SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
มารู้จักนมกันเถอะ

นม
      เป็นแหล่งของสารอาหารตามธรรมชาติ
         ที่จำเป็นต่อการเสริมสร้าง พัฒนาการ
         ทารก เป็ น แหล่ ง ของสารอาหารที่ มี
คุณค่าของเด็กและผู้ใหญ่

สารอาหารสำคัญ ที่ประกอบในนม 
	         1.	 โปรตีน เป็นสารอาหารที่มีอยู่ในปริมาณสูง มีประโยชน์ในการสร้างเนื้อเยื่อ
เลือด กระดูก และอื่น ๆ 
	                                                                                     
          2.	 แคลเซี ย ม เป็ น สารอาหารที่ จ ำเป็ น ต่ อ การเจริ ญ ของกระดู ก และฟั น 

ซึ่งมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและความสูงของเด็ก
นมโรงเรียน 
	        มี 2 รูปแบบ ได้แก่ นมพาสเจอร์ไรส์ และนม ยู เอช ที ขนาดบรรจุ 200
มิลลิลิตร




	         นมพาสเจอร์ไรส์ (นมถุง) 	                      นม ยู เอช ที (นมกล่อง)



                                             มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
                                                            ฉบับโรงเรียน
นมพาสเจอร์ไรส์ คืออะไร
	            นมพาสเจอร์ไรส์ (นิยมบรรจุถุง) คือ นมที่ผ่านการฆ่าเชื้อโดยใช้ความร้อน
             
และเวลาที่เพียงพอต่อการทำลายเชื้อจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคเท่านั้น โดยฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ
63-65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที หรืออุณหภูมิ 72-75 องศาเซลเซียส
เป็นเวลา 15-20 วินาที การพาสเจอร์ไรส์ทำลายจุลินทรีย์ได้ 95-99% แต่จุลินทรีย์
                  
ที่ทนต่อความร้อนได้ดี หรือประเภทสร้างสปอร์อาจรอดชีวิตอยู่ได้ ดังนั้นนมพาสเจอร์ไรส์
จึงต้องเก็บที่อุณหภูมิไม่เกิน 8 องศาเซลเซียส มีระยะเวลาการบริโภคนับจากวันที่ผลิต
ไม่เกิน 10 วัน ข้อดีคือสารอาหารต่าง ๆ ถูกทำลายน้อยมาก เนื่องจากการผ่าน
                        
ความร้อนต่ำนั่นเอง 
	            การขนส่ ง และเก็ บ รั ก ษานมพาสเจอร์ ไ รส์ ควรมี ก ารควบคุ ม อุ ณ หภู มิ อ ย่ า ง
เคร่งครัด เพราะความร้อนที่ใช้ในการผลิตไม่สามารถฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ได้หมด กฎหมาย
จึ ง กำหนดว่ า “นมปรุ ง แต่ ง ชนิ ด เหลวที่ ผ่ า นกรรมวิ ธี พ าสเจอร์ ไ รส์ ต้ อ งเก็ บ รั ก ษา

                                                                                               
ไว้ ที่ อุ ณ หภู มิ ไ ม่ เ กิ น 8 องศาเซลเซี ย สตลอดระยะเวลาหลั ง บรรจุ จ นถึ ง ผู้ บ ริ โ ภค” 
 
เพื่อป้องกันการเพิ่มจำนวนจุลินทรีย์ที่หลงเหลือจากการผลิต จนอาจก่ออาการอาหาร
                   
เป็นพิษ เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน เป็นต้น 
นม ยู เอช ที คืออะไร
	       นม ยู เอช ที (นิยมบรรจุกล่อง) เป็นนมที่ผ่านการทำลายเชื้อจุลินทรีย์
        
ด้วยความร้อน 133-150 องศาเซลเซียส นาน 2-4 วินาที จนทำลายเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค
รวมทั้งสปอร์ของเชื้อจุลินทรีย์ได้ ทำให้สามารถเก็บนม ยู เอช ที ไว้ได้นาน แม้จะเก็บไว้
ภายนอกตู้เย็น แต่สถานที่เก็บต้องไม่ร้อน เมื่อเก็บไว้นานเกินไปจนนมหมดอายุ นมจะ
หนืดเป็นวุ้น กลิ่นรสจะเปลี่ยน รวมทั้งไขมันในนมจะแยกชั้นจากน้ำนม




            มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
           ฉบับโรงเรียน
กว่าจะมาเป็น...นมโรงเรียน
                                น้ำนมดิบจากฟาร์ม

                        ตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้นที่โรงงาน

                       เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส 

                                 กำจัดสิ่งปนเปื้อน

                            เข้าเครื่องปรับปริมาณไขมัน

                            เข้าเครื่องโฮโมไนส์เพื่อทำให้

                       ไขมันนมกระจายเป็นเนื้อเดียวกันกับนม
                                        
	           นมพาสเจอร์ไรส์	 นม ยู เอช ที
	            ฆ่าเชื้ออุณหภูมิ 	                        ฆ่าเชื้ออุณหภูมิ
	 63-65 องศาเซลเซียส 30 นาที	             133-150 องศาเซลเซียส เวลา 2-4 วินาที
	 หรืออุณหภูมิ 72-75 องศาเซลเซียส 
	            15-20 วินาที

     ทำให้เย็นลงเหลือ 5 องศาเซลเซียส	                  ทำให้เย็นลง	       
	                    หรือต่ำกว่า

	               บรรจุขวดหรือกล่อง	          บรรจุกล่องในสภาวะปราศจากเชื้อ
	                         
	         เก็บรักษาที่ 8 องศาเซลเซียส 	         เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง
	                    หรือต่ำกว่า

                                             มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
                                                             ฉบับโรงเรียน
วันนี้โรงเรียนจะดูแลจัดการอย่างไร
                   กับนมของเด็ก ๆ
	        แม้ว่านมจะมีขั้นตอนการผลิตมากมาย และโรงเรียนจะอยู่ตรงจุดปลายทาง
   
                                                                             
ของนมโรงเรียน แต่มีความสำคัญสูงสุด จำเป็นที่คุณครูทุกคนต้องดูแลอย่างเข้มแข็ง 

เพื่อคงคุณภาพและความปลอดภัยของนม
	        ดังนั้นเราจะเริ่มกันด้วยขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 โรงเรียนกำหนดผู้ดูแลตรวจนับนมที่มีคุณภาพ 
	      การตรวจนับ-รับนม โดยใช้ใบตรวจรับนม : นับจำนวน-ดูสภาพของถุงนม
(นมพาสเจอร์ไรส์) หรือกล่องนม (นม ยู เอช ที) 
                                                  ภาคผู้ประกอบการ-โรงงาน : ผลิตนมดี




                                            ภาคโรงเรียน (ครู และ อปท.)
                                               โรงเรียน : เก็บถูกต้อง

   ภาคผู้ขนส่ง-สายส่ง : ขนถูกหลัก




           มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
          ฉบับโรงเรียน
ขั้นที่ 2 ตรวจสอบคุณภาพนมหลังนับจำนวน
	       นม ยู เอช ที                   สุ่มเลือกดูสภาพกล่อง เนื่องจากขณะขนส่งจะมี
   
                                                                                      
แรงกดทั บ หรื อ ถู ก กระแทกทำให้ ก ล่ อ งมี รู รั่ ว ขาด โดยเฉพาะบริ เ วณมุ ม กล่ อ ง 

ทำให้อากาศและเชื้อจุลินทรีย์จากอากาศภายนอกเข้าไปภายในกล่องบรรจุ นมจะเสียได้
เมื่อตรวจดูสภาพเบื้องต้นเรียบร้อยดีแล้ว จึงนำไปจัดเก็บในสถานที่ ๆ เตรียมไว้




                                             มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
                                                            ฉบับโรงเรียน
การเก็บรักษาคุณภาพนม ยู เอช ที หลังตรวจนับ
 	1. ตรวจลักษณะภายนอกของกล่องนม	                        2. ตรวจสอบฉลากบนกล่องนม
 
 	
 		 หรืรอยหัก ย่น 	
   ดูสภาพกล่องนมว่ามี                                 ดูข้อมูล เลขทะเบียน 
 และวันหมดอายุ
                                                                          อ.ย.
 	
 		 นสายส่

         บวม ซึม อไม่                                  ถ้าหมดอายุก่อนเวลาบริโภคไม่ควรรับนม
 	      ถ้ามีให้ส่งคื ง
 
 
 	 3. ตรวจลักษณะทางกายภาพของนม	                          4. การขนย้ายนมจากสายส่ง
 
 	      เทนมใส่แก้ว เพื่อสังเกตลักษณะ	                   - 	ห้ามโยนกล่องหรือลังนม
 	     ทางกายภาพและบันทึกลงแบบฟอร์ม	                     - 	ห้ามยืน/นั่งบนกล่องหรือลังนม
 
     สี
   สีผิดปกติ ➜ ไม่ให้เด็กดื่ม
           5
                                                 	.   การจัดเก็บลังนม ยู เอช ที (200 มล.)
           
                                     
           ลักษณะผิดปกติ ➜ ไม่ให้เด็กดื่ม
     -	         เก็บนมในที่ร่ม ไม่โดนแสงแดด ไม่อยู่ใกล้
 เนื้อนม
 มียางเหนียวที่ผิวหน้า
               	          แหล่งให้ความร้อน เช่น ครัว
           มีตะกอน/มีการแยกชั้น
               -	         ไม่วางลังนมติดพื้น ควรสูงจากพื้น 
           
                                   	          อย่างน้อย 10 เซนติเมตร เพื่อป้องกัน
 กลิ่น/รส
 กลิ่นรสผิดปกติ ➜ ไม่ให้เด็กดื่ม
    	          ความชื้น แมลง หรือหนูกัดแทะ
           กลิ่นแปลก ๆ เช่น เหม็นหืน กลิ่นไหม้
-	         ควรวางกล่องให้ชิดกัน อย่าให้มีช่องว่าง 
           กลิ่นเปรี้ยว หรือกลิ่นผลไม้รสผิดปกติ
                                               	          เพื่อให้รับน้ำหนักเท่ากัน
           เช่น ขม เปรี้ยว
                    -	         ไม่วางลังนมในสถานที่อับชื้นหรือ
                                               	          ในถังน้ำแข็ง เพราะจะทำให้กล่องเปื่อย
 6. การดูแลสถานที่เก็บนมให้สะอาดและแห้ง
 -	               ถ้านมบรรจุในลังกระดาษ ห้ามวางซ้อนกัน
 
                                             	          เกิน 7 ชั้น
    มีการดูแลทำความสะอาด เพื่อป้องกันหนู มด 
 -	          ถ้าหุ้มกล่องนมด้วยพลาสติก		
       และแมลงต่าง ๆ  /ไม่ปล่อยให้ชื้นแฉะ
     	          ห้ามวางกล่องนมซ้อนกันเกิน 5 ชั้น
                         
                     -	         เมื่อจัดเรียงกล่องนมเรียบร้อย		
            7. การนำนมมาบริโภค
                	          ห้ามวางสิ่งของวางทับบนกล่องนม
 
   การแกะเอากล่องนมออกจากลังกระดาษไม่ควรใช้
    ของมีคมเช่นมีดหรือคัดเตอร์กรีด เพราะอาจไป

                                             
           ถูกกล่องนมทำให้เกิดรอยรั่วได้



              มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
             ฉบับโรงเรียน
นมพาสเจอร์ไรส์                  ตรวจเช็กตามแบบฟอร์ม การรับ-จ่ายนม
โดยลงวันที่รับ วันหมดอายุของนม ดูจากขอบตะเข็บตรงถุงนม (ดังภาพ) จะปรากฏ
        
