SlideShare a Scribd company logo
1 of 82
ระบบ หมุนเวียน
เลือด
CIRCULATORY
SYSTEM
ระบบ การหมุนเวียน
เลือด
• เป็นเส้นทางลำาเลียงก๊าซ O2 จาก
อวัยวะหายใจ เช่นปอด เหงือก และ
สารอาหาร จากระบบทางเดินอาหาร
ไปสู่ เซลล์ แล้ว ลำาเลียง ก๊าซ CO2
ไปกำาจัดที่ปอดและระบบขับถ่าย ตาม
ลำาดับ
• นอกจากนั้นระบบการไหลเวียนเลือด
ยังมีบทบาทในการควบคุมสมดุลของ
บทเรียน
บทนำา
ออก
ระบบหมุนเวียนโลหิต เป็นระบบที่นำาสาร
ต่าง ๆ ไปยังเซลล์ทั่วร่างกาย
เช่น สารอาหาร แก๊สต่าง ๆ เกลือแร่
ฮอร์โมน และรับของเสียส่งออกนอกร่างกาย
โดยลำาเลียงไปตามเส้นเลือด
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
หน้าที่
1. นำาอาหารและก๊าซ O2 ไปยังเซลล์
และ CO2 ไปปอด
2. ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
3. ควบคุมนำ้าและอิเล็กโทรไลต์
4. กำาจัดของเสีย
5. เป็นภูมิคุ้มกัน
บทเรียน ออก
Antigens: แอนติเจน ส่วนใหญ่เป็นสาร
โปรตีนที่เป็นตัวกระตุ้น หรือ เป็นสาเหตุให้
ร่างกายสร้างแอนติบอดีมาต่อต้านแอนติเจน
โดยอาจเป็นแบคทีเรียหรือไวรัส หรืออาจ
เป็นสารพิษที่ได้จากแบคทีเรียหรือไวรัสก็ได้
แอนติเจน
ปกติที่พบใน ร่างกายตั่งแต่เกิด คือ
แอนติเจนที่เป็นตัวบ่งชี้หมู่เลือดต่างๆ
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
dies: แอนติบอดี เป็นสารโปรตีนอยู่ในส่วนที่เป็นของเหล
ย สร้างจากเม็ดเลืืือดขาวชนิด ลิมโฟไซต์ เมื่อมีแอนติเจน
ยแอนติบอดี้ชนิดต่างๆ จะมาจับแอนติเจนอย่างเฉพาะเจาะจ
ไปซึ่งจะมีปฏิกิริยาแตกต่างกันจะปล่อยสารที่เป็นพิษต่อต้าน
จน โดยแอนติบอดีจะจับกับโมเลกุลของสารพิษ
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
การจำาแนกหมู่โลหิตในระบบ ABO
 ** จะมีสารชีวเคมี (Antigen) เป็นตัวจำาแนก
หมู่โลหิต คือ แอนติเจน A(Antigen-A) และ
แอนติเจน-บี (Antigen-B) เป็นตัวกำาหนดกล่าว
คือ**หมู่โลหิต A คือหมู่โลหิตที่มีแอนติเจน-เอ
(Antigen-A) อยู่ที่ผิวของเม็ดเลือดแดงและมี
แอนติบอดี-บี (Antibody-B) อยู่ในนำ้าเหลือง
**หมู่โลหิต B คือหมู่โลหิตที่มีแอนติเจน-บี
(Antigen-B) อยู่ที่ผิวของเม็ดเลือดแดงและมี
แอนติบอดี-เอ (Antibody-A) อยู่ในนำ้าเหลือง
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
การจำาแนกหมู่โลหิตในระบบ ABO
 หมู่โลหิต O คือหมู่โลหิตที่ ไม่มีแอนติเจน-เอ
(Antigen-A) และแอนติเจน-บี (Antigen-B) อยู่
ที่ผิวของเม็ดเลือดแดง แต่มีแอนติบอดี-
เอ(Antibody-A) และมีแอนติบอดี-บี
(Antibody-B)  อยู่ในนำ้าเหลืองหมู่โลหิต AB  คือหมู่โลหิตที่มีแอนติเจน-เอ
(Antigen-A) และแอนติเจน-บี (Antigen-B) อยู่
ที่ผิวของเม็ดเลือดแดง แต่ในนำ้าเหลือง ไม่มี
แอนติบอดี-เอ(Antibody-A) และแอนติบอดี-บี
(Antibody-B)
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
Hemoglobin (เฮโมโกลบิน) องค์ประกอบ
สำาคัญของเฮโมโกลบิน 1.คือ ฮีม (Heme) ซึ่งมีเหล็ก
