SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน วิธีคลายเครียดด้วยอโรมาเธอราพี
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ชื่อ นางสาวญาณิศา อูปอินทร์ เลขที่ 33 ชั้น ม.6 ห้อง 15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม -
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวญาณิศา อูปอินทร์ เลขที่ 33
คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
วิธีคลายเครียดด้วยอโรมาเธอราพี
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
How to relieve stress with aromatherapy
ประเภทโครงงาน วิทยาศาสตร์สุขภาพ
ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาวญาณิศา อูปอินทร์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำโครงงาน)
สุคนธบำบัดถูกนำมาใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๗๑ โดยนักเคมีชาวฝรั่งเศส เรเน่มัวริส กาเต้ฟอเซ่ (Rene
Maurice Gattefosse) ซึ่งได้ค้นพบคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อของน้ำมันลาเวนเดอร์โดยบังเอิญ และได้รับฉายาว่า
"บิดาแห่งสุคนธบำบัด" จากนั้น มากาเร็ต มอรี (Magaret Maury) และ มิเชอลิน อาซีเยร์ (Micheline Arcier)
ได้นำศาสตร์แห่งการบำบัดรักษาด้วยกลิ่นเข้าไปยังเกาะอังกฤษ
และได้พัฒนาการใช้ผสมผสานกับการนวดในการรักษาคนไข้
จนทำให้ศาสตร์แห่งการบำบัดด้วยกลิ่นและการนวดเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน
องค์ประกอบสำคัญที่ใช้ในสุคนธบำบัดคือน้ำมันหอมระเหย (essential oil)
และต้องเป็นน้ำมันหอมระเหยที่สกัดมาจากพืชเท่านั้น หากเป็นน้ำหอมที่สังเคราะห์ขึ้นจะไม่ส่งผลต่อการบำบัดรักษา
หรือฆ่าเชื้อ หรือทำให้จิตใจสงบ น้ำมันหอมระเหยเข้าสู่ร่างกายโดยทางผิวหนังและการสูดดม
หากได้รับผ่านทางผิวหนังก็จะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดไปมีผลต่อระบบอวัยวะต่างๆ
และถูกขับออกได้เช่นเดียวกับโมเลกุลของยา ซึ่งจากการสำรวจแบบประเมินความเครียดคนไทยของกรมสุขภาพจิต
พบว่าในปัจจุบันมีผู้ที่ประสบปัญหาความเครียดมากขึ้น อันมีสาเหตุมากจาการเรียน การทำงาน ปัญหาครอบครัว
ปัญหาเศรษฐกิจ และอื่นๆ หลายหน่วยงานออกมาแนะนำแนวทางการแก้ไขปัญหาความเครียด
โดยมีการใช้วิธีอโรมาเธอราพี หรือสุคนธบำบัดเป็นหนึ่งในแนวทางการลดความเครียดที่ง่าย
จึงเป็นวิธีที่ค่อนข้างได้รับความนิยม แต่ถึงอย่างนั้นก็ยังคงมีคนส่วนมากที่ไม่รู้จักที่มาของอโรมาเธอราพี
และเข้าใจผิดเกี่ยวกับวิธีการใช้งาน
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ศึกษาที่มาและความหมายของอโรมาเธอราพี
2.ศึกษาวิธีการทำอโรมาเธอราพีที่ถูกต้อง
3.ศึกษาประโยชน์และผลกระทบของอโรมาเธอราพี
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของการทำโครงงาน)
สืบค้นรวบรวมที่มา ความหมาย ผลต่อร่างกาย ประโยชน์ และข้อควรระวังในการใช้
เพื่อบุคคลทั่วไปบทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์
การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง
และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเอง
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำโครงงาน)
อโรมาเธอราพี (Aromatherapy) คืออะไร?
อโรมาเธอราพี (Aromatherapy) หรือ สุคนธบำบัด คือ
ศาสตร์ในการใช้น้ำมันหอมระเหยที่ได้จากการสกัดพืชหอม
(ขอย้ำว่าต้องเป็นน้ำมันหอมระเหยที่ได้จากการสกัดจากพืชเท่านั้น) เพื่อการบำบัดรักษาหลายอาการ ตั้งแต่
อาการติดเชื้อต่างๆ โรคผิวหนัง ไปจนถึงภูมิคุ้มกันบกพร่องและความเครียด
มีการใช้น้ำมันหอมระเหยในยุโรปมากว่าร้อยปี และมีการใช้ในการแพทย์ตะวันออกมานานกว่าพันปี
