SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
สรีรวิทยา
(Physiology)
พิษณุ ดวงกระโทก
Sarcroplasmic reticulum (SR)
ทำหน้าที่เก็บไอออนแคลเซียมและขับออกสู่ sarcroplasm
1. Longitudinal SR
2. Lateral sacs (terminal cisterns)
Longitudinal SR
Triads: 1 T-tubule + 2 lateral sacs
Sacrotubular system: T-tubule + SR
Myofibril
1. Dark band: A band ถึง H
zone รวมถึง M line ด้วย
2. Light band: I band เเละ Z
line
ระหว่าง Z line ถึง Z line เรียก
ว่า Sacromere เป็นหน่วยย่อย
ของ myofibril
Cross-bridges -> head of cross-bridge: Actin binding site, ATPase site
บานพับ (Hinges)
Actin filament
Actin: - G-actin, F-actin
Actin filament
Actin: G-actin, F-actin
G actin เป็นหน่วยย่อยโปรตีนที่มีลักษณะเป็นก้อน
กลม เมื่อนำ G actin มาต่อกันเป็นสายยาวโดยใช้
พลังงาน ATP ในการต่อจะเรียกสายยาวนั้นว่า F actin
ซึ่งคล้ายสร้อยไข่มุก
microfilament 1 สาย ประกอบไปด้วย F actin 2
สาย พันกันเป็นเกลียว และเมื่อนำ G actin มาต่อกันเป็น
สายยาวจะพบว่า ปลายด้านหนึ่งซึ่งเป็นปลาย barbed
end จะสามารถสร้าง microfilament ได้เร็วกว่าอีก
ด้านหนึ่งซึ่งเป็นปลาย pointed end ประมาณ 5-10
เท่า ซึ่งโครงสร้างของ microfilament นั้น สามารถเกิด
กระบวนการย้อนกลับไปเป็นหน่วยย่อย G actin เหมือน
เดิมได้ทั้งปลาย barbed end และปลาย pointed end
Sliding filament theory
การเลื่อนของ actin filaments เหนือ
myosin filaments
การหดตัวของกล้ามเนื้อ
แถบ A ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ความยาวของ
เส้นใยโปรตีนสายหนาและสายบางเท่าเดิม ทั้งๆ
ที่ความกว้างของแถบ I และแถบ H มีการหด
สั้นลง
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
1. motor nerve ถูกกระตุ้น
2. เกิดกระแสประสาท -> นำกระแสประสาทไปยัง T-tubule
3. ปล่อย Ca2+ จาก lateral sacs (terminal cisterns) -> Ca2+ จับกับ troponin C
4. tropomyosin เคลื่อน -> เปิด myosin จับกับ actin
5. สร้าง cross-bridge เชื่อมระหว่าง head of cross-bridge และ binding-site บน actin
6. ปลดปล่อยพลังงานจาก ADP+Pi -> พลังงานทำให้เกิดการโค้งงอของ cross-bridge
7. การเลื่อนของ actin filaments เหนือ myosin filaments
8. เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ
แหล่งพลังงานของกล้ามเนื้อ
1. ATP
2. Glycolysis: Aerobic & Anaerobic
3. Lipolysis
4. Phosphoryl creatine (Creatine phosphate)

More Related Content

What's hot

เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุมโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุChutchavarn Wongsaree
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system kasidid20309
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชWanwime Dsk
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 

What's hot (20)

เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
Circulation1
Circulation1 Circulation1
Circulation1
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุมโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
 
Animalia kingdom
Animalia kingdomAnimalia kingdom
Animalia kingdom
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

More from pitsanu duangkartok

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...pitsanu duangkartok
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfpitsanu duangkartok
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfpitsanu duangkartok
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1pitsanu duangkartok
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfpitsanu duangkartok
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfpitsanu duangkartok
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfpitsanu duangkartok
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfpitsanu duangkartok
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfpitsanu duangkartok
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfpitsanu duangkartok
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
การสกัดสารจากพืชสมุนไพร
การสกัดสารจากพืชสมุนไพรการสกัดสารจากพืชสมุนไพร
การสกัดสารจากพืชสมุนไพรpitsanu duangkartok
 

