SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
การใช้ยา...อย่างถูกต้อง
ภญ.นารีนาถ บุญชู
กลุ่มงานเภสัชกรรมชุมชนและคุ้มครอง
ผู้บริโภค รพ.ลาทับ
• ยาคือ?
• ยาสามัญประจาบ ้าน คือ?
• การอ่านฉลากยา
• การใช ้ยาอย่างถูกต ้อง
• อันตราย/ผลข ้างเคียงจากการใช ้ยา
• ระยะเวลาและการเก็บรักษายา
• การจัดตู้ยาสามัญประจาบ ้าน
หัวข้อ
ยาคือ?
“ยา” หมายความว่า
(๑) วัตถุที่รับรองไว ้ในตารายาที่รัฐมนตรีประกาศ
(๒) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช ้ในการวินิจฉัย บาบัด บรรเทา
รักษา หรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่ วยของมนุษย์หรือสัตว์
(๓) วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่ง
สาเร็จรูป หรือ
(๔) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับให ้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร ้าง
หรือการกระทาหน้าที่ ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์
ประเภทของยา
• ยาควบคุมพิเศษ
• ยาอันตราย
•ยาสามัญประจา
บ้าน
ยาสามัญประจาบ้าน คือ?
ยาที่กระทรวงสาธารณสุขได ้พิจารณาเอาไว ้ว่าเป็นยาที่
เหมาะสม ที่สามารถให ้ประชาชนหาซื้อมาใช ้ได ้เองตามร ้านขาย
ยาทั่วไปโดยไม่ต ้องมีใบสั่งแพทย์ เพื่อใช ้รักษาอาการเจ็บป่ วย
เล็กๆ น้อยๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได ้ทั่วไปในชีวิตประจาวัน
•ผงน้าตาลเกลือแร่ แก้ท้องเสีย
•ผงถ่านรักษาอาการท้องเสีย
•ยาระบายมะขามแขก
•ยาพาราเซตามอล ลดไข้
บรรเทาปวด
•ยาคลอร ์เฟนิรามีน แก้แพ้ ลด
น้ามูก
ตัวยาขนาด 2 มิลลิกรัม
•ยาแก้ไอน้าดา
•ยาดมแก้วิงเวียน
•ยาหม่อง
•ยาไดเมนไฮดริเนท แก้เมารถ
บรรจุ 2 เม็ด
•ยาโพวิโดน-ไอโอดีน ใส่แผล
สด
•น้าเกลือล้างแผล
•คาลาไมน์โลชั่น ยาทาแก้ผด
ผื่นคัน
ยาสามัญประจาบ้าน คือ?
ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน
ยาหม่อง ขี้ผึ้งบรรเทา
อาการ
ปวดเมื่อย แมลงสัตว์กัด
ต่อย
ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน
ยาหม่อง ยาดม แก้วิงเวียน
คัดจมูก
ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน
ยาขับลม แก้ปวดท้อง
แน่นท้อง
ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน
ยาระบายแก้
ท้องผูก
ยาแก้ท้องเสีย
ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน
ยาลดไข้ บรรเทา
ปวด
ยาน้าพาราเซตา
มอล
120 มิลลิกรัม / 5
มิลลิลิตร
ยาเม็ดพาราเซตา
มอล
ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน
ยาสาหรับตา - ยา
ล้างตา
ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน
ยาแก้ไอ
ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน
ยาอมบรรเทา
อาการระคายคอ
ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน
ยาล้างแผล - ใส่
แผล
ยาคลอร ์เฟนิรามีน แก้แพ้