แต่ในประเทศฝรั่งเศสมีการ ใช้สุคนธบำบัดทางการแพทย์อย่างเป็นระบบ
และมีการวิจัยกันอย่างกว้างขวางทั่วโลกในทุกๆ ด้าน
ส่วนสหรัฐอเมริกานิยมใช้สุคนธบำบัดร่วมกับการแพทย์ทางเลือกอื่นๆ ในการรักษาโรคต่างๆ
ในด้านวิทยาศาสตร์ อโรมาเธอราพี เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งของ Herbal Medicine
เพราะเป็นการใช้น้ำมันหอมระเหย (essential oil) ที่ได้จากการกลั่นพืชหอม หรือ ด้วยการสกัดด้วยวิธีต่างๆ
โดยน้ำมัน (essence) ของพืชเหล่านี้มีคุณสมบัติในการรักษา ส่วนของพืชอาจจะเป็น ดอก ใบ กิ่ง เปลือก แก่น ยาง
ผล หรือ เมล็ดก็ได้ แต่เนื่องจากมีปริมาณน้อยจึงต้องใช้วัตถุดิบพืชจำนวนมาก และส่งผลให้มีราคาแพง
จึงมีการใช้กลิ่นสังเคราะห์ปนปลอม จึงขอเตือนว่าผู้ที่ต้องการผลบำบัดต้องใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืชเท่านั้น
ที่จริงแล้วส่วนที่ทำการบำบัดคือร่างกายเราเอง แต่โมเลกุลเล็กๆ หลายๆ
โมเลกุลในน้ำมันหอมระเหยเข้าสู่สมองของเราผ่านประสาทรับกลิ่นที่อยู่ในโพรงจมูกด้านบน ซึ่งส่วนนี้ใกล้สมองมาก
และทำให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองทางเภสัชวิทยาของร่างกายมนุษย์
ผลต่อร่างกาย (Physiological Effects)
ผลต่อร่างกาย (Physiological Effects) ของน้ำมันหอมระเหย เกิดเมื่อโมเลกุลเล็กๆ
นับร้อยเหล่านี้ไปถึงสมองส่วนลิมบิค (limbic system)
ซึ่งควบคุมอารมณ์และความรู้สึกโดยจะมีความสัมพันธ์กับประสบการณ์และความจำ
และเนื่องจากสมองส่วนนี้เชื่อมต่อโดยตรงกับสมองที่ควบคุมการเต้นของหัวใจ ความดัน การหายใจ ความจำ
ระดับความเครียด สมดุลย์ฮอร์โมน
ดังนั้นการสูดดมน้ำมันหอมระเหยจึงเป็นวิธีที่ให้ผลทางร่างกายและระบบประสาทที่เร็วที่สุดทางหนึ่ง
เพราะหลังจากการสูดดมน้ำมันหอมระเหยจะเข้าสู่กระแสเลือดโดยทางเนื้อเยื่อของปอด
และจากระบบประสาทรับกลิ่นจะไปมีผลต่อสมองส่วนต่างๆ เช่น สมองส่วนคอร์เท็กซ์ มีผลต่อการเรียนรู้
4
(intellectual process) ต่อมพิทิวทอรี (pituitary gland) ซึ่งควบคุมระบบฮอร์โมนทั้งหมด
รวมทั้งฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต และสมองส่วนไฮโปธาลามัสซึ่งควบคุมความโกรธและความรุนแรง
การบำบัดรักษารักษาด้วยกลิ่นหอมนี้ มีอยู่หลายวิธี ได้แก่
การสูดดมโดยตรง ทำได้โดยเปิดฝา ขวดแล้วสูดดมกลิ่นโดยตรง หรือใช้สำลี
ผ้าเช็ดหน้าชุบน้ำมันหอมระเหยแล้วสูดดม วิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายและมีประสิทธิภาพดี
การสูดดมจากไอระเหย มี 2 วิธี คือ วิธีแรก หยดน้ำมันหอมระเหย 5-10 หยด ใน ชามอ่างที่มีน้ำร้อน
หลังจากนั้นก้มหน้าเหนือ ชามอ่างพร้อมกับใช้ผ้าขนหนูสะอาดๆ คลุม เหนือศีรษะ และสูดหายใจลึกๆ วิธีนี้เหมาะ
สำหรับบรรเทาอาการไข้หวัดได้เป็นอย่างดี วิธีที่ 2 คือ ใช้เตาน้ำมันหอมระเหยที่มีน้ำอยู่ 1/3 ส่วน
หยดน้ำมันหอมระเหยลงไป พร้อม ทั้งจุดเทียนใต้เตา เมื่อน้ำร้อนไอน้ำจะพา กลิ่นหอมระเหยไปทั่วบริเวณ ในประเทศ
ญี่ปุ่น มีการใช้กลิ่นส้มหรือกลิ่นกุหลาบในที่ ทำงานพบว่า พนักงานทำงานได้มีประสิทธิ ภาพดีขึ้น
ประเทศไทยจะนำไปใช้ก็น่าจะดี เหมือนกัน
การอาบหรือแช่น้ำ หยดน้ำมันหอม ระเหยประมาณ 20-30 หยด ลงในอ่างน้ำอุ่น จากนั้นแช่ตัวประมาณ 20 นาที
วิธีนี้จะได้รับ ความสดชื่นดีที่สุด อีกทั้งทำให้ร่างกายอบอุ่น สามารถฆ่าเชื้อโรคได้ บรรเทาอาการปวด เมื่อย
ผ่อนคลายความตึงเครียดได้ กลิ่นที่ ใช้ได้ดี คือ กลิ่นโรสแมรี่, เบอร์กามอท, ลาเวนเดอร์ เป็นต้น
การนวด เป็นวิธีที่มี ประสิทธิภาพมาก น้ำ- มันหอมระเหยสามารถ ซึมเข้าสู่ผิวหนังผ่านทาง รูขุมขน นอกจากจะมี