More from pitsanu duangkartok (20)

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
 
steroid.pdf
steroid.pdfsteroid.pdf
steroid.pdf
 
Hormone exercise
Hormone exerciseHormone exercise
Hormone exercise
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
Pharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptxPharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptx
 
Metabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdfMetabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdf
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Common Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdfCommon Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdf
 
การสกัดสารจากพืชสมุนไพร
การสกัดสารจากพืชสมุนไพรการสกัดสารจากพืชสมุนไพร
การสกัดสารจากพืชสมุนไพร
 

สรีรวิทยา (part 2).pdf

  • 2. Sarcroplasmic reticulum (SR) ทำหน้าที่เก็บไอออนแคลเซียมและขับออกสู่ sarcroplasm 1. Longitudinal SR 2. Lateral sacs (terminal cisterns) Longitudinal SR Triads: 1 T-tubule + 2 lateral sacs Sacrotubular system: T-tubule + SR
  • 3. Myofibril 1. Dark band: A band ถึง H zone รวมถึง M line ด้วย 2. Light band: I band เเละ Z line ระหว่าง Z line ถึง Z line เรียก ว่า Sacromere เป็นหน่วยย่อย ของ myofibril
  • 4. Cross-bridges -> head of cross-bridge: Actin binding site, ATPase site บานพับ (Hinges)
  • 5. Actin filament Actin: - G-actin, F-actin
  • 6. Actin filament Actin: G-actin, F-actin G actin เป็นหน่วยย่อยโปรตีนที่มีลักษณะเป็นก้อน กลม เมื่อนำ G actin มาต่อกันเป็นสายยาวโดยใช้ พลังงาน ATP ในการต่อจะเรียกสายยาวนั้นว่า F actin ซึ่งคล้ายสร้อยไข่มุก microfilament 1 สาย ประกอบไปด้วย F actin 2 สาย พันกันเป็นเกลียว และเมื่อนำ G actin มาต่อกันเป็น สายยาวจะพบว่า ปลายด้านหนึ่งซึ่งเป็นปลาย barbed end จะสามารถสร้าง microfilament ได้เร็วกว่าอีก ด้านหนึ่งซึ่งเป็นปลาย pointed end ประมาณ 5-10 เท่า ซึ่งโครงสร้างของ microfilament นั้น สามารถเกิด กระบวนการย้อนกลับไปเป็นหน่วยย่อย G actin เหมือน เดิมได้ทั้งปลาย barbed end และปลาย pointed end
  • 7. Sliding filament theory การเลื่อนของ actin filaments เหนือ myosin filaments การหดตัวของกล้ามเนื้อ แถบ A ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ความยาวของ เส้นใยโปรตีนสายหนาและสายบางเท่าเดิม ทั้งๆ ที่ความกว้างของแถบ I และแถบ H มีการหด สั้นลง
  • 8. กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ 1. motor nerve ถูกกระตุ้น 2. เกิดกระแสประสาท -> นำกระแสประสาทไปยัง T-tubule 3. ปล่อย Ca2+ จาก lateral sacs (terminal cisterns) -> Ca2+ จับกับ troponin C 4. tropomyosin เคลื่อน -> เปิด myosin จับกับ actin 5. สร้าง cross-bridge เชื่อมระหว่าง head of cross-bridge และ binding-site บน actin 6. ปลดปล่อยพลังงานจาก ADP+Pi -> พลังงานทำให้เกิดการโค้งงอของ cross-bridge 7. การเลื่อนของ actin filaments เหนือ myosin filaments 8. เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ
  • 9. แหล่งพลังงานของกล้ามเนื้อ 1. ATP 2. Glycolysis: Aerobic & Anaerobic 3. Lipolysis 4. Phosphoryl creatine (Creatine phosphate)