ลดน้ามูก
ตัวยาขนาด 2 มิลลิกรัม
ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน
ยาไดเมนไฮดริเนท แก้
เมารถ
บรรจุ 2 เม็ด
ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน
ข้อมูลบนฉลากยา ได้แก่
• ชื่อยา
• เลขทะเบียนตารับยา
• ปริมาณยาหรือขนาดบรรจุของยา
• เลขที่หรืออักษรครั้งที่ผลิต
• วันเดือนปีที่ผลิต / วันเดือนปีที่หมดอายุ
• ข ้อความระบุประเภทยา คาว่า ยาอันตรายยาควบคุมพิเศษ ยาใช ้เฉพาะที่
หรือยาใช ้ภายนอก
• ขนาดและวิธีใช ้ยา
• คาเตือนหรือข ้อควรระวังอาการข ้างเคียงของยา
• วิธีการเก็บยา
การอ่านฉลากยา
การดูวันผลิต วันหมดอายุ
•MFG / MFD ย่อมาจาก Manufacturing
date / Manufactured Date หมายถึง วันที่
ผลิต
•EXP/EXD ย่อมาจาก Expiry Date /
Expiration Date หมายถึง วันหมดอายุ
1. ใช ้ยาให ้ถูกโรค ตรงกับสาเหตุอาการของโรค
2. ใช ้ยาให ้ถูกกับบุคคล
3. ใช ้ยาให ้ถูกขนาด - ปริมาณ ตรงตามน้าหนัก ขนาดยา
ของเด็ก-ผู้ใหญ่
4. ใช ้ยาให ้ถูกเวลา
การใช้ยาสามัญประจาบ้านและยาอื่นๆ
ขนาดยาพาราเซตามอลที่เหมาะสมคือ 10 – 15
มิลลิกรัม/กิโลกรัม
โดยรับประทานทุก 4-6 ชั่วโมง (วันละ 4 ครั้ง ) หรือเมื่อมีอาการ
ปวดหรือมีไข ้
เช่น น้าหนักตัว 50 กิโลกรัม ควรรับประทานเท่ากับ 500 – 750
มิลลิกรัม (ก็คือพาราเซมอล 500 มิลลิกรัม จานวน 1 เม็ด
ขนาดยาพาราเซตามอล
ยาน้าสาหรับเด็ก มีความเข้มข้นต่างๆ ดังนี้
• แบบหยด มีตัวยา 60มก./0.6 มล. หรือ 80 มก./0.8 มล. เหมาะกับเด็กอ่อน
น้าหนักตัวไม่ถึง 10 กก.(อายุไม่ถึง 1 ปี)
• แบบยาน้าเชื่อม มีตัวยา 120, 125มก./ช้อนชา เหมาะกับเด็กน้าหนักตัว
12 – 15 กก. (อายุน้อยกว่า 2 ปี)
• แบบยาน้าเชื่อม มีตัวยา 160 มก./ช้อนชา เหมาะกับเด็กน้าหนักตัว 16 –
24 กก. (อายุประมาณ 3-7ปี)
• แบบยาน้าเชื่อม มีตัวยา 250 มก./ช้อนชา เหมาะกับเด็กน้าหนักตัว 25-
40 กก. (อายุประมาณ 8-10ปี)
ขนาดยาพาราเซตามอล
ขนาดยาพาราเซตามอล
ยาเม็ดสาหรับผู้ใหญ่ และเด็กที่สามารถทานยาเม็ดได้และมี
น้าหนักตัว 40 กก. ขึ้นไป
มีความเข ้มข ้นต่างๆ ดังนี้
• ยาเม็ดขนาด325 มก./เม็ด จานวนเม็ดที่รับประทานให ้คานวณ
ตามน้าหนักตัว โดยให ้10 – 15 มก./กก. ( น้าหนักในช่วง 22 – 32
กก.)
• ยาเม็ดขนาด500 มก./เม็ด จานวนเม็ดที่รับประทานให ้คานวณ
ตามน้าหนักตัว โดยให ้10 – 15 มก./กก.
ขนาดยาพาราเซตามอล
ขนาดยาพาราเซตามอล
• ยาเม็ดขนาด650 มก./เม็ด เป็นยาที่ออกฤทธิ์ยาว 8 ชั่วโมง
เพราะฉะนั้นให ้ทานทุก 8 ชั่วโมง โดยจานวนเม็ดที่รับประทาน
ให ้คานวณตามน้าหนักตัว โดยให ้10 – 15 มก./กก.
• เด็กไม่ควรรับประทานติดต่อกันเกิน 5 วัน ผู้ใหญ่ไม่ควร
รับประทานติดต่อกันเกิน 10 วัน
• ผู้ป่ วยโรคตับไม่ควรใช ้ยา
• ผู้ที่ดื่มเหล ้าเป็นประจา อาจเกิดพิษต่อตับจากยาได ้มากขึ้น
• ผู้ที่แพ ้ยาพาราเซตามอลเกิดผื่น คัน แดง หรือมีไข ้ควรหยุดใช ้