ผลต่อผิวพรรณแล้ว ยัง สามารถเข้าสู่ทางเดิน โลหิต และไปทั่วทุกส่วนของร่างกาย เชื่อกัน
ว่าการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยเป็นวิธีที่ดี ที่สุดในการดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย วิธีใช้ : ให้ เจือจางน้ำมันหอมระเหย 10
หยด กับน้ำมัน หลัก 20 มิลลิลิตร แล้วนวดตามต้องการ (น้ำมันหลัก คือ น้ำมันที่สกัดได้จากพืช เช่น
น้ำมันจากเมล็ดอัลมอนด์, น้ำมันงา, น้ำมัน โจโจบา หรือน้ำมันเมล็ดองุ่น เป็นต้น
ในการใช้น้ำมันหอมระเหย มีข้อควรระวัง เนื่องจากน้ำมันหอมระเหยมีความเข้มข้นสูง
ควรมีการเจือจางก่อนเมื่อต้องใช้กับผิวหนัง โดยตรง มิฉะนั้นอาจทำให้เกิดอาการแพ้ได้
และควรหลีกเลี่ยงที่จะใช้หญิงมีครรภ์ เด็ก ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ เบาหวาน ลมบ้าหมู
ควรจะทำการศึกษารายละเอียด และคำเตือนในการใช้อย่างถี่ถ้วนก่อน
วิธีดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน
ใช้ข้อมูลจากการเรียนที่โรงเรียน และการศึกษาจากทางอินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ของกรมสุขภาพจิต
และโรงพยาบาลต่างๆ ประกอบการเขียนบล็อกเพื่อสุขภาพ และโครงงานคอมพิวตอร์
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-คอมพิวเตอร์
-หูฟัง
งบประมาณ
-ค่าเข้าใช้หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 20 บาท
5
ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน
ลำดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน / ญาณิศา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / / ญาณิศา
3 จัดทำโครงร่างงาน / / ญาณิศา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / ญาณิศา
5 ปรับปรุงทดสอบ / / ญาณิศา
6 การทำเอกสารรายงาน / / / / ญาณิศา
7 ประเมินผลงาน ญาณิศา
8 นำเสนอโครงงาน ญาณิศา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน)
-สามารถรับมือกับความเครียดได้
-มีความรู้ในเรื่องอโรมาเธอราพีมากขึ้น
-สามารถบอกที่มาและความหมายของอรามาเธอราพีได้
-สามารถอธิบายและสาธิตการทำโรมาเธอราพีได้
-บุคคลทั่วไปสามารถนำความรู้และวิธีการบำบัดนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน หรือการประกอบอาชีพได้
สถานที่ดำเนินการ
-โรงเรียนยุพราชวิยาลัย
-หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
-ที่อยู่อาศัยของผู้จัดทำโครงงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
-กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
-กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
-กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ก
6
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน)
นายแพทย์ประเสริฐ. 2560. บำบัดเครียด. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ:Amarin Health
2550. ตำราวิชาการสุคนธบำบัด. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ:กองการแพทย์ทางเลือก
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-เว็บไชต์กรมสุขภาพจิต
https://www.dmh.go.th/
-แบบประเมินความเครียดของกรมสุขภาพจิต
https://www.dmh.go.th/test/qtest5/
-บทความโรคเครียด โรงพยาบาลวิภาวดี
https://www.vibhavadi.com/health316
-บทความอโรมาเธอราพี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/
-บทความอโรมาเธอราพี โรงงานสบู่Factory spa soap
https://www.spasoapfactory.com/article/
-บทความอโรมาเธอราพี น้ำหอมไอดู
https://idofragrance.com/
-บทความอโรมาเธอราพี Pobpad
https://www.pobpad.com/aromatherapy