เป็นส่วนประกอบ และทำาหน้าที่จับและปล่อยออกซิเจน
องค์ประกอบที่ ๒ คือ สายโกลบิน ซึ่งเป็นโปรตีนเส้น
ยาวขดพันกันอยู่ โดยแต่ละสาย มีฮีมติดอยู่ ๑ อณู
เฮโมโกลบิน ๑ โมเลกุล จึงประกอบด้วยฮีม ๔ อณู และ
สายโกลบิน ๔ สายHB ในเลือด 100 ml ในเพศชาย มี16 g %
HB ในเลือด 100 ml ในเพศหญิง มี 15 g %
HB 1 กรัม รับออกซิเจนได้ 1.34 mm
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
1. Oxyhemogkobin = HBO2
O2 ส่วนใหญ่จึงถูกพาไปโดยฮีโมโกลบิน ( Hb )
ในเม็ดเลือดแดง ( 97 % ) กลายเป็นออกซีฮีโมโกลบิน
( Oxyhemoglobin : HbO2 )
- เลือดแดงในปอดมีความดัน 100 mmHg
แพร่เข้าสู่เซลล์ที่มีความดัน 10-30 mmHg
โดยจับกับอะตอมของเหล็กที่อยู่ในฮีม ( Heme )
Hb 1 กรัม จับกับ O2 ได้ 1.34 มิลลิลิตร Hb 1
โมเลกุล ประกอบด้วยฮีม 4 โมเลกุล แต่ละโมเลกุล
ของฮีมมีเหล็ก 1 อะตอม ซั่งสามารถจับ O2 ได้ 1
โมเลกุล ดังนั้น Hb 1 โมเลกุลจึงจับ O2 ได้ 4
โมเลกุล เลือดที่มีออกซีฮีโมโกลบิน หรือเลือดดี
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
การรับออกซิเจนของฮีโมโกลบินที่ปอด และการ
คายออกซิเจนของออกซีฮีโมโกลบินในเนื้อเยื่อ แสดง
ได้ดังสมการ
 2. Deoxyhemoglobin or Reduced
hemoglobin = HBR
ฮีโมโกลบินที่ปลดปล่อยออกซิเจนออกไปแล้ว โดย
มากจะจับกับ carbon dioxide ซึ่งปลดปล่อยออกมา
จากเซลล์
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
3. Methemoglobin เป็น hemoglobin ที่ภายใน
โมเลกุล มีธาตุเหล็กที่มีประจุเป็น 3+ แทนที่จะเป็น 2+
ทำาให้ไม่สามารถจับกับออกซิเจนได้ ส่วนใหญ่มีสาเหตุ
มาจากการได้รับสารเคมีบางชนิด
3. Carboxyhemoglobin = HBCO มีความ
สามารถในการรับออกซิเจน มากกว่า HBO2
200-250 เท่า ฮีโมโกลบินที่จับ อยู่กับ carbon
monoxide (คาร์บอนมอนอกไซด์) ปกติมีอยู่น้อยมาก
หรือไม่มีเลย แต่จะมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นได้ในกรณีที่ได้
รับสารพิษ carbon monoxide ไม่สามารถรับ
ออกซิเจนได้อีกเลย หากสูดเอาคาร์บอนมอนอกไซด์
จากควันบุหรี่ หรือท่อไอเสียรถยนต์เข้าไปครั้งละมาก ๆ
จะไปลดการรับออกซิเจนของเม็ดเลือดแดง อันเป็น
อันตรายจนอาจทำาให้ถึงตายได้
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
การลำาเลียงคาร์บอนไดออกไซด์
( Carbondioxide transport )
คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นในเซลล์ของเนื้อเยื่อ จะ
แพร่จากเนื้อเยื่อเข้าหลอดเลือดฝอย การขนส่ง CO2
เมื่ออยู่ในหลอดเลือด อาจเกิดได้ 3 ลักษณะ คือ
1. ละลายในนำ้าเลือด ( 7% )
2. จับกับฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดง ( 23
4. Carbaminohemoglobin = HBCO2 =
hemoglobin จับกับ Carbondioxide
- CO2 ในเซลล์มีความดัน 50-80 mmHg แพร่
เข้าสู่กระแสเลือด มีความดัน
40 mmHg
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
 