วัน เดือน ปี เป็นลักษณะรอยตอก จากนั้นสุ่มเลือกถุงนมที่ไม่อยู่ติดน้ำแข็งนำออกมา
ตัดแล้ววัดอุณหภูมินม (ตามวิธีการในข้อแนะนำ)




                                                                   20 02 51

                                                               วันที่
                                                                           เดือน
                                                                                    ปี




                                          มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
                                                         ฉบับโรงเรียน
การเก็บรักษาคุณภาพนมพาสเจอร์ไรส์
                     หลังตรวจนับ
                             1. ตรวจสภาพนมพาสเจอร์ไรส์

		า 200งนมรัลิต
	 ปริมาตรนมน้อยกว่       มิลลิ ร		 พอง ไม่รั่ว
                                    ถุงนมปกติ ไม่ 
	   ถุงนมพองผิดปกติ ถุ        ่ว


	
		 งไม่รกดื่ม
       ผู้ตรวจรับต้อ ับนม
       บันทึกวันรับนมลงในแบบฟอร์ม
	       และไม่นำไปให้เด็

	      ถ้าไม่แสดงวันหมดอายุ
	 หรือไม่สามารถระบุวันหมดอายุได้	                                ดูวันหมดอายุ
	     ควรปฏิเสธการรับนมและ	                                ที่รอยตอกบนตะเข็บถุงนม
	 แจ้งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

		                                             สุ่มเลือกถุงนมที่ไม่ติดกับน้ำแข็งออกมา 1 ถุง
                 ใช้    ตัดปากถุง

	    วัดอุณหภูมินมตามวิธีที่แนะนำ	                  เทนมใส่แก้ว เพื่อสังเกตลักษณะ
	 และบันทึกอุณหภูมินมลงในแบบฟอร์ม	                 ทางกายภาพและบันทึกลงแบบฟอร์ม

                                                     สี
   สีผิดปกติ ➜ ไม่ให้เด็กดื่ม
	 อุณหภูมิสูงกว่า 	       อุณหภูมิไม่เกิน
                 
	8 องศาเซลเซียส	         8 องศาเซลเซียส
                   ลักษณะผิดปกติ ➜ ไม่ให้เด็กดื่ม
	 ไม่รับนมทั้งหมด 	    นำนมไปตรวจลักษณะ
         เนื้อนม
 มียางเหนียวที่ผิวหน้า
		                         ทางกายภาพ
                      มีตะกอน/มีการแยกชั้น

                                                          

                                                กลิ่น/รส
 กลิ่นรสผิดปกติ ➜ ไม่ให้เด็กดื่ม
	 ให้สายส่งเซ็นชื่อ	   ถ้าลักษณะทางกายภาพ
                 กลิ่นแปลก ๆ เช่น เหม็นหืน กลิ่นไหม้
	 รับนมคืน	             ผิดปกติไม่ควรรับนม
                กลิ่นเปรี้ยว หรือกลิ่นผลไม้รสผิดปกติ
                                                           เช่น ขม เปรี้ยว

              มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
             ฉบับโรงเรียน
การเก็บรักษาคุณภาพนมพาสเจอร์ไรส์
                 หลังตรวจนับ
                                2. ตรวจสภาพถังเก็บนม

	            ถังต้องสะอาด	                        ถังต้องมีสภาพสมบูรณ์ ไม่ชำรุดหรือแตกหัก



	      ต้องมีการล้างถังก่อนบรรจุ	                           ถ้าถังชำรุดให้แจ้งสายส่ง

	          ถุงนมลงถังทุกครั้ง	                               เพื่อ+ทำการเปลี่ยนถัง



                                   สถานที่วางถังนมต้องสะอาด
                                                 
                                        แสงแดดส่องไม่ถึง
                                                 
                                                 
                                                 
                      3. ตรวจความถูกต้องในการบรรจุนมลงถัง
                                               
                                               
                                               
                              มีการจัดเรียงน้ำแข็งตามข้อแนะนำ
                                               
                                   ในสัดส่วนที่เหมาะสมกับ
                                               
                                  จำนวนถุงนมที่โรงเรียนรับ
                                               
                                               
                                               
                   - ถ้ามีการเรียงน้ำแข็งไม่เหมาะสมแจ้งสายส่งให้เพิ่มน้ำแข็ง

4. ห้ามเปิดฝาถังจนกว่าจะถึงเวลาบริโภค
             5. ยืนยันความถูกต้องในการตรวจรับนม
                    
                                                     
                    
                                                     
        ควรมีการล็อกถังนมหลังจาก
                           ผู้ตรวจรับและสายส่งนมลงชื่อ
                    
                                                     
     ขั้นตอนการตรวจรับนมเสร็จสิ้น
                        ในแบบฟอร์มเพื่อแสดงความเข้าใจ
                    
                                                     
                 ทุกครั้ง
                                         ซึ่งกันและกัน

ข้อแนะนำ
	       - 	 ไม่นำอาหารสด เช่น เนื้อสด ผักสด ใส่ร่วมกับถุงนมในถังแช่ 
	       - 	 ห้ามนำน้ำแข็งออกจากถังนม ไม่ควรนำน้ำแข็งไปบริโภค เพราะอาจมีเชื้อ
ปนเปื้อนอยู่
                                                  มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
                                                                   ฉบับโรงเรียน
ถึง...เวลาดื่มนมของเด็ก...เด็กแล้ว
	     การแจกนมให้ เ ด็ ก ในโรงเรี ย นเป็ น สิ่ ง สำคั ญ มาก เพื่ อ เด็ ก จะได้ ดื่ ม นมที่ ค ง
คุณภาพดี จากการเก็บรักษาของคุณครู เริ่มด้วย
	      1.	 กำหนดผู้รับผิดชอบการรับ-จ่ายนม เพื่อดูแลการจัดเก็บนม ยู เอช ที และ
นมพาสเจอร์ไรส์ให้เหมาะสม 
		 -	 นม ยู เอช ที ต้องเก็บในที่สะอาดและแห้ง ห้ามแช่ในน้ำแข็งหรือน้ำเย็น
		 -	 นมพาสเจอร์ ไ รส์ ต้ อ งเรี ย งนมและน้ ำ แข็ ง ให้ เ ป็ น ไปตามข้ อ แนะนำ
   
การเก็บรักษานมที่โรงเรียน เพื่อควบคุมอุณหภูมิให้ต่ำกว่า 8 องศาเซลเซียส เมื่อนำถุง
นมออกจากถังต้องเกลี่ยน้ำแข็งให้คลุมถุงนมด้านบนอย่างทั่วถึง
	      2.	 กำหนดเวลาการจ่ า ยนมให้ เ ด็ ก ดื่ ม นมเป็ น ช่ ว งเวลาเดี ย วกั น ทั้ ง โรงเรี ย น

ตามเวลาที่โรงเรียนพิจารณาว่าเหมาะสม
	        3.	 ดูแลให้เด็กดื่มนมทันทีหลังจากแจกนม ดังนี้
		 -	 ผู้แจกนมต้องสังเกตวันหมดอายุก่อนแจกนมให้เด็กบริโภคหรือรับกลับบ้าน
		 -	 ต้ อ งตั ด ถุ ง นมพร้ อ มแจกหลอดดู ด ดู แ ลไม่ ใ ห้ เ ด็ ก ใช้ ป ากกั ด ถุ ง นม 

                                                                                      
หรือใช้ปากดูดน้ำนมจากถุงนมโดยตรง
		 -	 ถ้าเป็นนมพาสเจอร์ไรส์ ห้ามแจกถุงนมแก่เด็กเพื่อนำกลับไปบริโภค
                  
ที่บ้านโดยไม่มีการแช่น้ำแข็ง
		 -	 ไม่ควรให้เด็กนำน้ำแข็งจากถังแช่นมออกมาบริโภค
	        4.	 กรณีแจกนมไม่หมด ควรนำนมที่เหลือไปจัดเก็บให้เหมาะสม
		 -	 ถ้ า เป็ น นมพาสเจอร์ ไ รส์ ต้ อ งนำถุ ง นมไปแช่ ใ นถั ง ที่ มี น้ ำ แข็ ง ปกคลุ ม

                                                                                        
ในปริมาณที่เพียงพอ หรือเก็บในตู้เย็น แต่ไม่ควรเก็บในช่องแช่แข็ง เพราะจะทำให้
           
นมแยกชั้น ควรเก็บบริเวณที่อุณหภูมิต่ำกว่า 8 องศาเซลเซียส ไม่ควรเก็บในช่องเก็บผัก
เพราะมีอุณหภูมิสูงเกินไป
		 -	 ไม่ ค วรนำอาหารอื่ น ไปแช่ ร่ ว มกั บ ถุ ง นมในถั ง แช่ น ม หรื อ ในตู้ เ ย็ น
   

ที่ใช้แช่นม เพราะการเปิดปิดบ่อยจะทำให้ควบคุมอุณหภูมิยาก
            มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
    10      ฉบับโรงเรียน
คำแนะนำในการเก็บรักษานมพาสเจอร์ไรส์ในถังแช่นม

          การเก็บรักษานมที่โรงเรียนบริโภคภายในวันที่รับนม 

          (บริโภคภายใน 9 ชั่วโมง)
                ภาชนะถังแช่นมพลาสติกที่มีฝาปิดและเก็บความเย็นได้ดี

                                     จำนวนถุงนมไม่เกิน 100 ถุง
                             	         การบรรจุน้ำแข็ง น้ำแข็งเกล็ดหรือบดอย่างน้อย
  น้ำแข็ง 4 กก.
             1/4 กระสอบ (8 กิโลกรัม) โดยไม่มีการนำน้ำแข็ง
              

                             ออกจากถัง ควรเรียงน้ำแข็ง 2 ชั้น โดยเรียงน้ำแข็ง
          
       นม
                   ไว้ด้านล่างถัง 1 ชั้น และด้านบนถัง 1 ชั้น ใช้น้ำแข็ง
                             อย่างน้อยชั้นละ 1/8 กระสอบ (4 กิโลกรัม) สามารถเก็บนม
  น้ำแข็ง 4 กก.
             ให้มีอุณหภูมิไม่เกิน 8 องศาเซลเซียส ได้นาน 9 ชั่วโมง
                             ซึ่งในการเปลี่ยนชนิดน้ำแข็งที่ปูด้านล่างถังจากน้ำแข็งเกล็ด
หรือบดเป็นน้ำแข็งก้อนก็ให้ผลเช่นเดียวกัน แต่ชั้นบนควรเป็นน้ำแข็งเกล็ดหรือบดเท่านั้น
                ภาชนะถังแช่นมพลาสติกที่มีฝาปิดและเก็บความเย็นได้ดี 

                               จำนวนถุงนมไม่เกิน 100-250 ถุง
	         การบรรจุ น้ ำ แข็ ง น้ ำ แข็ ง เกล็ ด หรื อ บดอย่ า งน้ อ ย 
    
1/2 กระสอบ (16 กิ โ ลกรั ม ) โดยไม่ มี ก ารนำน้ ำ แข็ ง
                  
  น้ำแข็ง 8 กก.
ออกจากถั ง ควรเรี ย งน้ำ แข็ง 2 ชั้ น โดยเรี ย งน้ำ แข็ง ไว้
             
ด้านล่างถัง 1 ชั้น และด้านบนถัง 1 ชั้น ใช้น้ำแข็งอย่างน้อย                        นม
ชั้ น ละ 1/4 กระสอบ (8 กิ โ ลกรั ม ) สามารถเก็ บ นม
                      