More Related Content

What's hot

2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_มJaturaphun
 
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-132562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13th3_ze3d_g
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยNarrongdej3110
 
คอม
คอมคอม
คอมtennes
 
คอม
คอมคอม
คอมtennes
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
นาย อวัช วิริยะ ชั้น
นาย อวัช วิริยะ ชั้นนาย อวัช วิริยะ ชั้น
นาย อวัช วิริยะ ชั้นnoeiinoii
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)Piyarat Kuljittipruet
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ploypoll
 
2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอมJaturaphun
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 

What's hot (20)

2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม
 
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-132562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
นาย อวัช วิริยะ ชั้น
นาย อวัช วิริยะ ชั้นนาย อวัช วิริยะ ชั้น
นาย อวัช วิริยะ ชั้น
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
1
11
1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
Work 1 kopthuay
Work 1 kopthuayWork 1 kopthuay
Work 1 kopthuay
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 

Similar to 2562 final-project-yanisa-615-33

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project pleng.mu
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Supharat Rungsri
 
เทคนิคการทำความสะอาด
เทคนิคการทำความสะอาดเทคนิคการทำความสะอาด
เทคนิคการทำความสะอาดRaming Thonglek
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kiattipong Sriwichai
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32ssuser015151
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THpattharawan putthong
 
2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)KUMBELL
 
2562 final-project-32
2562 final-project-322562 final-project-32
2562 final-project-32ssuser015151
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมLift Ohm'
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project Swl Sky
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project Swl Sky
 
2562 final-project (32)
2562 final-project  (32)2562 final-project  (32)
2562 final-project (32)mrpainaty
 
2562 final-project-615-33
2562 final-project-615-332562 final-project-615-33
2562 final-project-615-33ssusere69edb
 
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานSakulrat Janchana
 

Similar to 2562 final-project-yanisa-615-33 (20)

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
เทคนิคการทำความสะอาด
เทคนิคการทำความสะอาดเทคนิคการทำความสะอาด
เทคนิคการทำความสะอาด
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. TH
 
Com work
Com workCom work
Com work
 
2560 project opal
2560 project opal2560 project opal
2560 project opal
 
2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)
 
2562 final-project-32
2562 final-project-322562 final-project-32
2562 final-project-32
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2562 final-project (32)
2562 final-project  (32)2562 final-project  (32)
2562 final-project (32)
 
2562 final-project-615-33
2562 final-project-615-332562 final-project-615-33
2562 final-project-615-33
 