CO2 + HbNH2 HbNHCOOH
( carbaminohemoglobin )
คาร์บอนไดออกไซด์เพียง 7 % เท่านั้น ที่ถูก
ขนส่งในรูปของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ละลายในนำ้า
เลือด ส่วนที่เหลือจะแพร่เข้าเม็ดเลือดแดง เมื่อเข้ามาอยู่
ในเม็ดเลือดแดง คาร์บอนไดออกไซด์ลางส่วน ( 23
% ) จะจับกับหมู่อะมิโนของฮีโมโกลบิน กลายเป็นคาร์
บามิโนฮีโมโกลบิน ( Carbamiinohemoglobib )
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
บทเรียน ออก
ส่วนประกอบและ
หน้าที่ของเลือด
ส่วนที่เป็น
ของเหลว 55 %
ส่วนที่เป็น
ของแข็ง 45 %
เรียกว่า พลาสมา
หรือนำ้าเลือด
ประกอบด้วย นำ้า 91
%
สารต่าง ๆ เอนไซม์
ฮอร์โมน แก๊ส ของ
เสีย ได้แก่ ยูเรีย
CO2
เม็ดเลือดแดง(Red
blood cell )
เม็ดเลือดขาว (White
blood cell )
เกล็ด
เลือด(Platelet)
ส่วนประกอบของเลือด
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
บทเรียน ออก
เป็นสารประกอบโปรตีน ลักษณะค่อนข้างกลม มีสีแดง
ตรงกลางเว้า เมื่อโตเต็มที่
ไม่มีนิวเคลียส มีสารสีแดง เรียกว่า ฮีโมโกลบิน มีธาตุ
เหล็กเป็นองค์ประกอบ มีอายุ 110 - 120 วัน สร้างที่
ไขกระดูก ทำาลายที่ ตับ ในเด็กสร้างที่ ตับ ม้าม
และไขกระดูก หน้าที่ ของเซลล์เม็ดเลือด
แดง
ลำาเลียง O2 เซลล์
ลำาเลียง CO2 ปอด
1 mm3
มีเซลล์เม็ดเลือดแดง
ประมาณ 5 ล้านเม็ด รูป เซลล์เม็ด
เลือดแดงที่มา
http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
บทเรียน ออก
ฮีโมโกลบิน + O2 ออกซี
ฮีโมโกลบิน
(Oxyhemoglobin)
เซลล์เม็ดเลือดแดง (Red
blood cell)
ลักษณะ กลม ไม่มีสี มี
นิวเคลียส ขนาดใหญ่กว่า
เม็ดเลือดแดงสร้างที่ ไขกระดูก
ม้าม และต่อมนำ้าเลือง
อายุ 7 - 14 วัน เม็ดเลือดขาวทำา
หน้าที่ ทำาลายเชื้อโรค
และสิ่งแปลกปลอม
1 mm3
มีเซลล์เม็ดเลือดขาวประมาณ
4,000- 10,000 เม็ด
ที่มา :
http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular
รูป เซลล์เม็ด
เลือดขาว
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
บทเรียน ออก
เซลล์เม็ดเลือดขาว (White
blood cell )
เพลตเลต หรือ เศษเม็ดเลือด เกล็ดเลือด
แผ่นเลือดไม่ใช่เซลล์
เป็นชิ้นส่วนของเซลล์ ไม่มีสี ไม่มีนิวเคลียสมีรูป
ร่างไม่แน่นอนขนาดเล็กกว่าเม็ดเลือดแดงเกือบ
4 เท่า มีอายุ 4 วัน ทำาหน้าที่ช่วยในการแข็งตัว
ของเลือด ในขณะที่เส้นเลือดฉีก
เพลตเลต
(Platelet)
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
บทเรียน ออก
กระบวนการแข็งตัวของ
เลือด (blood clotting)
กระบวนการแข็งตัวของ
เลือด (blood clotting)
โพทรอมบินในเลือด + แคลเซียม
ทรอมบิน
(วิตามิน K เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการสร้าง)
ไฟบริน ไฟ
บริโนเจน
(เส้นใยละเอียดสานปิดบาดแผล)
เอนไซม์ทรอมโบพลาสติน
เกล็ดเลือดสร้าง
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