ให้มีอุณหภูมิไม่เกิน 8 องศาเซลเซียส ได้นาน 9 ชั่วโมง 
                                                                             น้ำแข็ง 8 กก.
	                                                                         
          ซึ่ ง ในการเปลี่ ย นชนิ ด น้ ำ แข็ ง ที่ ปู ด้ า นล่ า งถั ง จาก

น้ำแข็งเกล็ดหรือบดเป็นน้ำแข็งก้อนก็ให้ผลเช่นเดียวกัน แต่ชั้นบนควรเป็นน้ำแข็งเกล็ด
          
หรือบดเท่านั้น
                                                 มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
                                                                ฉบับโรงเรียน          11
ภาชนะกระติกน้ำแข็ง จำนวนถุงนมไม่เกิน 40 ถุง
                             	         การบรรจุ น้ ำ แข็ ง น้ ำ แข็ ง เกล็ ด หรื อ บดอย่ า งน้ อ ย 
        
      น้ำแข็ง 2 กก.
                             1/8 กระสอบ (4 กิโลกรัม) โดยไม่มีการนำน้ำแข็งออกจากถัง
                             ควรเรี ย งน้ ำ แข็ ง 2 ชั้ น โดยเรี ย งน้ ำ แข็ ง ไว้ ด้ า นล่ า งถั ง 1 ชั้ น 

                                                                                                            
           นม
               และด้านบนถัง 1 ชั้น ใช้น้ำแข็งอย่างน้อยชั้นละ 2 กิโลกรัม 
                     
                             จะสามารถเก็ บ นมให้ มี อุ ณ หภู มิ ไ ม่ เ กิ น 8 องศาเซลเซี ย ส 
              
      น้ำแข็ง 2 กก.
         ได้นาน 9 ชั่วโมง 

             การเก็บรักษานมไว้บริโภคในวันรุ่งขึ้น 

             (บริโภคภายใน 33 ชั่วโมง)

                   ภาชนะถังแช่นมพลาสติกที่มีฝาปิดและเก็บความเย็นได้ดี 

                                       จำนวนถุงนมไม่เกิน 500 ถุง
	           การบรรจุ น้ ำ แข็ ง น้ ำ แข็ ง เกล็ ด หรื อ บด
          
อย่ า งน้ อ ย 1 กระสอบ (30 กิ โ ลกรั ม ) โดยไม่ ม
                   ี

การนำน้ ำ แข็ ง ออกจากถัง ควรเรียงน้ำแข็ง 3 ชั้น
                     
      น้ำแข็ง 10 กก.
โดยเรียงน้ำแข็งไว้ ด้านล่างถัง 1 ชั้น กลางถัง 1 ชั้น                                นม
และ ด้ า นบนถั ง 1 ชั้ น ใช้ น้ ำ แข็ ง อย่ า งน้ อ ยชั้ น ละ 
 น้ำแข็ง 10 กก.
                                                                        
1/3 กระสอบ (10 กิโลกรัม) จะสามารถเก็บนม
                             
              นม
                                                                        
ให้ มี อุ ณ หภู มิ ไ ม่ เ กิ น 8 องศาเซลเซี ย ส ได้ น าน 
 น้ำแข็ง 10 กก.
33 ชั่วโมง
	                                                                                                          
            ซึ่ ง ในการเปลี่ ย นชนิ ด น้ ำ แข็ ง ที่ ปู ด้ า นล่ า งถั ง จากน้ ำ แข็ ง เกล็ ด หรื อ บดเป็ น

น้ำแข็งก้อนก็ให้ผลเช่นเดียวกัน แต่ชั้นบนควรเป็นน้ำแข็งเกล็ดหรือบดเท่านั้น



             มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
   12        ฉบับโรงเรียน
ข้อแนะนำ
	            1.	 หากใช้น้ำแข็งบด ควรระวังเรื่องความคม
ของก้อนน้ำแข็ง ซึ่งจะทำให้ถุงนมรั่วได้
	            2.	 ในการบรรจุน้ำแข็งแต่ละชั้น ต้องมีการ
                                                              
เกลี่ ย น้ ำ แข็ ง ให้ ก ระจายทั่ ว ถึ ง อย่ า งสม่ ำ เสมอ และ

ทุกครั้งที่มีการนำนมออกจากภาชนะบรรจุต้องมีการ
เกลี่ยน้ำแข็งให้กระจายปิดทั่วถุงนม
	            3.	 การเปิด-ปิดฝาถัง ควรทำอย่างรวดเร็ว
ควรเปิด-ปิดฝาถังเท่าที่จำเป็น และไม่ควรเปิดทิ้งไว้
นาน
	            4.	 การประมาณความหนาของชั้นน้ำแข็ง
ทำได้โดยการชั่งน้ำหนักน้ำแข็งตามที่แนะนำไว้ หรือ
ประมาณจากความหนาของชั้ น น้ ำ แข็ ง หลั ง จาก
                
เกลี่ยน้ำแข็งให้กระจายอย่างสม่ำเสมอแล้ว ควรมีความหนาไม่ต่ำกว่า 1 นิ้ว ดังรูป




                                            มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
                                                           ฉบับโรงเรียน         13
วิธีการวัดอุณหภูมิ
	        1.	 นำเทอร์ โ มมิ เ ตอร์ ช นิ ด ที่ ใ ช้ วั ด อุ ณ หภู มิ น ม หรื อ ที่ ใ ช้ ใ นห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร

                                                                                                             
ทางวิ ท ยาศาสตร์ มี ส เกลตั้ ง แต่ 0-100 องศาเซลเซี ย ส มาตรวจสอบว่ า สามารถ
                                
ใช้งานได้หรือไม่ โดยนำไปจุ่มในน้ำแข็ง อุณหภูมิที่อ่านได้ควรเป็น 0 องศาเซลเซียส
หรือจุ่มในน้ำเดือด ควรอ่านอุณหภูมิได้ 100 องศาเซลเซียส
    ก. เทอร์โมมิเตอร์ก้านโลหะ




                                                       ข. เทอร์โมมิเตอร์ (แก้ว) ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ


	        2.	 นำถุงนมออกจากถังแช่นม (สุ่มหยิบ
ถุงนมที่อยู่ห่างจากน้ำแข็งมากที่สุด) จับถุงนมด้านบน 
ใช้กรรไกรตัดปากถุงนม
  
	        3.	 จับถุงนมด้านบน จุ่มเทอร์โมมิเตอร์ลงไป
 
ให้ปลายอยู่ประมาณกลางถุงนม รอจนเข็มบอกสเกล 
       
หรือปรอท/สีหยุดนิ่ง แล้วจึงอ่านอุณหภูมิ




              มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
   14         ฉบับโรงเรียน
4.	 บันทึกอุณหภูมินมลงในแบบฟอร์มการรับ-ส่งนม



                                               หมายเหตุ	 ภายหลังการวัดอุณหภูมินม ควร
                                                                                            
                                               ล้างและเช็ดเทอร์โมมิเตอร์ให้สะอาดทุกครั้ง และ

                                               ไม่นำนมที่ผ่านการวัดอุณหภูมิมาให้เด็กนักเรียน
                                               บริโภคต่อ

	               ผลเสี ย จากการดู แ ลคุ ณ ภาพนมที่ ไ ม่ เ หมาะสม คื อ การจั ด วางน้ ำ แข็ ง หรื อ
             
ควบคุมความเย็นไม่เพียงพอ จะทำให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษที่เกิดจากการบริโภคนม
                                     
ที่ เ สื่ อ มคุ ณ ภาพ มี ก ารปนเปื้ อ นของเชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย์ ก่ อ โรค มั ก เป็ น โรคที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
                                                                                                              

ระบบทางเดินอาหาร ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง และท้องร่วง 


             เด็กนักเรียนที่มีอาการของอาหารเป็นพิษ
                         จะดูแลอย่างไร
	        การดูแลเด็กที่มีอาการของอาหารเป็นพิษ ควรให้กินยาแก้อาเจียนและดื่มน้ำเกลือแร่
เพื่อชดเชยน้ำและเกลือแร่ที่เสียไป ระหว่างนั้น ควรสังเกตว่าเด็กมีอาการขาดน้ำหรือไม่
อาการของการขาดน้ำ ได้แก่ ปากแห้ง กระบอกตาลึก กระหม่อมบุ๋ม (เด็กเล็ก) ชีพจร
เต้นเร็วและปัสสาวะน้อยลง ถ้าเด็กไม่มีอาการขาดน้ำ อาจดูแลที่บ้านเองได้ แต่ถ้าเด็ก
     
มีอาการแสดงของการขาดน้ำ ควรรีบพาเด็กไปพบแพทย์ ถ้าอาการเริ่มดีขึ้นเรื่อย ๆ 
             
ควรให้เด็กดื่มน้ำเกลือแร่ต่อไป และพยายามให้เด็กดื่มนม ทีละน้อย ๆ แต่บ่อย ๆ เพื่อไม่ให้

                                                                                      
อาเจียน ควรให้กินอาหารอ่อน ๆ เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม จะดีกว่าอาหารแข็ง ๆ ที่ย่อยยาก



                                                          มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
                                                                             ฉบับโรงเรียน              15
เมื่อพบข้อสงสัยโรงเรียนควร
	         1.	 ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เช่น สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
หรือจังหวัด โรงพยาบาล เพื่อสอบสวนโรคและช่วยเหลือทางการแพทย์
	         2.	 เก็ บ ตั ว อย่ า งอาหารที่ ส งสั ย ว่ า เป็ น สาเหตุ ข องโรคเพื่ อ ส่ ง ตรวจวิ เ คราะห์
                                                                                                     

ทางห้องปฏิบัติการ เช่น อาหารและนมที่นักเรียนบริโภคภายในระยะเวลา 72 ชั่วโมง 
                          
ก่อนที่จะมีอาการป่วย
	         3.	 ถ้าอาหารเป็นของแข็ง ให้เก็บตัวอย่าง 200-400 กรัม ถ้าอาหารเป็น
ของเหลว ให้เก็บตัวอย่าง 200-1,000 มิลลิลิตร ใส่ถุงพลาสติก แล้วมัดปากถุงให้แน่น
กรณีที่เป็นอาหารที่ใส่ถุงพลาสติกไว้อยู่แล้ว ก็ให้เก็บตัวอย่างทั้งถุงเลย
	         4.	 ตัวอย่างที่เน่าเสียง่าย เช่น นมสดพาสเจอร์ไรส์ ให้เก็บตัวอย่างนั้นไว้ในตู้เย็น
แต่อย่าเก็บไว้ในห้องแช่แข็ง เพราะจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุอาจตายไปในระหว่างการแช่แข็ง
ทำให้ไม่สามารถตรวจได้
	         5.	 มอบตัวอย่างให้กับเจ้าหน้าที่ที่มาทำการสืบสวนทางระบาด เพื่อส่งตรวจ
วิเคราะห์ต่อไป




             มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
   16        ฉบับโรงเรียน
อุปกรณ์-เครื่องมือควบคุมการเก็บรักษานมพาสเจอร์ไรส์
	     1.	 ถังแช่นมและกุญแจสำหรับล็อกถัง
	     2.	 เทอร์โมมิเตอร์ก้านโลหะหรือเทอร์โมมิเตอร์ (แก้ว) ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ
	     3.	 ไม้บรรทัดใช้ในการวัดความหนาของชั้นน้ำแข็ง ซึ่งจะต้องวัดน้ำแข็งที่คลุมถุงนม