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
 

2562 final-project-yanisa-615-33

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน วิธีคลายเครียดด้วยอโรมาเธอราพี ชื่อผู้ทำโครงงาน ชื่อ นางสาวญาณิศา อูปอินทร์ เลขที่ 33 ชั้น ม.6 ห้อง 15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม - ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวญาณิศา อูปอินทร์ เลขที่ 33 คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) วิธีคลายเครียดด้วยอโรมาเธอราพี ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) How to relieve stress with aromatherapy ประเภทโครงงาน วิทยาศาสตร์สุขภาพ ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาวญาณิศา อูปอินทร์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำโครงงาน) สุคนธบำบัดถูกนำมาใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๗๑ โดยนักเคมีชาวฝรั่งเศส เรเน่มัวริส กาเต้ฟอเซ่ (Rene Maurice Gattefosse) ซึ่งได้ค้นพบคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อของน้ำมันลาเวนเดอร์โดยบังเอิญ และได้รับฉายาว่า "บิดาแห่งสุคนธบำบัด" จากนั้น มากาเร็ต มอรี (Magaret Maury) และ มิเชอลิน อาซีเยร์ (Micheline Arcier) ได้นำศาสตร์แห่งการบำบัดรักษาด้วยกลิ่นเข้าไปยังเกาะอังกฤษ และได้พัฒนาการใช้ผสมผสานกับการนวดในการรักษาคนไข้ จนทำให้ศาสตร์แห่งการบำบัดด้วยกลิ่นและการนวดเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน องค์ประกอบสำคัญที่ใช้ในสุคนธบำบัดคือน้ำมันหอมระเหย (essential oil) และต้องเป็นน้ำมันหอมระเหยที่สกัดมาจากพืชเท่านั้น หากเป็นน้ำหอมที่สังเคราะห์ขึ้นจะไม่ส่งผลต่อการบำบัดรักษา หรือฆ่าเชื้อ หรือทำให้จิตใจสงบ น้ำมันหอมระเหยเข้าสู่ร่างกายโดยทางผิวหนังและการสูดดม หากได้รับผ่านทางผิวหนังก็จะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดไปมีผลต่อระบบอวัยวะต่างๆ และถูกขับออกได้เช่นเดียวกับโมเลกุลของยา ซึ่งจากการสำรวจแบบประเมินความเครียดคนไทยของกรมสุขภาพจิต พบว่าในปัจจุบันมีผู้ที่ประสบปัญหาความเครียดมากขึ้น อันมีสาเหตุมากจาการเรียน การทำงาน ปัญหาครอบครัว ปัญหาเศรษฐกิจ และอื่นๆ หลายหน่วยงานออกมาแนะนำแนวทางการแก้ไขปัญหาความเครียด โดยมีการใช้วิธีอโรมาเธอราพี หรือสุคนธบำบัดเป็นหนึ่งในแนวทางการลดความเครียดที่ง่าย จึงเป็นวิธีที่ค่อนข้างได้รับความนิยม แต่ถึงอย่างนั้นก็ยังคงมีคนส่วนมากที่ไม่รู้จักที่มาของอโรมาเธอราพี และเข้าใจผิดเกี่ยวกับวิธีการใช้งาน
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ศึกษาที่มาและความหมายของอโรมาเธอราพี 2.ศึกษาวิธีการทำอโรมาเธอราพีที่ถูกต้อง 3.ศึกษาประโยชน์และผลกระทบของอโรมาเธอราพี ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของการทำโครงงาน) สืบค้นรวบรวมที่มา ความหมาย ผลต่อร่างกาย ประโยชน์ และข้อควรระวังในการใช้ เพื่อบุคคลทั่วไปบทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเอง หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำโครงงาน) อโรมาเธอราพี (Aromatherapy) คืออะไร? อโรมาเธอราพี (Aromatherapy) หรือ สุคนธบำบัด คือ ศาสตร์ในการใช้น้ำมันหอมระเหยที่ได้จากการสกัดพืชหอม (ขอย้ำว่าต้องเป็นน้ำมันหอมระเหยที่ได้จากการสกัดจากพืชเท่านั้น) เพื่อการบำบัดรักษาหลายอาการ ตั้งแต่ อาการติดเชื้อต่างๆ โรคผิวหนัง ไปจนถึงภูมิคุ้มกันบกพร่องและความเครียด มีการใช้น้ำมันหอมระเหยในยุโรปมากว่าร้อยปี และมีการใช้ในการแพทย์ตะวันออกมานานกว่าพันปี