี้ต้องได้รับการดูแลรักษาอย่างดีตามหลักมาตรฐานสากล ตอนนี้ ศูนย์ฯ กำลังศึกษาแนวความคิดเรื่องการจัดการข้อมูลดิจิทัลแบบครบวงจร หรือ Digital Curation เพื่อนำมาปรับใช้กับกระบวนการบริการจัดการข้อมูลดิจิทัลของศูนย์ฯ ในอนาคต จะช่วยให้คลังข้อมูลของศูนยฯ มคุณภาพทั้งในเชิงเนื้อหาและคุOภาพของข้อมูล 4. นอกเหนือไปจากพันธมิตรทางด้านวิชาการที่เรามีแล้ว เรายังมองว่าชุมชนที่เราไปลงพื้นที่เก็บข้อมูลเขามาเข้าคลังข้อมูลเราเนี่ย ก็น่าจะมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการใช้งาน หรือนำข้อมูลจากคลังของเราไปใช้ในการศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของตนเองด้วย ในจุดนี้ ศูนย์ฯ ก็ได้ทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับชุมชนหลายแห่ง เพื่อทดลองความคิดในการส่งคืนความรู้สู่ชุมชนของเรา ซึ่งเดียวคุณจุฑามาศจะมาพูดต่อในประเด็นนี้ครับ
  4. ประเด็นคือ “คลังข้อมูล” เป็นต้นทางของความรู้ หรือเป็นปลายทางความรู้ (ผลผลิตของการศึกษาชุมชน) คลังข้อมูลเป็นต้นทางของความรู้ คือ เรามี “คลังข้อมูล” ที่มีข้อมูลอยู่แล้ว สามารถนำข้อมูลนั้นไปใช้ทำงาน/ เผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ ได้ ทั้ง ฐานข้อมูลออนไลน์ นิทรรศการ หนังสือ ฯลฯ คำถามคือ ถ้าคลังข้อมูลเป็นผลผลิตปลายทางของความรู้- ใครเป็นคนผลิตความรู้?? ผลิตอย่างไร? ผลิตเรื่องอะไร????
  5. เมื่ออาทิตย์ก่อนผมได้มีโอกาสไปฟังบรรยายจากท่าน อ.ยืน ภู่วรรณ ผมคิดว่าบางท่านในนี้อาจจะเคยได้มีโอกาสฟัง อ.ยืน บรรยายมาบ้างหลาย แต่สำหรับบางคนที่ยังไม่มีโอกาสฟัง ผมอยากจะนำประเด็นชวนคิดจาก อ.ยืน มาแลกเปลี่ยนพูดคุย กระตุกต่อมคิดกับทุกท่านทิ้งท้ายก่อนจะแยกย้ายกันไปเดินงานกาชาดนะครับ อย่างแรก ......อะไรสำคัญกว่ากัน เพราะทุกวันนี้เนื้อหามีอยู่มากมาย สามารถเข้าถึงได้จาก google ซึ่งผมเชื่อว่าเด็กยุคดิจิทัลเกือบทุกคนเนี่ย มี smart phone ใช้ internet ทุกวัน วันละหลายๆ ชั่วโมง พวกเขาสามารถเข้าถึงข้อมูลมหาศาลพวกนี้ผ่านทางอากู๋ได้อยู่แล้ว คำถาม คือ หลักสูตรที่เราสอนในรูปแบบเดิมๆ ทุกวันนี้ยังจำเป็นหรือไม่ เพราะเราโดนท้าทายโดนคุณครูอากู๋กับป้าวิกิ เด็กสามารถหาความรู้เรื่องที่พวกเขาอยากรู้ได้ด้วยเองอยู่แล้ว ระหว่างที่เราจะสอนความรู้จากตำราเรียนให้พวกเขาท่องจำในห้องเรียนแล้วเอาไปสอบ กับการที่เราจะสอนทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะว่าข้อมูลอะไรน่าเชื่อถือ ไม่น่าเชื่อถือ เรียนรู้การอ้างอิงอย่างไร ไม่ให้เป็นการคัดลอก copy paste เพื่อให้เขารู้จักทักษะพื้นฐานในการเขียนรายงาน ซึ่งจะพัฒนาไปสู่การเรียนรู้ที่จะระเบียบวิธีวิจัยในระดับมหาวิทยาลัย ผมว่าอันนี้มันดูเป็นโจทย์ที่น่าท้าทายสำหรับคุณครูในยุคนี้นะครับ ส่วนตัวผมเองแล้ว ในฐานที่เป็นนักวิชาการที่จับพลัดจับผลูมาทำงานด้านการจัดการสารสนเทศเนี่ย ผมมองว่าครูในยุคนี้ต้องรู้จักปรับตัวให้เข้าเทคโนโลยี นำมันมาใช้ให้เป็นประโยชน์กับการเรียนการสอน ข้อมูลมากกมายมหาศาลบน Internet เนี่ยเราต้องเอามาใช้ให้เป็นประโยชน์ ทั้งกับตัวเอาเองแล้วก็ตัวเด็กนร.ด้วย แต่เราต้องไม่ลืมที่จะติดตั้ง ทักษะในการหาข้อมูล ทักษะในการตรวจสอบข้อมูลให้กับเด็กๆ ด้วย เพื่อที่พวกเขาจะได้คิดวิเคราะห์ แยกแยะได้ว่าข้อมูลใดน่าเชื่อถือ ไม่น่าเชื่อถือ ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้จะเกิดขึ้นได้บทบาทของคุณครูนี่สำคัญมากครับ เพราะต้องเป็นคนออกแบบกิจกรรมต่างๆ ที่จะเสริมทักษะเหล่านี้ให้พวกเขาได้มีโอกาสลงมือทำจริง ฝึกฝนจริง