บทเรียน ออก
ที่มาของภาพ : สสวท.
ชีววิทยาเล่ม 2 : 88
กระบวนการแข็ง
ตัวของเลือด
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
บทเรียน ออก
ที่มาของภาพ : สสวท.
ชีววิทยาเล่ม 2 : 88
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
บทเรียน ออก
หมู่โลหิตของพ่อ หมู่โลหิตของแม่
หมู่โลหิตของลูก
ที่เป็นไปได้
O O O
O A O หรือ A
O B O หรือ B
O AB A หรือ B
A A A หรือ O
A B
O หรือ A หรือ B
หรือ AB
A AB A หรือ B หรือ AB
B B B หรือ O
B AB A หรือ B หรือ AB
AB AB A หรือ B หรือ AB
การถ่ายทอดหมู่โลหิตระบบ ABO ของพ่อ
แม่ ลูก ที่เป็นไปได้
ที่มาของภาพ : สสวท.
ชีววิทยาเล่ม 2 : 88
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
บทเรียน ออก
สถิติหมู่โลหิตของคนไทย
O 38 %
B 34 %
A 21 %
AB 7 %
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
แบบสำารวจ การให้และการรับเลือด
ของเพื่อนนักเรียน
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
ชื่อ –
สกุล
หมู่เลือด แอนติเจ
น
สารต้าน ต้องรับ
เลือดจาก
1.
2.
3.
4.
5.
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
ระบบเลือด rh จะมีทั้ง rh+
  rh-
  Rh มาจาก
คำาว่า Rhesus เป็นชื่อลิงชนิดหนึ่งครับ เหตุ
ที่เจอเพราะมีการเอาเลือดคนฉีดเข้าไปใน
ลิงแล้วลิงก็สร้างภูมิคุ้มกัน คนไทยส่วน
ใหญ่ (เกือบร้อยละ 100) เป็น rh+
มีเพียง 1
ใน 500 ที่เป็น rh-
หมู่เลือด rh+ ก็คือเลือดที่เม็ดเลือดแดงมี
แอนติเจน (แอกกลูติโนเจน d) แต่ไม่มี
แอนติบอดี d ในนำ้าเลือด
หมู่เลือด rh- ก็คือเลือดที่เม็ดเลือดแดงไม่มี
แอนติเจน d และนำ้าเลือดก็ไม่มีแอนติเจน d 
แต่สามารถสร้างได้เมื่อได้รับแอนติเจน d
เข้าไป
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
Rh negative จะไม่สามารถรับเลือดจาก
พวก Rh positive  ได้ ต้องใช้เลือดแต่พวก
Rh negative ด้วยกันเท่านั้น (ในขณะที่ Rh
positive สามารถรับเลือดได้จากทั้งคู่)
ปัญหาที่สำาคัญอีกประการหนึ่งก็คือในสตรี
ตั้งครรภ์ที่เป็น Rh negative ไปแต่งงานกับ
สามีที่มี Rh positive และตั้งครรภ์ทารกที่มี
Rh positive
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
หากเกิดทารกในครรภ์มีเลือด Rh+
ซึ่งได้ยีนมาจากพ่อ เลือดทารกในครรภ์นั้น
จะกระตุ้นให้แม่สร้างแอนติบอดี Rh ขึ้นมา
ต่อต้าน Rh+
ทารกคนแรกอยู่ในครรภ์เพียง
9 เดือนแอนติบอดี Rh ของแม่ยังไม่มากพอที่
จะทำาลาย Rh+
ได้ ลูกคนแรกจึงคลอดออก
มาปกติ
แต่ถ้าลูกคนถัดมาเกิดมี Rh+
เป็นคนที่
สองอีก เลือดของแม่จะสร้างแอนติบอดี Rh
เพิ่มมากขึ้น และสามารถส่งเข้าไปยังรกสู่
ทารกในครรภ์ ทำาให้เม็ดเลือดแดงของทารก
จับกลุ่มตกตะกอน ทารกถึงตายได้ โรคนี้
เรียกว่า อิริโทรบลาสโทซิส ฟีทาลิส   
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