ยาทันทีและรีบไปพบแพทย์
ข้อควรระวัง
•1 ช ้อนชา = 5 มิลลิลิตร
•ครึ่ง ช ้อนชา = 2.5 มิลลิลิตร
•1 ช ้อนโต๊ะ = 15 มิลลิลิตร
ปริมาตรการตวงขนาดยาในเด็ก
• ยาก่อนอาหาร
• : รับประทานยาก่อนมื้ออาหาร 30 นาที
• ยาหลังอาหาร
• : รับประทานยาหลังมื้ออาหาร 15 นาที
• ยาหลังอาหารทันที
• : รับประทานยาพร้อมมื้ออาหารหรือหลังมื้ออาหาร
ทันที
เวลากับการรับประทานยา
อันตราย/ผลข้างเคียงจากยา
การแพ้ยา
ผลข้างเคียงจาก
ยา
อันตรายจากยา
ยาชุด ยาแผนโบราณที่ผสม
สารสเตียรอยด์
อันตรายจากยา
ยาชุด
อันตรายจากยา
ยาแผนโบราณที่ผสม
สารสเตียรอยด์
การตรวจสอบสารสเตียรอยด์จากยาเบื้องต้น
ระยะเวลาการเก็บยา
• ยาเม็ด/แคปซูล อายุการเก็บ 1 ปี หรือตามที่ฉลาก
ระบุ
• ยาน้าสาหรับรับประทาน อายุการเก็บ 1 เดือน
** ยกเว ้น ยาฆ่าเชื้อชนิดผงผสมน้าสาหรับเด็ก มีอายุการเก็บแค่
7 วัน ภายหลังการผสม
ระยะเวลาการเก็บยา
• ยาใช้ภายนอก / ยาขี้ผึ้ง / ครีมที่มีขนาดการใช้มากกว่า 1 ครั้ง
อายุการเก็บ 1 เดือน
ระยะเวลาการเก็บยา
• ยาหยอดตา อายุการเก็บ 1 เดือน
ระยะเวลาการเก็บยา
• ห ้าม โดนแสง
• ห ้าม แกะยาออกจากแผงไว ้ล่วงหน้าเกิน 1 สัปดาห์
• ห ้าม ร ้อน
• ห ้าม ชื้น
การเก็บรักษายา
การเก็บรักษายา
• ยาเม็ด : เม็ดยาจับติดกันหลายๆ เม็ด มียา ละลายซึมออกมา
เม็ดยาเปลี่ยนสี หรือมีรอยด่างดา
• ยาผง : ผงยาชื้น เยิ้ม จับตัวเป็นก ้อน ไม่กระจายตัว
ลักษณะยาที่เสื่อมสภาพ
ที่มา : https://med.mahidol.ac.th/ramapharmacy/th/knowledge/general/11092015-2303-th
• ยาขี้ผึ้งและยาครีม : มีลักษณะหยาบ มีการแยกตัว หรือมีน้าใสๆ
ปนกับเนื้อยา สีและกลิ่นเปลี่ยนแปลงไป
ลักษณะยาที่เสื่อมสภาพ
ที่มา : https://med.mahidol.ac.th/ramapharmacy/th/knowledge/general/11092015-2303-th
• ยาน้าใส : มีการเปลี่ยนสี/กลิ่น/รส หรือมีการแยกชั้น ตกตะกอน
หรือตกผลึก
• ยาน้าแขวนตะกอน : เกิดการเปลี่ยนสี/กลิ่น/รส ไม่สามารถเขย่า
ผสมให ้เป็นเนื้อเดียวกันได ้
ลักษณะยาที่เสื่อมสภาพ
ที่มา : https://med.mahidol.ac.th/ramapharmacy/th/knowledge/general/11092015-2303-th
• ตาแหน่งและลักษณะของตู้ยา
• การจัดเรียงให ้เป็นสัดส่วน ตามประเภทของยา : ยาเม็ด, ยาน้า,
ยาใช ้ภายนอก
• การติดฉลากยาและเวชภัณฑ์ทุกชนิด : ชื่อยา, ข ้อบ่งใช ้, ขนาด
ยา, วิธีใช ้ยา, ข ้อควรระวัง
• การจัดเรียงยาตามวันหมดอายุ ตาม “First in – Expire out”
การจัดตู้ยาสามัญประจาบ้าน
ที่มา:
https://pharmacy.mahidol.ac.th/drugstore/Download_Poster/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8
%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%
B8%8D%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99.pdf
การจัดตู้ยาสามัญประจาบ้าน
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