                                                                                    
ตามขนาดที่กำหนด
	     4.	 แบบฟอร์มการรับนมที่สายส่งและโรงเรียนจะต้องเซ็นรับร่วมกัน




อุปกรณ์-เครื่องมือควบคุมการเก็บรักษานม ยู เอช ที
	 1.	 ชั้นวางนมสูงจากพื้นอย่างน้อย 10 เซนติเมตร
	 2.	 แบบฟอร์มการรับนมที่สายส่งและโรงเรียน
		 จะต้องเซ็นรับร่วมกัน




                                            มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
                                                           ฉบับโรงเรียน        17
ข้อมูลที่ได้มีประโยชน์อย่างไร
	               ทุ ก ภาคส่ ว นในกระบวนการนมโรงเรี ย น จะต้ อ ง
ระมัดระวัง ทำตามขั้นตอนทุกครั้ง เพื่อป้องกันการเสียของนม
ดั ง นั้ น ทางโรงเรี ย นควรมี ก ารประเมิ น ผลการตรวจสอบ
คุ ณ ภาพนมในแต่ ล ะภาคเรี ย น เพื่ อ จั ด ทำข้ อ มู ล ส่ ง ต่ อ
                       

                                                                                        
ให้ แ ก่ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ภาคส่ ว น ได้ แ ก่ ผู้ ที่ มี ห น้ า ที่ จั ด ซื้ อ นม 

คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลคุณภาพ
ผลิตภัณฑ์นม คือ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหรือจังหวัด
ผู้ ผ ลิ ต และจั ด ส่ ง นม คื อ โรงงานแปรรู ป และสายส่ ง นม 
                           
ผู้รับผิดชอบสุขภาพของเด็กนักเรียน คือ สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา
เคล็ดลับการดูแลคุณภาพนม
	           นมจะมีคุณภาพและปลอดภัยต่อการบริโภคต้อง…




             ร่วมมือร่วมใจกันทุกฝ่าย




               มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
    18         ฉบับโรงเรียน
ภาคผนวก ก
                                                                                                     แบบบันทึกการรับ-จ่ายนมพาสเจอร์ไรส์
                                                           โรงเรียน.......................................................................สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.................................เขต...........

                                           							 กษณะทางกายภาพของนม	 	
                                                              ลั              สภาพถังรับนม		
                                           														 จำนวน				อก
 ลายเซ็นต์ผู้ตรวจสอบ
              การจัด	 การล็
                                                                                                         	
                                           		นที่										
                                               วั
                                           														 ถุงนม
                                    			เรียงนม	 ถังนม
                                           
                                           							 ไม่ปกติ*	
 มิ		 สกปรก		 แตก	 ไม่แตก	 ที่รับ	 ถูก	 ไม่
                                           											 อุณหภู
                                           						
่ว/			กลิ่น/	 เนื้อ		 สะอาด					 (ถุง)			 มี	 ไม่มี	 โรงเรียน	 สายส่ง	
                                           				 หมด	 ปกติ	ถุงรั สี				 (0C)		 มีคราบ		 ชำรุด	 ชำรุด		 ต้อง	 ถูกต้อง
                                           	รับนม					
                                           				 อายุ		 พอง			 รส	 นม




          มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
ฉบับโรงเรียน
                                           หมายเหตุ 	 *สี - ผิดปกติ ให้ระบุสีที่เห็น
                                           	           เนื้อนม – มียางเหนียวที่ผิวหน้า มีตะกอน จับเป็นก้อน มีการแยกชั้น
                                           	           กลิ่น/รส - กลิ่นแปลก ๆ เช่น เหม็นหืน กลิ่นไหม้ กลิ่นเปรี้ยว หรือกลิ่นผลไม้รสผิดปกติ เช่น ขม เปรี้ยว




     19
                                           	          กรณีโรงเรียนขนาดเล็ก ที่รับนมเป็นจำนวนน้อย ควรประสานกับผู้ประกอบการหรือสายส่ง เพื่อขอสนับสนุนตัวอย่างนมสำหรับตรวจสอบ
20
                                                        แบบบันทึกการรับ-เก็บรักษา-แจกจ่าย นมยูเอชที ที่ โรงเรียน ชื่อโรงเรียน....................................... 
                                           	                                                    การรับนมจากสายส่ง	                                                  การเก็บรักษาที่โรงเรียน	                                                                การแจกจ่าย
                                           		                    จำนวนนม	 วันที่......../......./.......
                                                          	การจัดเรียงกล่องนม (✓/✘)	                                                วันที่แจกจ่าย	       เวลา	                        จำนวนที่จ่าย
                                           	 ชื่อสายส่ง
                                           		                         ที่รับ	       เวลาเริ่ม.....................	 วันที่หมดอายุ........./........../...........
 	 พื้น จัดเรี
                                                                                                                                                                   		ที่		ยง
 มีชั้น
                                           	..................	
                                           .                             
                                                                                         		 ไม่เกิน
 ยกพื้น	 
                                           		                   ..................	 เวลาเสร็จ...................
                                                  	สะอาด		 ้น
              
                                                                                                                                                                   		 10 ชั




ฉบับโรงเรียน
                                               สภาพรถขนส่ง (✓/✘)
 	                                            การตรวจสอบก่อนจ่าย (✓/✘)
                                                                                       	                        การตรวจสอบก่อนจ่าย (✓/✘)
                                                                             	    สภาพกล่องนม	                                             สภาพน้ำนม* (✓/✘)
                                                                   	          สภาพกล่องนม	                                  สภาพน้ำนม*
                                           		
                                           		                    มีหลัง
คา/
                                           	 สะอาด
                                                                                       สี	 กลิ่น 	 รส	 เนื้อนม
                                                             	          ปกติ
                                           		                     ผ้าใบคุม
 			                                                                                                                                                		 หักย่น/
                                                                                                                                                                                                                               	 (ไม่บวม/ไม่                                สี	 กลิ่น 	 รส	 เนื้อนม
                                                                             	 ปกติ	    ไม่ปกติ
                                                                                                                                                                           ปกติ	 ปกติ	 ปกติ	 ปกติ
                                                                             			                                                         ปกติ	 ปกติ	 ปกติ	 ปกติ
                                                               		 รั่วซึม)
                                                                                                                                                                                                                               	 ไม่เปื่อยยุ่ย/ไม่




          มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
                                                                                                 			 เปื่อยยุ่ย
                                                                                                 	 บวม	 หักย่น	 
                                                                                                 			 รั่วซึม
                                               สรุปผลการตรวจสอบ		                                                                                                                         ลงชื่อผู้จัดเก็บ	                        สรุปผลการตรวจสอบ
                                               ❑	 รับ 	 ❑	 ไม่รับ	 ลงชื่อผู้ตรวจสอบ.................................	                                                                     ................................	        ❑ 	แจกจ่ายได้ 	                   ❑ 	แจกจ่ายไม่ได้
                                               บันทึกเพิ่มเติม.............................................................................................................................................................	       ลงชื่อ ..............................ผู้จ่ายนม
                                               สรุปผล: จำนวนวันเก็บรักษา...........วัน จำนวนนมที่เหลือ ......กล่อง จัดการโดย................………………………………...... 	                                                                   ลงชื่อผู้ทดสอบ..................................... วันที่......................... 
                                               

                                           หมายเหตุ: * เกณฑ์การตรวจสภาพน้ำนม ประกอบด้วย
                                           	 - สี  	 ต้องเป็นสีขาวนวล ไม่มีสีผิดปกติ หากพบสีผิดปกติ ให้ระบุลงในช่องบันทึกเพิ่มเติม
                                                                                                         อย่าลืม!! หากตรวจรับนมทุกครั้ง แล้วพบความผิดปกติ:
                                           	 - กลิ่น	 ไม่มีกลิ่นผิดปกติ เช่น กลิ่นเหม็นเปรี้ยว เหม็นหืน หากพบกลิ่นผิดปกติ ให้ระบุลงในช่องบันทึกเพิ่มเติม
                                                                                ต้องปฎิเสธการรับนมทุกครั้ง แจ้งต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                                           	 - รส	 ไม่มีรสผิดปกติ เช่น รสเปรี้ยว ขม เป็นต้น หากพบรสผิดปกติ ให้ระบุลงในช่องบันทึกเพิ่มเติม
                                                                                                  ผู้ผลิตและสายส่ง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหรือจังหวัด
                                           	 - เนื้อนม	 เป็นเนื้อเดียวกัน ไม่มีตะกอน/ก้อนลิ่ม หากพบลักษณะผิดปกติ ให้ระบุลงในช่องบันทึกเพิ่มเติม
                                                                                                        และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เอกสารอ้างอิง
	           1.	 เวณิ ก า เบ็ ญ จพงษ์ เรณู ทวิ ช าติ วิ ท ยากุ ล คุ ณั ญ ญา สงบวาจา 
     
นฤมล ปิ่นประภัย วีรยา การพานิช ปิยนุช วิเศษชาติ อังคารศิริ ดีอ่วม และจันจิรา
ศิ โ รรั ต นาวาทย์ . 2549. คู่ มื อ การสร้ า งความเข้ า ใจการขนส่ ง และการเก็ บ รั ก ษา.
สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ ศูนย์ศึกษาระบบความปลอดภัย
อาหารและโภชนาการ สถาบันคลังสมองของชาติ.
	           2.	 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. 2552. “คลายข้อสงสัยเรื่อง
นอ..มอ..นม”. กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา.




                                              มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
                                                             ฉบับโรงเรียน         21
คณะผู้เรียบเรียงเนื้อหาวิชาการ	      			
	        ผศ.ดร.เวณิกา เบ็ญจพงษ์	     ม.มหิดล	 
	        ผศ.เรณู ทวิชาติวิทยากุล	    ม.มหิดล	 
	        นางสาวนริศรา ม่วงศรีจันทร์	 ม.มหิดล	 
	        นางสาวคุณัญญา สงบวาจา	 ผู้ทรงคุณวุฒิ	  
คณะผู้จัดทำ	 			
	 นายนิรัตน์ เตียสุวรรณ	              ผู้อำนวยการกองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค
			                                   สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข	 
	 นางบุญศรี เลาหภักดี	                เภสัชกรเชี่ยวชาญ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร	    
	 นายวิชัย ไชสง	                      ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดงหลบ สพท.นครราชสีมา 7
	 นายวิเชษฐ์ ไชยบุญมา	                ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านศาลาอูมา สพท.นราธิวาส 2
	 นายบรรยง ณธรรม	                     ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปากเลข สพท.ชุมพร 2
	 นายชอบ บุญเหลือ	                    ผู้อำนวยการโรงเรียนแหลมพันวา สพท.ภูเก็ต
	 นายอดิศร บุญปาน	                    ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกล้อทอ สพท.ตาก 2
	 นายวิทวัส พัดไธสงค์	                ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกกค้อกกโพธิ์ สพท.หนองบัวลำภู
	 นายเชวง ชัยรัตน์	                   ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลบางมูลนาก สพท.พิจิตร 2
	 นายนิกร พุ่มพวง	                    ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสว้า	 สพท.น่าน 2
	 นายสมชาย อินคล้า	                   ครูชำนาญการ โรงเรียนวัดตาก้อง สพท.นครปฐม 1
	 นายปิยนาถ ชาวน่าน	                  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพะเยา 1
			                                   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
	 นายวิชัย ชัยรินทร์	                 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย 3
			                                   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน			
	 นางปทุมรัตน์ เหรียญไพศาล	           สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน	
			                                   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	               
	 นายศิริทัต จันทน์คราญ	              สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน	
			                                   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	               
	 นางรัชนี สินสืบผล	                  สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน	
			                                   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	               
	 นางชื่นใจ กระแสสินธุ์	              สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน	
			                                   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	               
ภาพลายเส้น			
	        นายโอภาส นุชนิยม		                    


           มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ
    22     ฉบับโรงเรียน

More Related Content

What's hot

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาวิทวัส รัตนวิรุฬห์
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมmedfai
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารกNickson Butsriwong
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ น้องฟลุ๊ค
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  น้องฟลุ๊คคัมภีร์ฉันทศาสตร์  น้องฟลุ๊ค
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ น้องฟลุ๊คMooFlook Indy
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 

What's hot (20)

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ น้องฟลุ๊ค
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  น้องฟลุ๊คคัมภีร์ฉันทศาสตร์  น้องฟลุ๊ค
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ น้องฟลุ๊ค
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
แบบฟอร์มด้านที่ 3
แบบฟอร์มด้านที่ 3แบบฟอร์มด้านที่ 3
แบบฟอร์มด้านที่ 3
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 

Viewers also liked

ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยchooyart
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Pond23
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารThira Woratanarat
 
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มHappy Zaza
 
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์สมรรถภาพทางกายเกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์สมรรถภาพทางกายkkkkon
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 

Viewers also liked (12)

ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
 
Milk Product
Milk ProductMilk Product
Milk Product
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Milk Product
Milk ProductMilk Product
Milk Product
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
 
5.p 96 p-119
5.p 96 p-1195.p 96 p-119
5.p 96 p-119
 
งานวิจัย นม
งานวิจัย นมงานวิจัย นม
งานวิจัย นม
 
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์สมรรถภาพทางกายเกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Ppt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือด
Ppt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือดPpt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือด
Ppt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 

Similar to Milk

Power point อาหารเสริมสุขภาพ
Power point อาหารเสริมสุขภาพPower point อาหารเสริมสุขภาพ
Power point อาหารเสริมสุขภาพPloy Natchalida
 
อาหารเสริมสุขภาพ
 อาหารเสริมสุขภาพ อาหารเสริมสุขภาพ
อาหารเสริมสุขภาพPloy Natchalida
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยchooyart
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยchooyart
 
นมฟลูออไรด์
นมฟลูออไรด์นมฟลูออไรด์
นมฟลูออไรด์Ballista Pg
 
อาหารเด็ก
อาหารเด็กอาหารเด็ก
อาหารเด็กkasamaporn
 
อาหารเด็ก
อาหารเด็กอาหารเด็ก
อาหารเด็กkasamaporn
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยluckana9
 
ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร และเครื่องดื่มสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเด็ก
ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร และเครื่องดื่มสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเด็ก ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร และเครื่องดื่มสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเด็ก
ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร และเครื่องดื่มสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเด็ก csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
Gram positive bacterial
Gram   positive bacterialGram   positive bacterial
Gram positive bacterialPpm Ssw
 
5 สิ่งที่ไม่ควรนำไปเข้า ‘ไมโครเวฟ’
5 สิ่งที่ไม่ควรนำไปเข้า ‘ไมโครเวฟ’5 สิ่งที่ไม่ควรนำไปเข้า ‘ไมโครเวฟ’
5 สิ่งที่ไม่ควรนำไปเข้า ‘ไมโครเวฟ’Max Pakkaraphon
 
ชลธิชา 2
ชลธิชา 2ชลธิชา 2
ชลธิชา 2Noopea Fiting
 
Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)Paweena Phangs
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 

Similar to Milk (20)

Power point อาหารเสริมสุขภาพ
Power point อาหารเสริมสุขภาพPower point อาหารเสริมสุขภาพ
Power point อาหารเสริมสุขภาพ
 
อาหารเสริมสุขภาพ
 อาหารเสริมสุขภาพ อาหารเสริมสุขภาพ
อาหารเสริมสุขภาพ
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
 
นมฟลูออไรด์
นมฟลูออไรด์นมฟลูออไรด์
นมฟลูออไรด์
 
อาหารเด็ก
อาหารเด็กอาหารเด็ก
อาหารเด็ก
 
อาหารเด็ก
อาหารเด็กอาหารเด็ก
อาหารเด็ก
 
Organicmilk
OrganicmilkOrganicmilk
Organicmilk
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
หนังสือนมโรงเรียน2559 pwee-1
หนังสือนมโรงเรียน2559 pwee-1หนังสือนมโรงเรียน2559 pwee-1
หนังสือนมโรงเรียน2559 pwee-1
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร และเครื่องดื่มสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเด็ก
ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร และเครื่องดื่มสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเด็ก ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร และเครื่องดื่มสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเด็ก
ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร และเครื่องดื่มสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเด็ก
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
Gram positive bacterial
Gram   positive bacterialGram   positive bacterial
Gram positive bacterial
 
5 สิ่งที่ไม่ควรนำไปเข้า ‘ไมโครเวฟ’
5 สิ่งที่ไม่ควรนำไปเข้า ‘ไมโครเวฟ’5 สิ่งที่ไม่ควรนำไปเข้า ‘ไมโครเวฟ’
5 สิ่งที่ไม่ควรนำไปเข้า ‘ไมโครเวฟ’
 