  ทั้งนี้ปกติการระบุหมู่เลือดจะรายงาน
ผลออกมา เป็น 2 ระบบคือ ABO และ Rh
พร้อมๆ กัน ได้แก่ A Rh+, A Rh-, B Rh+, B
Rh-, AB Rh+, AB Rh-, O Rh+, O Rh-
        “แต่จะไม่ระบุคำาว่า Rh” เช่น A Rh- ก็จะระบุ
ไปเลยว่า A- เป็นต้น อีกทั้งโดยพื้นฐานคนส่วน
คนที่มีหมู่เลือด Rh+ สามารถถ่ายเลือด
ให้กับคนหมู่ Rh+ ด้วยกันได้ แต่ไม่สามารถ
ถ่ายเลือดให้กับคนหมู่ Rh-
ส่วนคนที่มีหมู่เลือด Rh- สามารถถ่าย
เลือดให้กับทั้งคนหมู่ Rh+ และ Rh- ได้ หรือ
คนที่มีหมู่เลือด Rh+ สามารถรับเลือดได้จาก
ทั้งคนหมู่ Rh+ และ Rh - แต่คนที่มีหมู่เลือด
Rh- จะสามารถรับเลือดได้จากคนหมู่ Rh -
เท่านั้น
บทเรียน ออก
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)
การรับสารเข้าสู่
ร่างกายไปยังเซลล์
• สัตว์ในแต่ละชนิด มี
อวัยวะในการรับสาร
เข้าสู่ร่างกายและมี
อวัยวะขจัดสารที่ไม่
ต้องการออกจาก
ร่างกายแตกต่างกัน
ในสัตว์ขนาดเล็ก
ร่างกายมีโครงสร้าง
ไม่ซับซ้อนมีการแลก
การลำาเลียงสาร
ของไฮดรา• ไฮดราจะมี
การพานำ้าผ่าน
เข้าออกทางปาก
เข้าสู่ช่องแกส
โตรวาสคูลาร์
นำ้าจะมีทั้ง O2
และอาหาร
เข้าไป เกิดการ
แพร่เข้าสู่เซลล์
การรับสารเข้าสู่
ร่างกายไปยังเซลล์
• ในสัตว์ชั้นสูง
ร่างกายมีโครง
ร่างซับซ้อนมี
ระบบหมุนเวียน
ทำาหน้าที่ลำาเลียง
สารไปยังเซลล์
ต่าง ๆของ
ร่างกาย ระบบ
หมุนเวียนเลือดมี
2 ระบบคือ
ระบบไหลเวียนเลือดแบบเปิด
OPEN CIRCULARTERY SYSTEM
• หมายถึงการที่เลือดออกจาก
หัวใจ ไหลไปตามเส้นเลือด
จะไปเปิดที่ช่องฮีโมซิล
( Haemocel )หรือช่อง
ไซนัส( Sinus ) และ ผนัง กล้าม
เนื้อบีบตัวเลือดจึงไหลกลับ
เข้าสู่หัวใจ
•
การไหลเวียนเลือดของกุ้ง
หัวใจเทียม
ของกุ้ง
เวนทรัลไซนัส
เหงือ
ก
ไนนัสทาง
ด้านหน้า
ไซนัสทาง
ด้านหลัง
ระบบไหลเวียนเลือดแบบเปิด
OPEN CIRCULARTERY SYSTEM
• พวกอาร์โทรปอด
ถึงแม้จะมีหัวใจ
แต่เส้นเลือดไม่
ได้ติดต่อกัน
ตลอดตัว เลือด
สามารถแทรกไป
ตามกล้ามเนื้อ
โดยช่องว่างที่
การไหลเวียนเลือดของ
หอยกาบ
• หอยฝาเดียว
เป็นพวกระบบ
เลือดเปิด และ
มีช่องว่างให้
เลือดผ่าน
เรียก ไซนัส
( Sinus ) เลือด
ของหอยกาบ
การไหลเวียนเลือดของ
หอยกาบ
• เริ่มจากเลือดที่มีออกซิเจนสูงจากเมน
เทิล ไหลเข้าสู่หัวใจห้องเอเตรียมและเวน
ตริเคิลตามลำาดับต่อจากนั้นเวนตริเคิล จะ
ส่งเลือดไปส่วนทางหน้าของเอนทีเรียเอ
ออร์ตาและส่วนหลังทางโพสทีเรียเออร์ตา
ของลำาตัวเพื่อเลี้ยงส่วนต่างๆของหอย
เลือดที่ใช้แล้วจากส่วนเท้า และอวัยวะ
ภายในจะเข้าสู่วีนาคาวาไปสกัดของเสีย
ที่ไตแล้วถูกลำาเลียงไปฟอกที่เหงือกแล้ว
การไหลเวียนเลือดระบบปิด
CLOSE CIRCULARTERY SYSTEM
•หมายถึงการที่เลือดออก
จากหัวใจไหลไปยัง
เซลล์ต่าง ๆและกลับเข้า
สู่หัวใจเลือดจะไหลไป
ในเส้นเลือดตลอดเวลา
การไหลเวียนเลือดของ
ไส้เดือน
การไหลเวียนเลือดของ
ไส้เดือน
• ไส้เดือนดินมี ระบบหมุนเวียน