แต่ในประเทศฝรั่งเศสมีการ ใช้สุคนธบำบัดทางการแพทย์อย่างเป็นระบบ และมีการวิจัยกันอย่างกว้างขวางทั่วโลกในทุกๆ ด้าน ส่วนสหรัฐอเมริกานิยมใช้สุคนธบำบัดร่วมกับการแพทย์ทางเลือกอื่นๆ ในการรักษาโรคต่างๆ ในด้านวิทยาศาสตร์ อโรมาเธอราพี เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งของ Herbal Medicine เพราะเป็นการใช้น้ำมันหอมระเหย (essential oil) ที่ได้จากการกลั่นพืชหอม หรือ ด้วยการสกัดด้วยวิธีต่างๆ โดยน้ำมัน (essence) ของพืชเหล่านี้มีคุณสมบัติในการรักษา ส่วนของพืชอาจจะเป็น ดอก ใบ กิ่ง เปลือก แก่น ยาง ผล หรือ เมล็ดก็ได้ แต่เนื่องจากมีปริมาณน้อยจึงต้องใช้วัตถุดิบพืชจำนวนมาก และส่งผลให้มีราคาแพง จึงมีการใช้กลิ่นสังเคราะห์ปนปลอม จึงขอเตือนว่าผู้ที่ต้องการผลบำบัดต้องใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืชเท่านั้น ที่จริงแล้วส่วนที่ทำการบำบัดคือร่างกายเราเอง แต่โมเลกุลเล็กๆ หลายๆ โมเลกุลในน้ำมันหอมระเหยเข้าสู่สมองของเราผ่านประสาทรับกลิ่นที่อยู่ในโพรงจมูกด้านบน ซึ่งส่วนนี้ใกล้สมองมาก และทำให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองทางเภสัชวิทยาของร่างกายมนุษย์ ผลต่อร่างกาย (Physiological Effects) ผลต่อร่างกาย (Physiological Effects) ของน้ำมันหอมระเหย เกิดเมื่อโมเลกุลเล็กๆ นับร้อยเหล่านี้ไปถึงสมองส่วนลิมบิค (limbic system) ซึ่งควบคุมอารมณ์และความรู้สึกโดยจะมีความสัมพันธ์กับประสบการณ์และความจำ และเนื่องจากสมองส่วนนี้เชื่อมต่อโดยตรงกับสมองที่ควบคุมการเต้นของหัวใจ ความดัน การหายใจ ความจำ ระดับความเครียด สมดุลย์ฮอร์โมน ดังนั้นการสูดดมน้ำมันหอมระเหยจึงเป็นวิธีที่ให้ผลทางร่างกายและระบบประสาทที่เร็วที่สุดทางหนึ่ง เพราะหลังจากการสูดดมน้ำมันหอมระเหยจะเข้าสู่กระแสเลือดโดยทางเนื้อเยื่อของปอด และจากระบบประสาทรับกลิ่นจะไปมีผลต่อสมองส่วนต่างๆ เช่น สมองส่วนคอร์เท็กซ์ มีผลต่อการเรียนรู้
  • 4. 4 (intellectual process) ต่อมพิทิวทอรี (pituitary gland) ซึ่งควบคุมระบบฮอร์โมนทั้งหมด รวมทั้งฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต และสมองส่วนไฮโปธาลามัสซึ่งควบคุมความโกรธและความรุนแรง การบำบัดรักษารักษาด้วยกลิ่นหอมนี้ มีอยู่หลายวิธี ได้แก่ การสูดดมโดยตรง ทำได้โดยเปิดฝา ขวดแล้วสูดดมกลิ่นโดยตรง หรือใช้สำลี ผ้าเช็ดหน้าชุบน้ำมันหอมระเหยแล้วสูดดม วิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายและมีประสิทธิภาพดี การสูดดมจากไอระเหย มี 2 วิธี คือ วิธีแรก หยดน้ำมันหอมระเหย 5-10 หยด ใน ชามอ่างที่มีน้ำร้อน หลังจากนั้นก้มหน้าเหนือ ชามอ่างพร้อมกับใช้ผ้าขนหนูสะอาดๆ คลุม เหนือศีรษะ และสูดหายใจลึกๆ วิธีนี้เหมาะ สำหรับบรรเทาอาการไข้หวัดได้เป็นอย่างดี วิธีที่ 2 คือ ใช้เตาน้ำมันหอมระเหยที่มีน้ำอยู่ 1/3 ส่วน หยดน้ำมันหอมระเหยลงไป พร้อม ทั้งจุดเทียนใต้เตา เมื่อน้ำร้อนไอน้ำจะพา กลิ่นหอมระเหยไปทั่วบริเวณ ในประเทศ ญี่ปุ่น มีการใช้กลิ่นส้มหรือกลิ่นกุหลาบในที่ ทำงานพบว่า พนักงานทำงานได้มีประสิทธิ ภาพดีขึ้น ประเทศไทยจะนำไปใช้ก็น่าจะดี เหมือนกัน การอาบหรือแช่น้ำ หยดน้ำมันหอม ระเหยประมาณ 20-30 หยด ลงในอ่างน้ำอุ่น จากนั้นแช่ตัวประมาณ 20 นาที วิธีนี้จะได้รับ ความสดชื่นดีที่สุด อีกทั้งทำให้ร่างกายอบอุ่น สามารถฆ่าเชื้อโรคได้ บรรเทาอาการปวด เมื่อย ผ่อนคลายความตึงเครียดได้ กลิ่นที่ ใช้ได้ดี คือ กลิ่นโรสแมรี่, เบอร์กามอท, ลาเวนเดอร์ เป็นต้น การนวด เป็นวิธีที่มี ประสิทธิภาพมาก น้ำ- มันหอมระเหยสามารถ ซึมเข้าสู่ผิวหนังผ่านทาง รูขุมขน นอกจากจะมี ผลต่อผิวพรรณแล้ว ยัง สามารถเข้าสู่ทางเดิน โลหิต และไปทั่วทุกส่วนของร่างกาย เชื่อกัน ว่าการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยเป็นวิธีที่ดี ที่สุดในการดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย วิธีใช้ : ให้ เจือจางน้ำมันหอมระเหย 10 หยด กับน้ำมัน หลัก 20 มิลลิลิตร แล้วนวดตามต้องการ (น้ำมันหลัก คือ น้ำมันที่สกัดได้จากพืช เช่น น้ำมันจากเมล็ดอัลมอนด์, น้ำมันงา, น้ำมัน โจโจบา หรือน้ำมันเมล็ดองุ่น เป็นต้น ในการใช้น้ำมันหอมระเหย มีข้อควรระวัง เนื่องจากน้ำมันหอมระเหยมีความเข้มข้นสูง ควรมีการเจือจางก่อนเมื่อต้องใช้กับผิวหนัง โดยตรง มิฉะนั้นอาจทำให้เกิดอาการแพ้ได้ และควรหลีกเลี่ยงที่จะใช้หญิงมีครรภ์ เด็ก ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ เบาหวาน ลมบ้าหมู ควรจะทำการศึกษารายละเอียด และคำเตือนในการใช้อย่างถี่ถ้วนก่อน วิธีดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงาน ใช้ข้อมูลจากการเรียนที่โรงเรียน และการศึกษาจากทางอินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ของกรมสุขภาพจิต และโรงพยาบาลต่างๆ ประกอบการเขียนบล็อกเพื่อสุขภาพ และโครงงานคอมพิวตอร์ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -คอมพิวเตอร์ -หูฟัง งบประมาณ -ค่าเข้าใช้หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 20 บาท
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน ลำดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / ญาณิศา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / / ญาณิศา 3 จัดทำโครงร่างงาน / / ญาณิศา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / ญาณิศา 5 ปรับปรุงทดสอบ / / ญาณิศา 6 การทำเอกสารรายงาน / / / / ญาณิศา 7 ประเมินผลงาน ญาณิศา 8 นำเสนอโครงงาน ญาณิศา ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน) -สามารถรับมือกับความเครียดได้ -มีความรู้ในเรื่องอโรมาเธอราพีมากขึ้น -สามารถบอกที่มาและความหมายของอรามาเธอราพีได้ -สามารถอธิบายและสาธิตการทำโรมาเธอราพีได้ -บุคคลทั่วไปสามารถนำความรู้และวิธีการบำบัดนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน หรือการประกอบอาชีพได้ สถานที่ดำเนินการ -โรงเรียนยุพราชวิยาลัย -หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -ที่อยู่อาศัยของผู้จัดทำโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี -กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา -กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ก
  • 6. 6 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน) นายแพทย์ประเสริฐ. 2560. บำบัดเครียด. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ:Amarin Health 2550. ตำราวิชาการสุคนธบำบัด. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ:กองการแพทย์ทางเลือก กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก -เว็บไชต์กรมสุขภาพจิต https://www.dmh.go.th/ -แบบประเมินความเครียดของกรมสุขภาพจิต https://www.dmh.go.th/test/qtest5/ -บทความโรคเครียด โรงพยาบาลวิภาวดี https://www.vibhavadi.com/health316 -บทความอโรมาเธอราพี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/ -บทความอโรมาเธอราพี โรงงานสบู่Factory spa soap https://www.spasoapfactory.com/article/ -บทความอโรมาเธอราพี น้ำหอมไอดู https://idofragrance.com/ -บทความอโรมาเธอราพี Pobpad https://www.pobpad.com/aromatherapy