ชลธิชา 2
ชลธิชา 2ชลธิชา 2
ชลธิชา 2
 
BDC412 HISO sec3013
BDC412 HISO sec3013BDC412 HISO sec3013
BDC412 HISO sec3013
 
Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 

Milk

  • 1. มารู้จักนมกันเถอะ นม เป็นแหล่งของสารอาหารตามธรรมชาติ ที่จำเป็นต่อการเสริมสร้าง พัฒนาการ ทารก เป็ น แหล่ ง ของสารอาหารที่ มี คุณค่าของเด็กและผู้ใหญ่ สารอาหารสำคัญ ที่ประกอบในนม 1. โปรตีน เป็นสารอาหารที่มีอยู่ในปริมาณสูง มีประโยชน์ในการสร้างเนื้อเยื่อ เลือด กระดูก และอื่น ๆ 2. แคลเซี ย ม เป็ น สารอาหารที่ จ ำเป็ น ต่ อ การเจริ ญ ของกระดู ก และฟั น ซึ่งมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและความสูงของเด็ก นมโรงเรียน มี 2 รูปแบบ ได้แก่ นมพาสเจอร์ไรส์ และนม ยู เอช ที ขนาดบรรจุ 200 มิลลิลิตร นมพาสเจอร์ไรส์ (นมถุง) นม ยู เอช ที (นมกล่อง) มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน
  • 2. นมพาสเจอร์ไรส์ คืออะไร นมพาสเจอร์ไรส์ (นิยมบรรจุถุง) คือ นมที่ผ่านการฆ่าเชื้อโดยใช้ความร้อน และเวลาที่เพียงพอต่อการทำลายเชื้อจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคเท่านั้น โดยฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 63-65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที หรืออุณหภูมิ 72-75 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15-20 วินาที การพาสเจอร์ไรส์ทำลายจุลินทรีย์ได้ 95-99% แต่จุลินทรีย์ ที่ทนต่อความร้อนได้ดี หรือประเภทสร้างสปอร์อาจรอดชีวิตอยู่ได้ ดังนั้นนมพาสเจอร์ไรส์ จึงต้องเก็บที่อุณหภูมิไม่เกิน 8 องศาเซลเซียส มีระยะเวลาการบริโภคนับจากวันที่ผลิต ไม่เกิน 10 วัน ข้อดีคือสารอาหารต่าง ๆ ถูกทำลายน้อยมาก เนื่องจากการผ่าน ความร้อนต่ำนั่นเอง การขนส่ ง และเก็ บ รั ก ษานมพาสเจอร์ ไ รส์ ควรมี ก ารควบคุ ม อุ ณ หภู มิ อ ย่ า ง เคร่งครัด เพราะความร้อนที่ใช้ในการผลิตไม่สามารถฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ได้หมด กฎหมาย จึ ง กำหนดว่ า “นมปรุ ง แต่ ง ชนิ ด เหลวที่ ผ่ า นกรรมวิ ธี พ าสเจอร์ ไ รส์ ต้ อ งเก็ บ รั ก ษา ไว้ ที่ อุ ณ หภู มิ ไ ม่ เ กิ น 8 องศาเซลเซี ย สตลอดระยะเวลาหลั ง บรรจุ จ นถึ ง ผู้ บ ริ โ ภค” เพื่อป้องกันการเพิ่มจำนวนจุลินทรีย์ที่หลงเหลือจากการผลิต จนอาจก่ออาการอาหาร เป็นพิษ เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน เป็นต้น นม ยู เอช ที คืออะไร นม ยู เอช ที (นิยมบรรจุกล่อง) เป็นนมที่ผ่านการทำลายเชื้อจุลินทรีย์ ด้วยความร้อน 133-150 องศาเซลเซียส นาน 2-4 วินาที จนทำลายเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค รวมทั้งสปอร์ของเชื้อจุลินทรีย์ได้ ทำให้สามารถเก็บนม ยู เอช ที ไว้ได้นาน แม้จะเก็บไว้ ภายนอกตู้เย็น แต่สถานที่เก็บต้องไม่ร้อน เมื่อเก็บไว้นานเกินไปจนนมหมดอายุ นมจะ หนืดเป็นวุ้น กลิ่นรสจะเปลี่ยน รวมทั้งไขมันในนมจะแยกชั้นจากน้ำนม มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน
  • 3. กว่าจะมาเป็น...นมโรงเรียน น้ำนมดิบจากฟาร์ม ตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้นที่โรงงาน เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส กำจัดสิ่งปนเปื้อน เข้าเครื่องปรับปริมาณไขมัน เข้าเครื่องโฮโมไนส์เพื่อทำให้ ไขมันนมกระจายเป็นเนื้อเดียวกันกับนม นมพาสเจอร์ไรส์ นม ยู เอช ที ฆ่าเชื้ออุณหภูมิ ฆ่าเชื้ออุณหภูมิ 63-65 องศาเซลเซียส 30 นาที 133-150 องศาเซลเซียส เวลา 2-4 วินาที หรืออุณหภูมิ 72-75 องศาเซลเซียส 15-20 วินาที ทำให้เย็นลงเหลือ 5 องศาเซลเซียส ทำให้เย็นลง หรือต่ำกว่า บรรจุขวดหรือกล่อง บรรจุกล่องในสภาวะปราศจากเชื้อ เก็บรักษาที่ 8 องศาเซลเซียส เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง หรือต่ำกว่า มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน
  • 4. วันนี้โรงเรียนจะดูแลจัดการอย่างไร กับนมของเด็ก ๆ แม้ว่านมจะมีขั้นตอนการผลิตมากมาย และโรงเรียนจะอยู่ตรงจุดปลายทาง ของนมโรงเรียน แต่มีความสำคัญสูงสุด จำเป็นที่คุณครูทุกคนต้องดูแลอย่างเข้มแข็ง เพื่อคงคุณภาพและความปลอดภัยของนม ดังนั้นเราจะเริ่มกันด้วยขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 โรงเรียนกำหนดผู้ดูแลตรวจนับนมที่มีคุณภาพ การตรวจนับ-รับนม โดยใช้ใบตรวจรับนม : นับจำนวน-ดูสภาพของถุงนม (นมพาสเจอร์ไรส์) หรือกล่องนม (นม ยู เอช ที) ภาคผู้ประกอบการ-โรงงาน : ผลิตนมดี ภาคโรงเรียน (ครู และ อปท.) โรงเรียน : เก็บถูกต้อง ภาคผู้ขนส่ง-สายส่ง : ขนถูกหลัก มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน
  • 5. ขั้นที่ 2 ตรวจสอบคุณภาพนมหลังนับจำนวน นม ยู เอช ที สุ่มเลือกดูสภาพกล่อง เนื่องจากขณะขนส่งจะมี แรงกดทั บ หรื อ ถู ก กระแทกทำให้ ก ล่ อ งมี รู รั่ ว ขาด โดยเฉพาะบริ เ วณมุ ม กล่ อ ง ทำให้อากาศและเชื้อจุลินทรีย์จากอากาศภายนอกเข้าไปภายในกล่องบรรจุ นมจะเสียได้ เมื่อตรวจดูสภาพเบื้องต้นเรียบร้อยดีแล้ว จึงนำไปจัดเก็บในสถานที่ ๆ เตรียมไว้ มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน
  • 6. การเก็บรักษาคุณภาพนม ยู เอช ที หลังตรวจนับ 1. ตรวจลักษณะภายนอกของกล่องนม 2. ตรวจสอบฉลากบนกล่องนม หรืรอยหัก ย่น ดูสภาพกล่องนมว่ามี ดูข้อมูล เลขทะเบียน และวันหมดอายุ อ.ย. นสายส่ บวม ซึม อไม่ ถ้าหมดอายุก่อนเวลาบริโภคไม่ควรรับนม ถ้ามีให้ส่งคื ง 3. ตรวจลักษณะทางกายภาพของนม 4. การขนย้ายนมจากสายส่ง เทนมใส่แก้ว เพื่อสังเกตลักษณะ - ห้ามโยนกล่องหรือลังนม ทางกายภาพและบันทึกลงแบบฟอร์ม - ห้ามยืน/นั่งบนกล่องหรือลังนม สี สีผิดปกติ ➜ ไม่ให้เด็กดื่ม 5 . การจัดเก็บลังนม ยู เอช ที (200 มล.) ลักษณะผิดปกติ ➜ ไม่ให้เด็กดื่ม - เก็บนมในที่ร่ม ไม่โดนแสงแดด ไม่อยู่ใกล้ เนื้อนม มียางเหนียวที่ผิวหน้า แหล่งให้ความร้อน เช่น ครัว มีตะกอน/มีการแยกชั้น - ไม่วางลังนมติดพื้น ควรสูงจากพื้น อย่างน้อย 10 เซนติเมตร เพื่อป้องกัน กลิ่น/รส กลิ่นรสผิดปกติ ➜ ไม่ให้เด็กดื่ม ความชื้น แมลง หรือหนูกัดแทะ กลิ่นแปลก ๆ เช่น เหม็นหืน กลิ่นไหม้ - ควรวางกล่องให้ชิดกัน อย่าให้มีช่องว่าง กลิ่นเปรี้ยว หรือกลิ่นผลไม้รสผิดปกติ เพื่อให้รับน้ำหนักเท่ากัน เช่น ขม เปรี้ยว - ไม่วางลังนมในสถานที่อับชื้นหรือ ในถังน้ำแข็ง เพราะจะทำให้กล่องเปื่อย 6. การดูแลสถานที่เก็บนมให้สะอาดและแห้ง - ถ้านมบรรจุในลังกระดาษ ห้ามวางซ้อนกัน เกิน 7 ชั้น มีการดูแลทำความสะอาด เพื่อป้องกันหนู มด - ถ้าหุ้มกล่องนมด้วยพลาสติก และแมลงต่าง ๆ /ไม่ปล่อยให้ชื้นแฉะ ห้ามวางกล่องนมซ้อนกันเกิน 5 ชั้น - เมื่อจัดเรียงกล่องนมเรียบร้อย 7. การนำนมมาบริโภค ห้ามวางสิ่งของวางทับบนกล่องนม การแกะเอากล่องนมออกจากลังกระดาษไม่ควรใช้ ของมีคมเช่นมีดหรือคัดเตอร์กรีด เพราะอาจไป ถูกกล่องนมทำให้เกิดรอยรั่วได้ มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน
  • 7. นมพาสเจอร์ไรส์ ตรวจเช็กตามแบบฟอร์ม การรับ-จ่ายนม โดยลงวันที่รับ วันหมดอายุของนม ดูจากขอบตะเข็บตรงถุงนม (ดังภาพ) จะปรากฏ วัน เดือน ปี เป็นลักษณะรอยตอก จากนั้นสุ่มเลือกถุงนมที่ไม่อยู่ติดน้ำแข็งนำออกมา ตัดแล้ววัดอุณหภูมินม (ตามวิธีการในข้อแนะนำ) 20 02 51 วันที่ เดือน ปี มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน
  • 8. การเก็บรักษาคุณภาพนมพาสเจอร์ไรส์ หลังตรวจนับ 1. ตรวจสภาพนมพาสเจอร์ไรส์ า 200งนมรัลิต ปริมาตรนมน้อยกว่ มิลลิ ร พอง ไม่รั่ว ถุงนมปกติ ไม่ ถุงนมพองผิดปกติ ถุ ่ว งไม่รกดื่ม ผู้ตรวจรับต้อ ับนม บันทึกวันรับนมลงในแบบฟอร์ม และไม่นำไปให้เด็ ถ้าไม่แสดงวันหมดอายุ หรือไม่สามารถระบุวันหมดอายุได้ ดูวันหมดอายุ ควรปฏิเสธการรับนมและ ที่รอยตอกบนตะเข็บถุงนม แจ้งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สุ่มเลือกถุงนมที่ไม่ติดกับน้ำแข็งออกมา 1 ถุง ใช้ ตัดปากถุง วัดอุณหภูมินมตามวิธีที่แนะนำ เทนมใส่แก้ว เพื่อสังเกตลักษณะ และบันทึกอุณหภูมินมลงในแบบฟอร์ม ทางกายภาพและบันทึกลงแบบฟอร์ม สี สีผิดปกติ ➜ ไม่ให้เด็กดื่ม อุณหภูมิสูงกว่า อุณหภูมิไม่เกิน 8 องศาเซลเซียส 8 องศาเซลเซียส ลักษณะผิดปกติ ➜ ไม่ให้เด็กดื่ม ไม่รับนมทั้งหมด นำนมไปตรวจลักษณะ เนื้อนม มียางเหนียวที่ผิวหน้า ทางกายภาพ มีตะกอน/มีการแยกชั้น กลิ่น/รส กลิ่นรสผิดปกติ ➜ ไม่ให้เด็กดื่ม ให้สายส่งเซ็นชื่อ ถ้าลักษณะทางกายภาพ กลิ่นแปลก ๆ เช่น เหม็นหืน กลิ่นไหม้ รับนมคืน ผิดปกติไม่ควรรับนม กลิ่นเปรี้ยว หรือกลิ่นผลไม้รสผิดปกติ เช่น ขม เปรี้ยว มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน
  • 9. การเก็บรักษาคุณภาพนมพาสเจอร์ไรส์ หลังตรวจนับ 2. ตรวจสภาพถังเก็บนม ถังต้องสะอาด ถังต้องมีสภาพสมบูรณ์ ไม่ชำรุดหรือแตกหัก ต้องมีการล้างถังก่อนบรรจุ ถ้าถังชำรุดให้แจ้งสายส่ง ถุงนมลงถังทุกครั้ง เพื่อ+ทำการเปลี่ยนถัง สถานที่วางถังนมต้องสะอาด แสงแดดส่องไม่ถึง 3. ตรวจความถูกต้องในการบรรจุนมลงถัง มีการจัดเรียงน้ำแข็งตามข้อแนะนำ ในสัดส่วนที่เหมาะสมกับ จำนวนถุงนมที่โรงเรียนรับ - ถ้ามีการเรียงน้ำแข็งไม่เหมาะสมแจ้งสายส่งให้เพิ่มน้ำแข็ง 4. ห้ามเปิดฝาถังจนกว่าจะถึงเวลาบริโภค 5. ยืนยันความถูกต้องในการตรวจรับนม ควรมีการล็อกถังนมหลังจาก ผู้ตรวจรับและสายส่งนมลงชื่อ ขั้นตอนการตรวจรับนมเสร็จสิ้น ในแบบฟอร์มเพื่อแสดงความเข้าใจ ทุกครั้ง ซึ่งกันและกัน ข้อแนะนำ - ไม่นำอาหารสด เช่น เนื้อสด ผักสด ใส่ร่วมกับถุงนมในถังแช่ - ห้ามนำน้ำแข็งออกจากถังนม ไม่ควรนำน้ำแข็งไปบริโภค เพราะอาจมีเชื้อ ปนเปื้อนอยู่ มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน
  • 10. ถึง...เวลาดื่มนมของเด็ก...เด็กแล้ว การแจกนมให้ เ ด็ ก ในโรงเรี ย นเป็ น สิ่ ง สำคั ญ มาก เพื่ อ เด็ ก จะได้ ดื่ ม นมที่ ค ง คุณภาพดี จากการเก็บรักษาของคุณครู เริ่มด้วย 1. กำหนดผู้รับผิดชอบการรับ-จ่ายนม เพื่อดูแลการจัดเก็บนม ยู เอช ที และ นมพาสเจอร์ไรส์ให้เหมาะสม - นม ยู เอช ที ต้องเก็บในที่สะอาดและแห้ง ห้ามแช่ในน้ำแข็งหรือน้ำเย็น - นมพาสเจอร์ ไ รส์ ต้ อ งเรี ย งนมและน้ ำ แข็ ง ให้ เ ป็ น ไปตามข้ อ แนะนำ การเก็บรักษานมที่โรงเรียน เพื่อควบคุมอุณหภูมิให้ต่ำกว่า 8 องศาเซลเซียส เมื่อนำถุง นมออกจากถังต้องเกลี่ยน้ำแข็งให้คลุมถุงนมด้านบนอย่างทั่วถึง 2. กำหนดเวลาการจ่ า ยนมให้ เ ด็ ก ดื่ ม นมเป็ น ช่ ว งเวลาเดี ย วกั น ทั้ ง โรงเรี ย น ตามเวลาที่โรงเรียนพิจารณาว่าเหมาะสม 3. ดูแลให้เด็กดื่มนมทันทีหลังจากแจกนม ดังนี้ - ผู้แจกนมต้องสังเกตวันหมดอายุก่อนแจกนมให้เด็กบริโภคหรือรับกลับบ้าน - ต้ อ งตั ด ถุ ง นมพร้ อ มแจกหลอดดู ด ดู แ ลไม่ ใ ห้ เ ด็ ก ใช้ ป ากกั ด ถุ ง นม หรือใช้ปากดูดน้ำนมจากถุงนมโดยตรง - ถ้าเป็นนมพาสเจอร์ไรส์ ห้ามแจกถุงนมแก่เด็กเพื่อนำกลับไปบริโภค ที่บ้านโดยไม่มีการแช่น้ำแข็ง - ไม่ควรให้เด็กนำน้ำแข็งจากถังแช่นมออกมาบริโภค 4. กรณีแจกนมไม่หมด ควรนำนมที่เหลือไปจัดเก็บให้เหมาะสม - ถ้ า เป็ น นมพาสเจอร์ ไ รส์ ต้ อ งนำถุ ง นมไปแช่ ใ นถั ง ที่ มี น้ ำ แข็ ง ปกคลุ ม ในปริมาณที่เพียงพอ หรือเก็บในตู้เย็น แต่ไม่ควรเก็บในช่องแช่แข็ง เพราะจะทำให้ นมแยกชั้น ควรเก็บบริเวณที่อุณหภูมิต่ำกว่า 8 องศาเซลเซียส ไม่ควรเก็บในช่องเก็บผัก เพราะมีอุณหภูมิสูงเกินไป - ไม่ ค วรนำอาหารอื่ น ไปแช่ ร่ ว มกั บ ถุ ง นมในถั ง แช่ น ม หรื อ ในตู้ เ ย็ น ที่ใช้แช่นม เพราะการเปิดปิดบ่อยจะทำให้ควบคุมอุณหภูมิยาก มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ 10 ฉบับโรงเรียน
  • 11. คำแนะนำในการเก็บรักษานมพาสเจอร์ไรส์ในถังแช่นม การเก็บรักษานมที่โรงเรียนบริโภคภายในวันที่รับนม (บริโภคภายใน 9 ชั่วโมง) ภาชนะถังแช่นมพลาสติกที่มีฝาปิดและเก็บความเย็นได้ดี จำนวนถุงนมไม่เกิน 100 ถุง การบรรจุน้ำแข็ง น้ำแข็งเกล็ดหรือบดอย่างน้อย น้ำแข็ง 4 กก. 1/4 กระสอบ (8 กิโลกรัม) โดยไม่มีการนำน้ำแข็ง ออกจากถัง ควรเรียงน้ำแข็ง 2 ชั้น โดยเรียงน้ำแข็ง นม ไว้ด้านล่างถัง 1 ชั้น และด้านบนถัง 1 ชั้น ใช้น้ำแข็ง อย่างน้อยชั้นละ 1/8 กระสอบ (4 กิโลกรัม) สามารถเก็บนม น้ำแข็ง 4 กก. ให้มีอุณหภูมิไม่เกิน 8 องศาเซลเซียส ได้นาน 9 ชั่วโมง ซึ่งในการเปลี่ยนชนิดน้ำแข็งที่ปูด้านล่างถังจากน้ำแข็งเกล็ด หรือบดเป็นน้ำแข็งก้อนก็ให้ผลเช่นเดียวกัน แต่ชั้นบนควรเป็นน้ำแข็งเกล็ดหรือบดเท่านั้น ภาชนะถังแช่นมพลาสติกที่มีฝาปิดและเก็บความเย็นได้ดี จำนวนถุงนมไม่เกิน 100-250 ถุง การบรรจุ น้ ำ แข็ ง น้ ำ แข็ ง เกล็ ด หรื อ บดอย่ า งน้ อ ย 1/2 กระสอบ (16 กิ โ ลกรั ม ) โดยไม่ มี ก ารนำน้ ำ แข็ ง น้ำแข็ง 8 กก. ออกจากถั ง ควรเรี ย งน้ำ แข็ง 2 ชั้ น โดยเรี ย งน้ำ แข็ง ไว้ ด้านล่างถัง 1 ชั้น และด้านบนถัง 1 ชั้น ใช้น้ำแข็งอย่างน้อย นม ชั้ น ละ 1/4 กระสอบ (8 กิ โ ลกรั ม ) สามารถเก็ บ นม ให้มีอุณหภูมิไม่เกิน 8 องศาเซลเซียส ได้นาน 9 ชั่วโมง น้ำแข็ง 8 กก. ซึ่ ง ในการเปลี่ ย นชนิ ด น้ ำ แข็ ง ที่ ปู ด้ า นล่ า งถั ง จาก น้ำแข็งเกล็ดหรือบดเป็นน้ำแข็งก้อนก็ให้ผลเช่นเดียวกัน แต่ชั้นบนควรเป็นน้ำแข็งเกล็ด หรือบดเท่านั้น มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน 11
  • 12. ภาชนะกระติกน้ำแข็ง จำนวนถุงนมไม่เกิน 40 ถุง การบรรจุ น้ ำ แข็ ง น้ ำ แข็ ง เกล็ ด หรื อ บดอย่ า งน้ อ ย น้ำแข็ง 2 กก. 1/8 กระสอบ (4 กิโลกรัม) โดยไม่มีการนำน้ำแข็งออกจากถัง ควรเรี ย งน้ ำ แข็ ง 2 ชั้ น โดยเรี ย งน้ ำ แข็ ง ไว้ ด้ า นล่ า งถั ง 1 ชั้ น นม และด้านบนถัง 1 ชั้น ใช้น้ำแข็งอย่างน้อยชั้นละ 2 กิโลกรัม จะสามารถเก็ บ นมให้ มี อุ ณ หภู มิ ไ ม่ เ กิ น 8 องศาเซลเซี ย ส น้ำแข็ง 2 กก. ได้นาน 9 ชั่วโมง การเก็บรักษานมไว้บริโภคในวันรุ่งขึ้น (บริโภคภายใน 33 ชั่วโมง) ภาชนะถังแช่นมพลาสติกที่มีฝาปิดและเก็บความเย็นได้ดี จำนวนถุงนมไม่เกิน 500 ถุง การบรรจุ น้ ำ แข็ ง น้ ำ แข็ ง เกล็ ด หรื อ บด อย่ า งน้ อ ย 1 กระสอบ (30 กิ โ ลกรั ม ) โดยไม่ ม ี การนำน้ ำ แข็ ง ออกจากถัง ควรเรียงน้ำแข็ง 3 ชั้น น้ำแข็ง 10 กก. โดยเรียงน้ำแข็งไว้ ด้านล่างถัง 1 ชั้น กลางถัง 1 ชั้น นม และ ด้ า นบนถั ง 1 ชั้ น ใช้ น้ ำ แข็ ง อย่ า งน้ อ ยชั้ น ละ น้ำแข็ง 10 กก. 1/3 กระสอบ (10 กิโลกรัม) จะสามารถเก็บนม นม ให้ มี อุ ณ หภู มิ ไ ม่ เ กิ น 8 องศาเซลเซี ย ส ได้ น าน น้ำแข็ง 10 กก. 33 ชั่วโมง ซึ่ ง ในการเปลี่ ย นชนิ ด น้ ำ แข็ ง ที่ ปู ด้ า นล่ า งถั ง จากน้ ำ แข็ ง เกล็ ด หรื อ บดเป็ น น้ำแข็งก้อนก็ให้ผลเช่นเดียวกัน แต่ชั้นบนควรเป็นน้ำแข็งเกล็ดหรือบดเท่านั้น มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ 12 ฉบับโรงเรียน
  • 13. ข้อแนะนำ 1. หากใช้น้ำแข็งบด ควรระวังเรื่องความคม ของก้อนน้ำแข็ง ซึ่งจะทำให้ถุงนมรั่วได้ 2. ในการบรรจุน้ำแข็งแต่ละชั้น ต้องมีการ เกลี่ ย น้ ำ แข็ ง ให้ ก ระจายทั่ ว ถึ ง อย่ า งสม่ ำ เสมอ และ ทุกครั้งที่มีการนำนมออกจากภาชนะบรรจุต้องมีการ เกลี่ยน้ำแข็งให้กระจายปิดทั่วถุงนม 3. การเปิด-ปิดฝาถัง ควรทำอย่างรวดเร็ว ควรเปิด-ปิดฝาถังเท่าที่จำเป็น และไม่ควรเปิดทิ้งไว้ นาน 4. การประมาณความหนาของชั้นน้ำแข็ง ทำได้โดยการชั่งน้ำหนักน้ำแข็งตามที่แนะนำไว้ หรือ ประมาณจากความหนาของชั้ น น้ ำ แข็ ง หลั ง จาก เกลี่ยน้ำแข็งให้กระจายอย่างสม่ำเสมอแล้ว ควรมีความหนาไม่ต่ำกว่า 1 นิ้ว ดังรูป มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน 13
  • 14. วิธีการวัดอุณหภูมิ 1. นำเทอร์ โ มมิ เ ตอร์ ช นิ ด ที่ ใ ช้ วั ด อุ ณ หภู มิ น ม หรื อ ที่ ใ ช้ ใ นห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร ทางวิ ท ยาศาสตร์ มี ส เกลตั้ ง แต่ 0-100 องศาเซลเซี ย ส มาตรวจสอบว่ า สามารถ ใช้งานได้หรือไม่ โดยนำไปจุ่มในน้ำแข็ง อุณหภูมิที่อ่านได้ควรเป็น 0 องศาเซลเซียส หรือจุ่มในน้ำเดือด ควรอ่านอุณหภูมิได้ 100 องศาเซลเซียส ก. เทอร์โมมิเตอร์ก้านโลหะ ข. เทอร์โมมิเตอร์ (แก้ว) ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ 2. นำถุงนมออกจากถังแช่นม (สุ่มหยิบ ถุงนมที่อยู่ห่างจากน้ำแข็งมากที่สุด) จับถุงนมด้านบน ใช้กรรไกรตัดปากถุงนม 3. จับถุงนมด้านบน จุ่มเทอร์โมมิเตอร์ลงไป ให้ปลายอยู่ประมาณกลางถุงนม รอจนเข็มบอกสเกล หรือปรอท/สีหยุดนิ่ง แล้วจึงอ่านอุณหภูมิ มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ 14 ฉบับโรงเรียน
  • 15. 4. บันทึกอุณหภูมินมลงในแบบฟอร์มการรับ-ส่งนม หมายเหตุ ภายหลังการวัดอุณหภูมินม ควร ล้างและเช็ดเทอร์โมมิเตอร์ให้สะอาดทุกครั้ง และ ไม่นำนมที่ผ่านการวัดอุณหภูมิมาให้เด็กนักเรียน บริโภคต่อ ผลเสี ย จากการดู แ ลคุ ณ ภาพนมที่ ไ ม่ เ หมาะสม คื อ การจั ด วางน้ ำ แข็ ง หรื อ ควบคุมความเย็นไม่เพียงพอ จะทำให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษที่เกิดจากการบริโภคนม ที่ เ สื่ อ มคุ ณ ภาพ มี ก ารปนเปื้ อ นของเชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย์ ก่ อ โรค มั ก เป็ น โรคที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ระบบทางเดินอาหาร ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง และท้องร่วง เด็กนักเรียนที่มีอาการของอาหารเป็นพิษ จะดูแลอย่างไร การดูแลเด็กที่มีอาการของอาหารเป็นพิษ ควรให้กินยาแก้อาเจียนและดื่มน้ำเกลือแร่ เพื่อชดเชยน้ำและเกลือแร่ที่เสียไป ระหว่างนั้น ควรสังเกตว่าเด็กมีอาการขาดน้ำหรือไม่ อาการของการขาดน้ำ ได้แก่ ปากแห้ง กระบอกตาลึก กระหม่อมบุ๋ม (เด็กเล็ก) ชีพจร เต้นเร็วและปัสสาวะน้อยลง ถ้าเด็กไม่มีอาการขาดน้ำ อาจดูแลที่บ้านเองได้ แต่ถ้าเด็ก มีอาการแสดงของการขาดน้ำ ควรรีบพาเด็กไปพบแพทย์ ถ้าอาการเริ่มดีขึ้นเรื่อย ๆ ควรให้เด็กดื่มน้ำเกลือแร่ต่อไป และพยายามให้เด็กดื่มนม ทีละน้อย ๆ แต่บ่อย ๆ เพื่อไม่ให้ อาเจียน ควรให้กินอาหารอ่อน ๆ เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม จะดีกว่าอาหารแข็ง ๆ ที่ย่อยยาก มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน 15