Similar to การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx

ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน44LIFEYES
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1THANAKORN
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนduangkaew
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)firstnarak
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 

Similar to การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx (20)

ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
สาระปันยา 2553
สาระปันยา 2553สาระปันยา 2553
สาระปันยา 2553
 
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 

การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx

Editor's Notes

  1. การใช้ยาสามัญประจำบ้านและยาอื่นๆ 1. ใช้ยาให้ถูกโรค หรือถูกขนาน ก่อนใช้ยาบำบัดหรือบรรเทาอาการที่เกิดขึ้น ควรศึกษาก่อนว่าอาการนั้นเกิดจากสาเหตุใด และควรใช้ยาขนานใดให้ตรงกับการแก้ปัญหาหรือสาเหตุนั้น เช่น ปวดท้อง เป็นเพราะท้องผูกหรือท้องเสีย หรืออาหารไม่ย่อย เป็นต้น การใช้ยาแก้ปวดท้องจากสาเหตุต่างๆ ซึ่งไม่เหมือนกัน 2. ใช้ยาให้ถูกกับบุคคล ปฏิกิริยาการตอบสนองต่อยาในแต่ละบุคคลจะต่างกัน โดยเฉพาะต่างเพศหรือต่างวัย เด็กและคนชราจะตอบสนองต่อยาไวกว่าวัยกลางคน ยาบางชนิดใช้ได้กับสตรีเท่านั้น ยาบางชนิดห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์และเด็ก เช่น เตตราซัยคลีน เป็นต้น ดังนั้นจึงไม่ควรนำยาของบุคคลหนึ่งมาใช้กับอีกบุคคลหนึ่งที่ต่างเพศต่างวัยกัน หากจำเป็นต้องศึกษาจากผู้รู้ก่อน 3. ใช้ยาให้ถูกขนาด ให้ตรงกับขนาดที่ระบุเท่านั้น สำหรับการใช้ยาต้านจุลชีพ ไม่ว่าจะเป็นยาภายในหรือยาภายนอก จะต้องใช้อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอจนกว่ายานั้นหมด สำหรับการลืมรับประทานยา ให้รีบรับประทานขนาดเดิมทันทีเมื่อนึกได้โดยไม่ต้องเพิ่มขนาดยา การใช้ยาน้ำรับประทาน ควรใช้ช้อนตวงมาตรฐานที่ให้มากับยาเท่านั้น 4. ใช้ยาให้ถูกเวลา ช่วงห่างของเวลาใละครั้ง ควรมีระยะเท่าๆ กัน อย่างเช่น ใช้ยาทุก 4 ชั่วโมง เพื่อให้ระดับยาในเลือดสม่ำเสมอ ไม่ต่ำเกินไปคงที่ และมีการกำหนดว่าเป็นยาก่อนหรือหลังอาหารด้วย 'ยาก่อนอาหาร' ต้องรัีบประทานยานั้นก่อนอาหารครึ่งชั่วโมง ถึง 1 ชั่วโมง จุดมุ่งหมายให้รับประทานยานั้นตอนท้องว่าง จะช่วยในการดูดซึมยาผ่านผนังกระเพาะอาหารเข้าสู่เส้นเลือดได้ดี นอกจากนี้ยาบางประเภท เช่น ยาปฏิชีวนะจะถูกทำลายได้ง่าย โดยน้ำย่อยอาหารที่หลั่งออกมาโดยอัตโนมัติ เมื่อเริ่มรับประทานอาหาร เป็นต้น 'หลังอาหาร' จะรับประทานยานั้นภายหลังการรับประทานอาหารไปแล้วนานเท่าใดก็ได้ เช่น รับประทานยานั้นหลังจากเสร็จสิ้นการรับประทานอาหารทันที หรือ 15 นาทีไปแล้วก็ได้ แสดงว่ายานั้นไม่มีผลเสียต่อกระเพาะอาหาร และอาหารไม่มีผลต่อยานั้น แต่ถ้าระบุว่า 'หลังอาหารทันที' จะต้องรับประทานยานั้นหลังเสร็จสิ้นการรับประทานอาหารทันทีเท่านั้น เนื้องจากยานั้นมีฤทธิ์กัดกร่อนผนังกระเพาะ ซึ่งจำเป็นต้องใช้อาหารเป็นเกราะำกำบังไว้มิให้ยาสัมผัสกับผนังโดยตรง 'หลังอาหาร 1-2 ชั่วโมง' การรับประทานยาเคลือบผนังกระเพาะอาหารหรือยาลดกรด เพื่อรักษาแผลในกระเพาะอาหาร ควรรับประทานหลังอาหารไปแล้วประมาณ 1-2 ชั่วโมง หรือก่อนอาหาร 1 ชั่วโมง เพื่อให้ยานี้ทำหน้าที่ได้อย่างเต็มที่โดยไม่มีอาหารเป็นเครื่องกีดขวาง การับประทานยาระบายแก้ท้องผูก ยานั้นจะออกฤทธิ์หลังจากรับประทานเข้าไปแล้ว 6-8 ชั่วโมง ดังนั้นหากต้องการให้เกิดการถ่ายอุจจาระในตอนเช้า จะต้องรับประทานยานี้ก่อนนอนการรับประทานยาแก้อาเจียน แก้ปวดท้อง มักนิยมให้รับประทานก่อนอาหารเป็นเวลาประมาณ 20-30 นาที เพื่อมิให้เกิดอาการเมื่อเริ่มรับประทานอาหารเข้าไป การรับประทานยาขับปัสสาวะ มักใช้ในโรคความดันโลหิตสูง เพื่อลดปริมาณน้ำในร่างกาย ซึ่งจะมีผลให้ความดันโลหิตลดลง นิยมให้มื้อเช้าหรือกลางวันเท่านั้น เนื่องจากถ้าให้มื้อเย็นจะทำให้คนไข้ต้องตื่นกลางดึกเพื่อลุกขึ้นมาปัสสาวะ