เลือดเพื่อจะรับ O2จากผิวหนัง
และ อาหารจากทางเดิน
อาหาร เพื่อ ส่งไปสู่เซลล์ที่อยู่
ห่างไกลได้
• ไส้เดือนมีเส้นเลือดและหัวใจ
เทียมต่อเนื่องกัน เรียกว่า
การไหลเวียนเลือดของ
ไส้เดือน
• ในเวลาเดียวกันก็
ปั๊ม เลือดเข้าสู่ทาง
ด้านล่างของลำาตัว
ซึ่งอยู่ใต้ทางเดิน
อาหารเพื่อไปเลี้ยง
ส่วนต่าง ๆทั่วลำาตัว
ต่อจากนั้นเลือดที่
ใช้แล้วจะไหลกลับ
สู่เส้นเลือดด้านบนที่
หัวใจเทียมทำา
หน้าที่ ปั๊มเลือดเข้า
สู่เส้นเลือดด้านบน
ระบบ หมุนเวียนเลือดประกอบด้วย
• เลือด ไหลเวียนอยู่ใน
เส้นเลือด
• เส้นเลือด เส้นเลือดแดง
(artery ) นำาเลือดออกจาก
หัวใจ
• เส้นเลือดดำา ( vein )
เส้นเลือดที่นำาเลือดกลับ
เข้าสู่หัวใจ
• เส้นเลือดฝอย มีหน้าที่
แลกเปลี่ยนก๊าซและสาร
ความแตกต่างระหว่างเลือด
เปิดและเลือดปิด
• ในสัตว์ระบบ
เลือดปิดจะดีกว่า
ในแง่ที่ทำาให้
ปริมาตรของเลือด
คงที่สามารถ
ควบคุมความเร็ว
ในการไหลเวียน
เลือดและยัง
การไหลเวียนของเลือดปลา
• ปลามีหัวใจ 2 ห้อง
โดยเลือดจะ
ปั๊มออกทาง เวน
ทริเคิล ไปยังเส้นเลือด
ฝอยบริเวณเหงือกเพื่อ
แลกเปลี่ยนก๊าซ เลือด
ที่ฟอกแล้วจะออกไป
ตามระบบเส้นเลือด
แดง ไปยังเส้นเลือด
ฝอยเลี้ยงส่วนต่าง ๆ
การไหลเวียนเลือดของ
สัตว์ครึ่งบก ครึ่งนำ้า
• มีหัวใจ 3 ห้อง คือ
เอเตรียม 2 ห้อง
ซ้าย ขวาและ เวน
ตริเคิล 1 ห้อง ซึ่ง
ทำาหน้าที่ ปั๊ม
เลือดแยกออกไป
ยังระบบเส้นเลือด
แดง 2 วงจรคือ
วงจรนำาเลือดไป
ฟอกที่ปอด และ
สัตว์ ครื่ง บกครึ่ง
นำ้ามีระบบไหล
เวียนเลือด 2
การไหลเวียนเลือดกบ
การไหลเวียนเลือดของ
สัตว์ครึ่งบก ครึ่งนำ้า
• วงจรแรกนำาเลือดไปฟอกที่ ร่างแห
เส้นเลือดฝอย ของปอด และผิวหนัง
ได้เลือดแดงกลับเข้าสู่เอเตรียมซ้าย
แล้วเข้าสู่เวนทริเคิล เพื่อ ปั๊ม เลือด
ออกไปเลี้ยงร่างกาย จากนั้นเลือด
ดำาก็จะกลับข้าสู่เอเตรียมขวา และ
เข้าสู่ เวนทริเคิล
• ที่ซึ่งเลือดแดงและเลือดดำาบางส่วน
ผสมกัน แต่ในสัตว์เลื้อยคลานการ
ผสมกันจะมีน้อยถึงแม้จะมีหัวใจ 3
การไหลเวียนเลือดของสัตว์เลี้ยง
ลูกด้วยนมและพวกนก
• หัวใจของสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนม
และพวกนก มี 4
ห้องหัวใจ
สมบูรณ์ เลือด
แดงและเลือดดำา
จึงแยกจากกัน
เด็ดขาด ระบบ
หัวใจของคน
เส้นเลือดที่หัวใจ
ลิ้นหัวใจ ( HEART VALVE )
• การไหลเวียนของเลือด
จากเอเตรียม เข้าสู่ เวน
ทริเคิล และ การฉีด
เลือดออกจากเวนตริเคิล
ไปยังเส้นเลือดแดงใหญ่
เลือดสามารถไหลไป
ทางเดียวไม่ไหลย้อน
กลับ ก็เนื่องจากมีลิ้น
หัวใจ ทำาหน้าที่กันไม่ให้
เลือดไหลกลับ ลิ้น
หัวใจที่กั้น ระหว่าง
ลิ้นหัวใจ ( HEART VALVE )
• ส่วนลิ้นหัวใจที่กั้น
ระหว่าง เวน
ทริเคิลขวา กับ
เส้นเลือดแดง
ใหญ่ที่ไปยังปอด
และลิ้นหัวใจที่กั้น
ระหว่างเวน
ทริเคิลซ้าย กับ
เส้นเลือดแดง
ใหญ่ที่ไปยังระบบ
การไหลเวียนเลือด
ปอด
บน
ซ้ายล่าง
ซ้าย
บน
ขวาล่าง
ขวา