  • 16. เมื่อพบข้อสงสัยโรงเรียนควร 1. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เช่น สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ หรือจังหวัด โรงพยาบาล เพื่อสอบสวนโรคและช่วยเหลือทางการแพทย์ 2. เก็ บ ตั ว อย่ า งอาหารที่ ส งสั ย ว่ า เป็ น สาเหตุ ข องโรคเพื่ อ ส่ ง ตรวจวิ เ คราะห์ ทางห้องปฏิบัติการ เช่น อาหารและนมที่นักเรียนบริโภคภายในระยะเวลา 72 ชั่วโมง ก่อนที่จะมีอาการป่วย 3. ถ้าอาหารเป็นของแข็ง ให้เก็บตัวอย่าง 200-400 กรัม ถ้าอาหารเป็น ของเหลว ให้เก็บตัวอย่าง 200-1,000 มิลลิลิตร ใส่ถุงพลาสติก แล้วมัดปากถุงให้แน่น กรณีที่เป็นอาหารที่ใส่ถุงพลาสติกไว้อยู่แล้ว ก็ให้เก็บตัวอย่างทั้งถุงเลย 4. ตัวอย่างที่เน่าเสียง่าย เช่น นมสดพาสเจอร์ไรส์ ให้เก็บตัวอย่างนั้นไว้ในตู้เย็น แต่อย่าเก็บไว้ในห้องแช่แข็ง เพราะจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุอาจตายไปในระหว่างการแช่แข็ง ทำให้ไม่สามารถตรวจได้ 5. มอบตัวอย่างให้กับเจ้าหน้าที่ที่มาทำการสืบสวนทางระบาด เพื่อส่งตรวจ วิเคราะห์ต่อไป มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ 16 ฉบับโรงเรียน
  • 17. อุปกรณ์-เครื่องมือควบคุมการเก็บรักษานมพาสเจอร์ไรส์ 1. ถังแช่นมและกุญแจสำหรับล็อกถัง 2. เทอร์โมมิเตอร์ก้านโลหะหรือเทอร์โมมิเตอร์ (แก้ว) ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ 3. ไม้บรรทัดใช้ในการวัดความหนาของชั้นน้ำแข็ง ซึ่งจะต้องวัดน้ำแข็งที่คลุมถุงนม ตามขนาดที่กำหนด 4. แบบฟอร์มการรับนมที่สายส่งและโรงเรียนจะต้องเซ็นรับร่วมกัน อุปกรณ์-เครื่องมือควบคุมการเก็บรักษานม ยู เอช ที 1. ชั้นวางนมสูงจากพื้นอย่างน้อย 10 เซนติเมตร 2. แบบฟอร์มการรับนมที่สายส่งและโรงเรียน จะต้องเซ็นรับร่วมกัน มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน 17
  • 18. ข้อมูลที่ได้มีประโยชน์อย่างไร ทุ ก ภาคส่ ว นในกระบวนการนมโรงเรี ย น จะต้ อ ง ระมัดระวัง ทำตามขั้นตอนทุกครั้ง เพื่อป้องกันการเสียของนม ดั ง นั้ น ทางโรงเรี ย นควรมี ก ารประเมิ น ผลการตรวจสอบ คุ ณ ภาพนมในแต่ ล ะภาคเรี ย น เพื่ อ จั ด ทำข้ อ มู ล ส่ ง ต่ อ ให้ แ ก่ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ภาคส่ ว น ได้ แ ก่ ผู้ ที่ มี ห น้ า ที่ จั ด ซื้ อ นม คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลคุณภาพ ผลิตภัณฑ์นม คือ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหรือจังหวัด ผู้ ผ ลิ ต และจั ด ส่ ง นม คื อ โรงงานแปรรู ป และสายส่ ง นม ผู้รับผิดชอบสุขภาพของเด็กนักเรียน คือ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา เคล็ดลับการดูแลคุณภาพนม นมจะมีคุณภาพและปลอดภัยต่อการบริโภคต้อง… ร่วมมือร่วมใจกันทุกฝ่าย มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ 18 ฉบับโรงเรียน
  • 19. ภาคผนวก ก แบบบันทึกการรับ-จ่ายนมพาสเจอร์ไรส์ โรงเรียน.......................................................................สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.................................เขต........... กษณะทางกายภาพของนม ลั สภาพถังรับนม จำนวน อก ลายเซ็นต์ผู้ตรวจสอบ การจัด การล็ นที่ วั ถุงนม เรียงนม ถังนม ไม่ปกติ* มิ สกปรก แตก ไม่แตก ที่รับ ถูก ไม่ อุณหภู ่ว/ กลิ่น/ เนื้อ สะอาด (ถุง) มี ไม่มี โรงเรียน สายส่ง หมด ปกติ ถุงรั สี (0C) มีคราบ ชำรุด ชำรุด ต้อง ถูกต้อง รับนม อายุ พอง รส นม มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน หมายเหตุ *สี - ผิดปกติ ให้ระบุสีที่เห็น เนื้อนม – มียางเหนียวที่ผิวหน้า มีตะกอน จับเป็นก้อน มีการแยกชั้น กลิ่น/รส - กลิ่นแปลก ๆ เช่น เหม็นหืน กลิ่นไหม้ กลิ่นเปรี้ยว หรือกลิ่นผลไม้รสผิดปกติ เช่น ขม เปรี้ยว 19 กรณีโรงเรียนขนาดเล็ก ที่รับนมเป็นจำนวนน้อย ควรประสานกับผู้ประกอบการหรือสายส่ง เพื่อขอสนับสนุนตัวอย่างนมสำหรับตรวจสอบ
  • 20. 20 แบบบันทึกการรับ-เก็บรักษา-แจกจ่าย นมยูเอชที ที่ โรงเรียน ชื่อโรงเรียน....................................... การรับนมจากสายส่ง การเก็บรักษาที่โรงเรียน การแจกจ่าย จำนวนนม วันที่......../......./....... การจัดเรียงกล่องนม (✓/✘) วันที่แจกจ่าย เวลา จำนวนที่จ่าย ชื่อสายส่ง ที่รับ เวลาเริ่ม..................... วันที่หมดอายุ........./........../........... พื้น จัดเรี ที่ ยง มีชั้น .................. . ไม่เกิน ยกพื้น .................. เวลาเสร็จ................... สะอาด ้น 10 ชั ฉบับโรงเรียน สภาพรถขนส่ง (✓/✘) การตรวจสอบก่อนจ่าย (✓/✘) การตรวจสอบก่อนจ่าย (✓/✘) สภาพกล่องนม สภาพน้ำนม* (✓/✘) สภาพกล่องนม สภาพน้ำนม* มีหลัง คา/ สะอาด สี กลิ่น รส เนื้อนม ปกติ ผ้าใบคุม หักย่น/ (ไม่บวม/ไม่ สี กลิ่น รส เนื้อนม ปกติ ไม่ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ รั่วซึม) ไม่เปื่อยยุ่ย/ไม่ มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ เปื่อยยุ่ย บวม หักย่น รั่วซึม สรุปผลการตรวจสอบ ลงชื่อผู้จัดเก็บ สรุปผลการตรวจสอบ ❑ รับ ❑ ไม่รับ ลงชื่อผู้ตรวจสอบ................................. ................................ ❑ แจกจ่ายได้ ❑ แจกจ่ายไม่ได้ บันทึกเพิ่มเติม............................................................................................................................................................. ลงชื่อ ..............................ผู้จ่ายนม สรุปผล: จำนวนวันเก็บรักษา...........วัน จำนวนนมที่เหลือ ......กล่อง จัดการโดย................………………………………...... ลงชื่อผู้ทดสอบ..................................... วันที่......................... หมายเหตุ: * เกณฑ์การตรวจสภาพน้ำนม ประกอบด้วย - สี ต้องเป็นสีขาวนวล ไม่มีสีผิดปกติ หากพบสีผิดปกติ ให้ระบุลงในช่องบันทึกเพิ่มเติม อย่าลืม!! หากตรวจรับนมทุกครั้ง แล้วพบความผิดปกติ: - กลิ่น ไม่มีกลิ่นผิดปกติ เช่น กลิ่นเหม็นเปรี้ยว เหม็นหืน หากพบกลิ่นผิดปกติ ให้ระบุลงในช่องบันทึกเพิ่มเติม ต้องปฎิเสธการรับนมทุกครั้ง แจ้งต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - รส ไม่มีรสผิดปกติ เช่น รสเปรี้ยว ขม เป็นต้น หากพบรสผิดปกติ ให้ระบุลงในช่องบันทึกเพิ่มเติม ผู้ผลิตและสายส่ง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหรือจังหวัด - เนื้อนม เป็นเนื้อเดียวกัน ไม่มีตะกอน/ก้อนลิ่ม หากพบลักษณะผิดปกติ ให้ระบุลงในช่องบันทึกเพิ่มเติม และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
  • 21. เอกสารอ้างอิง 1. เวณิ ก า เบ็ ญ จพงษ์ เรณู ทวิ ช าติ วิ ท ยากุ ล คุ ณั ญ ญา สงบวาจา นฤมล ปิ่นประภัย วีรยา การพานิช ปิยนุช วิเศษชาติ อังคารศิริ ดีอ่วม และจันจิรา ศิ โ รรั ต นาวาทย์ . 2549. คู่ มื อ การสร้ า งความเข้ า ใจการขนส่ ง และการเก็ บ รั ก ษา. สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ ศูนย์ศึกษาระบบความปลอดภัย อาหารและโภชนาการ สถาบันคลังสมองของชาติ. 2. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. 2552. “คลายข้อสงสัยเรื่อง นอ..มอ..นม”. กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ ฉบับโรงเรียน 21
  • 22. คณะผู้เรียบเรียงเนื้อหาวิชาการ ผศ.ดร.เวณิกา เบ็ญจพงษ์ ม.มหิดล ผศ.เรณู ทวิชาติวิทยากุล ม.มหิดล นางสาวนริศรา ม่วงศรีจันทร์ ม.มหิดล นางสาวคุณัญญา สงบวาจา ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะผู้จัดทำ นายนิรัตน์ เตียสุวรรณ ผู้อำนวยการกองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข นางบุญศรี เลาหภักดี เภสัชกรเชี่ยวชาญ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร นายวิชัย ไชสง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดงหลบ สพท.นครราชสีมา 7 นายวิเชษฐ์ ไชยบุญมา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านศาลาอูมา สพท.นราธิวาส 2 นายบรรยง ณธรรม ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปากเลข สพท.ชุมพร 2 นายชอบ บุญเหลือ ผู้อำนวยการโรงเรียนแหลมพันวา สพท.ภูเก็ต นายอดิศร บุญปาน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกล้อทอ สพท.ตาก 2 นายวิทวัส พัดไธสงค์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกกค้อกกโพธิ์ สพท.หนองบัวลำภู นายเชวง ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลบางมูลนาก สพท.พิจิตร 2 นายนิกร พุ่มพวง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสว้า สพท.น่าน 2 นายสมชาย อินคล้า ครูชำนาญการ โรงเรียนวัดตาก้อง สพท.นครปฐม 1 นายปิยนาถ ชาวน่าน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพะเยา 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นายวิชัย ชัยรินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นางปทุมรัตน์ เหรียญไพศาล สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นายศิริทัต จันทน์คราญ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นางรัชนี สินสืบผล สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นางชื่นใจ กระแสสินธุ์ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาพลายเส้น นายโอภาส นุชนิยม มารักษาคุณภาพนมโรงเรียนกันเถอะ 22 ฉบับโรงเรียน