ส่วนต่าง ๆของ
ร่างกาย
การไหลเวียนเลือด
• เลือดเสียจาก ส่วนบน
คือจากศรีษะจะไหล
ข้าสู่เส้นเลือด
superior vena cava
และเลือดจากส่วนล่าง
ของร่างกายไหลเข้าสู่
เส้นเลือด Inferior
vena cava ไหลเข้า
สู่ห้องบนขวา ลงสู่
ห้องล่างขวา ผ่านลิ้น
การไหลเวียนเลือด
• เลือดออกจากหัวใจทางห้องล่างซ้าย
ไปปอดผ่านลิ้น Pumonary semilunar
vlave ทางเส้นเลือด Pumonary artery
เมื่อแลกเปลี่ยนก๊าซ CO2 กับ O2แล้ว
จะออกจากปอดายังเส้นเลือด
Pumonary vein มายัง หัวใจทางห้อง
บนซ้าย ลงสู่ห้องล่างซ้าย ผ่านลิ้น
Bicuspid valve
• แล้วเลือดที่มี O2 ก็จะออกไปเลี้ยงส่วน
การกระตุ้น ( excitation ) การทำางาน
ของหัวใจ
• หัวใจสามารถเต้น
ได้เองไม่ต้อง
อาศัยการกระตุ้น
จากภายนอกโดย
กลุ่มเซลล์พิเศษที่
เปลี่ยนแปลงมา
จากกล้ามเนื้อ
หัวใจเป็นบริเวณ
ตั้งต้นที่เกิดกระแส
การกระตุ้น ( excitation ) การ
ทำางานของหัวใจ
• SA node เป็นผู้
กำาหนดจังหวะ ที่อยู่
ที่ผนังของ เอ-
เตรียมขวาใกล้ทาง
เข้าของเส้นเลือดดำา
ใหญ่
เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ
พิเศษนี้สามารถหด
ตัวเหมือนกล้ามเนื้อ
และสามารถสร้าง
การกระตุ้น ( excitation ) การ
ทำางานของหัวใจ
• แต่ละครั้งที่
sinoatrial node
( SA node ) หด
ตัวจะก่อให้เกิด
คลื่นของการกระ
ตุ้น เคลื่อนผ่านไป
ตาม ผนังของหัวใจ
กระแสการหดตัวจะ
แผ่กระจายไป
การกระตุ้น ( excitation ) การ
ทำางานของหัวใจ
• แล้วส่งต่อไปยัง
เนื้อเยื่อพิเศษอีก
บริเวณหนึ่งคือ AV
node
( antrioventricular
node )ซึ่งอยู่ที่ฐาน
ของ ผนังกั้นเอเตรียม
โดยใช้เวลาประมาณ
0.1 วินาทีก่อนที่จะ
ถ่ายทอดไปยังเวนตริ
การกระตุ้น ( excitation ) การ
ทำางานของหัวใจ
• ทำาให้เอเตรียมทั้ง
สองหดตัวก่อน เพื่อ
ส่งเลือดทั้งหมดเข้า
เวนตริเคิลนั้นเอง
กระแสการหดตัวที่แผ่
กระจายของ AV
node นี้ จะแยกเป็น 2
แขนงเมื่อมา ถึงผนัง
กั้นเวนตริเคิลเพื่อ
การวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ความดันเลือด
• การทำางานของหัวใจซึ่งเกิดเป็นจังหวะ
สลับกันระหว่างการบีบตัว ( systole ) และ
การคลายตัว ( Diastole )เรียกว่าวงจร
การทำางานของหัวใจ ( cardiac cycle )
• ความดันเลือดจะขึ้นอยู่กับ Cardiac
output ที่ไหลในเส้นเลือดกับแรง
ต้านทานจาก ผนังหลอดเลือดโดยเฉพาะ
เส้นเลือดarteriole ซึ่งเป็นเส้นเลือดแดง
เล็กซึ่งเป็นเส้นเลือดแดงที่มีมากกว่า
เส้นเลือด
โครงสร้างของ
เส้นเลือด ผนัง
ของเส้นเลือดแดง
เส้นและเลือด ดำามี
3 ชั้น ชั้นในสุด
บุผิวแบนบางชั้น
เดียวชั้นกลางเป็น
กล้ามเนื้อเรียบและ
ชนิดของเส้นเลือด
1 เส้นเลือดแดงหรือ Artery ทำาหน้าที่
นำาเลือดออกจากหัวใจไปยังเส้นเลือด
ฝอยได้แก่ Arota มีขนาดใหญ่สุด
Artery และ Arteriole เป็น
เส้นเลือดที่เล็กสุด
2. เส้นเลือดดำา หรือ Vein ทำาหน้าที่
นำาเลือดเข้าสู่หัวใจ Vena cava มี
ขนาดใหญ่สุด Vein และ Venules
การไหลเวียนเลือดใน
ร่างแหของเส้นเลือดฝอย
การไหลของเลือดใน
เส้นเลือดดำา
การหดตัวของ
กล้ามเนื้อจะบีบ
เส้นเลือดดำา ให้
เลือดไหลกลับ
เข้าสู่หัวใจ โดย
มีแผ่นเนื้อเยื่อยื่น
จาก ผนัง
การอุดตันของเส้นเลือด
การแข็งตัวของเลือด
• เมื่อร่างกาย
เกิดบาดแผลจะ
ทำาให้เกล็ด
เลือดหรือ
เนื้อเยื่อที่เกิด
บาดแผล
ปล่อยสารท
รอมโบรพลาส
การแข็งตัวของเลือด
• ทรอมโบรพลาส
ทิน ที่ปล่อยออก
มาจะกระตุ้นให้
โปรทรอมบิน ซึ่ง
เป็นพลาสมา
โปรตีนชนิดหนึ่ง
ให้เปลี่ยนเป็นทร
อมบินโดยทำางาน
ร่วมกับ Ca+
และ
การแข็งตัวของเลือด
• ทรอมบินที่เกิดขึ้น
จะกระตุ้นให้ไฟรบริ
โนเจนซึ่งเป็น
พลาสมาโปรตีนอีก
ชนิดหนึ่งเปลี่ยน
เป็นไฟรบรินและ
รวมตัวสารเป็น
ตาข่ายอุดตรงรอย
วิตามิ
น k
Ca
+
การแข็งตัวของเลือด
อ้างอิง
www.skr.ac.th
202.28.94.202/phunee/BLOOD
/BLOOD.PPT
www.sc.chula.ac.th
www.bio.flas.kps.ku.ac.th
www.triamudomsouth.ac.th

More Related Content

What's hot

การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)Thitaree Samphao
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

What's hot (20)

การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 

Similar to Ppt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือด

ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจN'apple Naja
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)Kriangkasem
 
Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell prapassri
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  editอจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 editสุขใจ สุขกาย
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfBoviBow
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transportadriamycin
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 

Similar to Ppt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือด (18)

Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
 
Ppt circuratory
Ppt circuratoryPpt circuratory
Ppt circuratory
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  editอจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
Heart
HeartHeart
Heart
 

More from สำเร็จ นางสีคุณ

แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการสำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นสำเร็จ นางสีคุณ
 

More from สำเร็จ นางสีคุณ (20)

ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
 
Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2
 

Ppt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือด