SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์
(Homeostasis)
Pitsanu Duangkartok
การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์
- ภาวะธํารงดุล (homeo=ไม่เปลี่ยนแปลง stasis=ดำรงอยู่) ความพยายามที่จะทำให้เกิดความสมดุลของสิ่งต่างๆในร่างกาย
เพื่อให้ร่างกายอยู่ในสภาพปกติ ต้องอาศัยกลไกต่างๆในการควบคุมร่างกาย ศูนย์กลางการควบคุม อยู่ในสมองส่วน
hypothalamus
- Excretion คือการกำจัดของเสียจาก metabolism
- Secretion คือการขับออก การระเหยออก เช่น การขับเหงื่อ
- ไต ทำหน้าที่ควบคุมน้ำ แร่ธาตุ
-Thermoregulation การควบคุมอุณหภูมิ ควบคุมโดยผิวหนังและกล้ามเนื้อ ทำหน้าที่เก็บและระบายความร้อน ถ้าอุณหภูมิ
สูงไป จะทำให้โปรตีนเสียสภาพ
- ตับและตับอ่อน ทำหน้าที่ควบคุมระดับ Glucose ในร่างกาย
ระบบควบคุมสมดุลภายในรางกาย (homeostatic control system) คือการทํางานระหวาง ตัวรับรู(receptor) ศูนย
ควบคุม (integrating center) และหนวยตอบสนอง (effector)
- เริ่มจากมีการเปลี่ยนแปลงของปจจัยภายนอกหรือภายในรางกายที่ตางจาก set point สิ่งเรา (stimulus) จะไปกระตุนตัวรับ
รูซึ่งจะแปลงสัญญาณแลวสงสัญญาณไปยังศูนยควบคุม(สมอง) ซึ่งทําหนาที่รวบรวมขอมูล แปลผล และสงคําสั่งเพื่อใหเกิดการ
ตอบสนองไปยังหนวยตอบสนอง เพื่อปรับสมดุลของรางกายใหอยูในภาวะปกติ
FEEDBACK MECHANISM
- negative feedback mechanism คือการปรับให้กลับมาสู่ set point พบได้ทั่วร่างกายเช่น การรักษาอุณหภูมิในร่างกาย
การรักษาระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด ตับอ่อนเป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อ
- positive feedback mechanism คือกระตุ้นให้มีการทำงานของต่อมไร้ท่อ(ผ่านทางเลือด)มากขึ้น ออกห่าง set point
มากขึ้น เช่น ฮอร์โมนออกซิโทซิน ทารกดูดนมมารดาอยู่สม่ำเสมอ จะกระตุ้นให้สร้างออกซิโทซินตลอดเวลาหรือมากขึ้น
THERMOREGULATION อุณหภูมิร่างกายมนุษย์ประมาณ 37 องศา
- สัตว์เลือดเย็น (poikilotherm) หรือ heterotherms หมายถึง สัตว์ที่มีอุณหภูมิของร่างกายเปลี่ยนแปลงไปตาม
สภาพแวดล้อม ได้แก่ ปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน
- ectotherm เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีอุณหภูมิของร่างกายขึ้นอยู่กับแหล่งภายนอก เช่นแสงแดดหรือพื้นผิวหินที่ร้อน
- สัตว์เลือดอุ่น (homeotherm) หมายถึงสัตว์ที่มีการรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ ได้แก่ สัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
- endotherm เป็นสิ่งมีชีวิตที่รักษาอุณหภูมิของร่างกายในระดับที่น่าพอใจโดยไม่ต้องอาศัยความร้อนจากภายนอก
การส่งถ่ายความร้อนในร่างกาย (Body Heat transfer) ความร้อนในร่างกายสามารถเคลื่อนที่ได้ 4 รูปแบบ
1. การนำ (Conduction) เป็นการส่งถ่ายอุณหภูมิโดยที่ตัวกลางนั้นอยู่กับที่ เช่น การนำความร้อนผ่านกำแพงบ้าน
2. การพา (Convection) เป็นการส่งถ่ายอุณหภูมิโดยที่ตัวกลางนั้นเคลื่อนที่ไปกับอุณหภูมิด้วย เช่น น้ำเลือดที่มีอุณหภูมิไหล
ผ่านเส้นเลือด
3. การแผ่รังสี (Radiation) เป็นการถ่ายเทอุณหภูมิที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น ดวงอาทิตย์การแผ่รังสีมายังโลก
4. การระเหย (Evaporation) เป็นการเสียความร้อนโดยไอน้ำทางผิวหนัง เช่น การขับเหงื่อ
อุณหภูมิในอวัยวะสำคัญ
ส่งความร้อนไปผิวหนังเพื่อลดอุณหภูมิ
ผ่านทาง cutaneous vessel
Body shell (skin)
อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
ตามสิ่งแวดล้อม
SWEATING การขับเหงื่อ
- เมื่อร่างกายร้อน ต่อมเหงื่อจะกระตุ้นการขับเหงื่อหรืออาจอยู่ใน
รูปของแก๊ส เพื่อรักษาความร้อนในร่างกาย เราสามารถรับรู้ได้ผ่าน
ผิวหนัง เมื่อผิวหนังคลายความร้อนจะรู้สึกเย็นลง หลอดเลือด
ขยายตัว (Vasodilation)
SHIVERING การสั่น
- Hypothalamus ส่งสัญญาณไปยังกล้ามเนื้อและผิวหนัง, ระบบ
หายใจ, ระบบไหลเวียนโลหิต ทำให้หลอดเลือดหดตัว ลดการ
ไหลเวียนของเลือดเพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อน กล้ามเนื้อรอบ
รูขุมขนหดตัว ทำให้เกิดการสั่น
- มีการปล่อย Thyroid hormones เพื่อเพิ่ม metabolism และมี
การหดตัวของหลอดเลือด (Vasoconstriction) เพื่อทำให้อุ่นขึ้น
OSMOREGULATION การควบคุมสมดุลของเหลว
- water intoxication เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับสารน้ำในปริมาณที่
มากจนกระทั่งเป็นอันตรายต่อเซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เซลล์สมอง ทำให้ระดับของ Na ในเลือดลดต่ำ เรียกภาวะดังกล่าวว่า hyponatremia อาจทำให้เกิดการตายของเซลล์ได้
Types of Osmotic Solutions
1. สารละลายมีความดันออสโมติกเท่ากับความดันออสโมติกในเซลล์ เรียกว่า isotonic solution เซลล์ยังคงมีรูปร่าง
เหมือนเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของเซลล์
2. สารละลายมีความดันออสโมติกต่ำกว่าความดันออสโมติกในเซลล์เรียกว่า hypotonic solution เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น
กว่าเดิมหรือเซลล์แตกได้
3. สารละลายมีความดันออสโมติกมากกว่าความดันออสโมติกในเซลล์เรียกว่า hypertonic solution สิ่งที่เกิดขึ้นจะทำให้
ขนาดของเซลล์เล็กลงกว่าเดิม
WHY IS WATER IMPORTANT?
- น้ำมีอยู่ในร่างกายมนุษย์ถึง 70 % น้ำเป็นตัวกลางในการเกิดปฏิกิริยาเคมีทุกชนิดในกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกาย
- Dehydration เป็นภาวะขาดน้ำ อาจทำให้เซลล์เสียหาย
- ร่างกายได้รับน้ำหลายทางด้วยกัน น้ำที่เป็นส่วนประกอบในอาหาร น้ำดื่ม
- ร่างกายสูญเสียน้ำหลายทางด้วยกัน ผิวหนังในรูปของเหงื่อ การหายใจออก อุจจาระ ปัสสาวะ
-น้ำสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้
- ไตทำหน้าที่ในการรักษาสมดุลน้ำ
-น้ำมีหลายประเภท ได้แก่
⇾ 1.ส่วนของน้ำนอกเซลล์ (extracellular fluid, ECF) ประกอบด้วย พลาสมา น้ำระหว่างเซลล์(interstitial fluid (ISF))
และส่วนน้อยอยู่ใน transcellular fluid ได้แก่ น้ำในทางเดินอาหาร สมอง และไขสันหลัง
⇾ 2.ส่วนของน้ำในเซลล์ (intracellular fluid, ICF) เปลี่ยนแปลงตามอายุ เพศ และปริมาณไขมันในร่างกาย
DEHYDRATION AND ITS CAUSES
- ในรายที่มีความรุนแรงน้อยมักมีอาการวิงเวียน ปากแห้ง ปัสสาวะมีสีเข้ม ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจทำให้เสียชีวิต
- สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะขาดน้ำ ได้แก่ ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป ดื่มน้ำน้อยเกินไป ท้องเสีย ทานอาหารที่มีรสเค็ม อากาศ
แห้ง caffeine and alcohol
WATER REGULATION
- ถ้าร่างกายขาดน้ำ จะทำให้ปริมาตรของเลือดลดลง ความเข้มข้นของเลือดจึง
เพิ่มขึ้น ทำให้แรงดันออสโมติกของเลือดสูงขึ้น Osmoreceptors ในไฮโพทา
ลามัสที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงแรงดันออสโมติกจะกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนท้าย
ให้ปล่อยฮอร์โมน antidiruetic hormone,ADH และส่งไปยังท่อของหน่วยไต
ทำให้เกิดการดูดน้ำกลับเข้าเลือดมากขึ้น ทำให้ปริมาตรของเลือดเพิ่มขึ้น และลด
แรงดันออสโมติกของเลือดพร้อมกับขับถ่ายปัสสาวะออกน้อยลง
- Renin ไปย่อย angiotensinogen -> angiotensin I -> angiotensin II
-> Adrenal gland -> aldosterone ดูดกลับ Na+
- Juxtaglomerular Apparatus มีหน้าที่ควบคุมความดันเลือด ภายในบรรจุ
renin เมื่อมีขาดน้ำ จะกระตุ้นให้หลั่ง renin เข้าสู่กระแสเลือด ต่อมาจะไปเร่ง
ปฏิกริยาเกิด hydrolysis ของ angiotensinogen ให้เป็น angiotensin I ->
angiotensin II เป็นตัว vasocontrictor ที่ควบคุมทั้ง renal และ systemic
vascular resistance ทำให้เกิดการหดตัวของ arterioles เพื่อเพิ่มความดันเลือด
- โรคลมแดด (Heatstroke) เป็นภาวะที่เกิดจากร่างกายมีความร้อนสูงเกินไป
มีอาการสับสน กระวนกระวาย เพ้อ และชักหรือหมดสติได้ ร่วมกับภาวะ
หัวใจเต้นเร็ว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยบางรายจะมีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ผิวหนังแดงและร้อนแต่แห้ง
Glucoregulation
- กิจกรรมที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของ glucose ได้แก่ การกิน การออกกำลังกายที่หนักเกินไป
- อินซูลินซึ่งผลิตจาก 𝛃-cell ในตับอ่อนเป็นฮอร์โมนที่สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือด กระตุ้นการสร้างไกลโคเจน
(glycogenesis) ไปเก็บไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อ ป้องกันการสลายไขมัน และยับยั้งการสร้างน้ำตาล (gluconeogenesis) ส่งผล
ให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดลดลง ในปัจจุบันมีการผลิตฮอร์โมนดังกล่าวจากสัตว์เพื่อใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะเบาหวาน (diabetes
mellitus) ส่วนกลูคากอนซึ่งผลิตจาก α-cell ในตับอ่อน ทำหน้าที่ส่งเสริมการสร้างน้ำตาลโดยกระตุ้นการสลายโปรตีน สลาย
ไขมัน
- ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) รักษาโดยการให้กลูโคส
มี Angiotensin converting
enzyme ช่วยเร่ง
- ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) รักษาโดยปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ออกกำลังกายเป็นประจำ
- crenation คือการหดตัวของเม็ดเลือดแดงที่มีขอบหยักเมื่อสัมผัสกับสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงมากๆ

More Related Content

What's hot

13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินVankaew Ping
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมวิศิษฏ์ ชูทอง
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สoraneehussem
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)Chinnawat Charoennit
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
1 ecosystem 1
1 ecosystem 11 ecosystem 1
1 ecosystem 1
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 

Similar to การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok

Homeostasis 2014
Homeostasis 2014Homeostasis 2014
Homeostasis 2014ngibellini
 
Homeostasis Body Sys 09
Homeostasis Body Sys 09Homeostasis Body Sys 09
Homeostasis Body Sys 09Howard Knodle
 
Osmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdf
Osmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdfOsmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdf
Osmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdfNAGENDRA SINGH
 
Chapter10 Power Point Lecture
Chapter10 Power Point LectureChapter10 Power Point Lecture
Chapter10 Power Point LectureGladys Escalante
 
ANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptx
ANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptxANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptx
ANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptxSwetaba Besh
 
Homeostasis presentation
Homeostasis presentationHomeostasis presentation
Homeostasis presentationSpyros Ktenas
 
2014 The Human Body Systems ppt.ppt
2014 The Human Body Systems ppt.ppt2014 The Human Body Systems ppt.ppt
2014 The Human Body Systems ppt.pptanami87
 
Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33
Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33 Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33
Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33 Stephanie Beck
 
Chapter basic animal form and other improtant
Chapter basic animal form and other improtantChapter basic animal form and other improtant
Chapter basic animal form and other improtantMazzRudy
 
Anatomy & Physiology of Endocrine System.pptx
Anatomy & Physiology of Endocrine System.pptxAnatomy & Physiology of Endocrine System.pptx
Anatomy & Physiology of Endocrine System.pptxNagamani Manjunath
 
13 Endocrine System.ppt
13 Endocrine System.ppt13 Endocrine System.ppt
13 Endocrine System.pptShama
 

Similar to การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok (20)

Homeostasis
HomeostasisHomeostasis
Homeostasis
 
Homeostasis 2014
Homeostasis 2014Homeostasis 2014
Homeostasis 2014
 
Homeostasis Body Sys 09
Homeostasis Body Sys 09Homeostasis Body Sys 09
Homeostasis Body Sys 09
 
Osmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdf
Osmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdfOsmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdf
Osmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdf
 
homeostatis
homeostatishomeostatis
homeostatis
 
Chapter10 Power Point Lecture
Chapter10 Power Point LectureChapter10 Power Point Lecture
Chapter10 Power Point Lecture
 
ANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptx
ANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptxANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptx
ANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptx
 
Homeostasis Essay
Homeostasis EssayHomeostasis Essay
Homeostasis Essay
 
Homeostasis presentation
Homeostasis presentationHomeostasis presentation
Homeostasis presentation
 
Control & Coordination
Control & CoordinationControl & Coordination
Control & Coordination
 
OVERVIEW OF HOMEOSTASIS.pptx
OVERVIEW OF HOMEOSTASIS.pptxOVERVIEW OF HOMEOSTASIS.pptx
OVERVIEW OF HOMEOSTASIS.pptx
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
2014 The Human Body Systems ppt.ppt
2014 The Human Body Systems ppt.ppt2014 The Human Body Systems ppt.ppt
2014 The Human Body Systems ppt.ppt
 
Endocrine System
Endocrine SystemEndocrine System
Endocrine System
 
Homeostasis Experiment
Homeostasis ExperimentHomeostasis Experiment
Homeostasis Experiment
 
Zoo (4 handouts)
Zoo (4 handouts)Zoo (4 handouts)
Zoo (4 handouts)
 
Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33
Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33 Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33
Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33
 
Chapter basic animal form and other improtant
Chapter basic animal form and other improtantChapter basic animal form and other improtant
Chapter basic animal form and other improtant
 
Anatomy & Physiology of Endocrine System.pptx
Anatomy & Physiology of Endocrine System.pptxAnatomy & Physiology of Endocrine System.pptx
Anatomy & Physiology of Endocrine System.pptx
 
13 Endocrine System.ppt
13 Endocrine System.ppt13 Endocrine System.ppt
13 Endocrine System.ppt
 

More from pitsanu duangkartok

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...pitsanu duangkartok
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfpitsanu duangkartok
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfpitsanu duangkartok
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1pitsanu duangkartok
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfpitsanu duangkartok
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfpitsanu duangkartok
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfpitsanu duangkartok
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfpitsanu duangkartok
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfpitsanu duangkartok
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfpitsanu duangkartok
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)pitsanu duangkartok
 

More from pitsanu duangkartok (20)

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
 
steroid.pdf
steroid.pdfsteroid.pdf
steroid.pdf
 
Hormone exercise
Hormone exerciseHormone exercise
Hormone exercise
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
Pharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptxPharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptx
 
Metabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdfMetabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdf
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Common Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdfCommon Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdf
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)
 

Recently uploaded

URLs and Routing in the Odoo 17 Website App
URLs and Routing in the Odoo 17 Website AppURLs and Routing in the Odoo 17 Website App
URLs and Routing in the Odoo 17 Website AppCeline George
 
Employee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxEmployee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxNirmalaLoungPoorunde1
 
Science 7 - LAND and SEA BREEZE and its Characteristics
Science 7 - LAND and SEA BREEZE and its CharacteristicsScience 7 - LAND and SEA BREEZE and its Characteristics
Science 7 - LAND and SEA BREEZE and its CharacteristicsKarinaGenton
 
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptxOrganic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptxVS Mahajan Coaching Centre
 
_Math 4-Q4 Week 5.pptx Steps in Collecting Data
_Math 4-Q4 Week 5.pptx Steps in Collecting Data_Math 4-Q4 Week 5.pptx Steps in Collecting Data
_Math 4-Q4 Week 5.pptx Steps in Collecting DataJhengPantaleon
 
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher EducationIntroduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Educationpboyjonauth
 
Paris 2024 Olympic Geographies - an activity
Paris 2024 Olympic Geographies - an activityParis 2024 Olympic Geographies - an activity
Paris 2024 Olympic Geographies - an activityGeoBlogs
 
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPTECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPTiammrhaywood
 
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and ActinidesSeparation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and ActinidesFatimaKhan178732
 
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️9953056974 Low Rate Call Girls In Saket, Delhi NCR
 
Sanyam Choudhary Chemistry practical.pdf
Sanyam Choudhary Chemistry practical.pdfSanyam Choudhary Chemistry practical.pdf
Sanyam Choudhary Chemistry practical.pdfsanyamsingh5019
 
A Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy ReformA Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy ReformChameera Dedduwage
 
Presiding Officer Training module 2024 lok sabha elections
Presiding Officer Training module 2024 lok sabha electionsPresiding Officer Training module 2024 lok sabha elections
Presiding Officer Training module 2024 lok sabha electionsanshu789521
 
SOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptx
SOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptxSOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptx
SOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptxiammrhaywood
 
Concept of Vouching. B.Com(Hons) /B.Compdf
Concept of Vouching. B.Com(Hons) /B.CompdfConcept of Vouching. B.Com(Hons) /B.Compdf
Concept of Vouching. B.Com(Hons) /B.CompdfUmakantAnnand
 
Hybridoma Technology ( Production , Purification , and Application )
Hybridoma Technology  ( Production , Purification , and Application  ) Hybridoma Technology  ( Production , Purification , and Application  )
Hybridoma Technology ( Production , Purification , and Application ) Sakshi Ghasle
 
mini mental status format.docx
mini    mental       status     format.docxmini    mental       status     format.docx
mini mental status format.docxPoojaSen20
 
How to Configure Email Server in Odoo 17
How to Configure Email Server in Odoo 17How to Configure Email Server in Odoo 17
How to Configure Email Server in Odoo 17Celine George
 

Recently uploaded (20)

URLs and Routing in the Odoo 17 Website App
URLs and Routing in the Odoo 17 Website AppURLs and Routing in the Odoo 17 Website App
URLs and Routing in the Odoo 17 Website App
 
Employee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxEmployee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptx
 
Science 7 - LAND and SEA BREEZE and its Characteristics
Science 7 - LAND and SEA BREEZE and its CharacteristicsScience 7 - LAND and SEA BREEZE and its Characteristics
Science 7 - LAND and SEA BREEZE and its Characteristics
 
9953330565 Low Rate Call Girls In Rohini Delhi NCR
9953330565 Low Rate Call Girls In Rohini  Delhi NCR9953330565 Low Rate Call Girls In Rohini  Delhi NCR
9953330565 Low Rate Call Girls In Rohini Delhi NCR
 
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptxOrganic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
 
_Math 4-Q4 Week 5.pptx Steps in Collecting Data
_Math 4-Q4 Week 5.pptx Steps in Collecting Data_Math 4-Q4 Week 5.pptx Steps in Collecting Data
_Math 4-Q4 Week 5.pptx Steps in Collecting Data
 
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher EducationIntroduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
 
Paris 2024 Olympic Geographies - an activity
Paris 2024 Olympic Geographies - an activityParis 2024 Olympic Geographies - an activity
Paris 2024 Olympic Geographies - an activity
 
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPTECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
 
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and ActinidesSeparation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
Separation of Lanthanides/ Lanthanides and Actinides
 
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
 
Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1
Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1
Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1
 
Sanyam Choudhary Chemistry practical.pdf
Sanyam Choudhary Chemistry practical.pdfSanyam Choudhary Chemistry practical.pdf
Sanyam Choudhary Chemistry practical.pdf
 
A Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy ReformA Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy Reform
 
Presiding Officer Training module 2024 lok sabha elections
Presiding Officer Training module 2024 lok sabha electionsPresiding Officer Training module 2024 lok sabha elections
Presiding Officer Training module 2024 lok sabha elections
 
SOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptx
SOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptxSOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptx
SOCIAL AND HISTORICAL CONTEXT - LFTVD.pptx
 
Concept of Vouching. B.Com(Hons) /B.Compdf
Concept of Vouching. B.Com(Hons) /B.CompdfConcept of Vouching. B.Com(Hons) /B.Compdf
Concept of Vouching. B.Com(Hons) /B.Compdf
 
Hybridoma Technology ( Production , Purification , and Application )
Hybridoma Technology  ( Production , Purification , and Application  ) Hybridoma Technology  ( Production , Purification , and Application  )
Hybridoma Technology ( Production , Purification , and Application )
 
mini mental status format.docx
mini    mental       status     format.docxmini    mental       status     format.docx
mini mental status format.docx
 
How to Configure Email Server in Odoo 17
How to Configure Email Server in Odoo 17How to Configure Email Server in Odoo 17
How to Configure Email Server in Odoo 17
 

การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok

  • 2. การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ - ภาวะธํารงดุล (homeo=ไม่เปลี่ยนแปลง stasis=ดำรงอยู่) ความพยายามที่จะทำให้เกิดความสมดุลของสิ่งต่างๆในร่างกาย เพื่อให้ร่างกายอยู่ในสภาพปกติ ต้องอาศัยกลไกต่างๆในการควบคุมร่างกาย ศูนย์กลางการควบคุม อยู่ในสมองส่วน hypothalamus - Excretion คือการกำจัดของเสียจาก metabolism - Secretion คือการขับออก การระเหยออก เช่น การขับเหงื่อ - ไต ทำหน้าที่ควบคุมน้ำ แร่ธาตุ -Thermoregulation การควบคุมอุณหภูมิ ควบคุมโดยผิวหนังและกล้ามเนื้อ ทำหน้าที่เก็บและระบายความร้อน ถ้าอุณหภูมิ สูงไป จะทำให้โปรตีนเสียสภาพ - ตับและตับอ่อน ทำหน้าที่ควบคุมระดับ Glucose ในร่างกาย ระบบควบคุมสมดุลภายในรางกาย (homeostatic control system) คือการทํางานระหวาง ตัวรับรู(receptor) ศูนย ควบคุม (integrating center) และหนวยตอบสนอง (effector) - เริ่มจากมีการเปลี่ยนแปลงของปจจัยภายนอกหรือภายในรางกายที่ตางจาก set point สิ่งเรา (stimulus) จะไปกระตุนตัวรับ รูซึ่งจะแปลงสัญญาณแลวสงสัญญาณไปยังศูนยควบคุม(สมอง) ซึ่งทําหนาที่รวบรวมขอมูล แปลผล และสงคําสั่งเพื่อใหเกิดการ ตอบสนองไปยังหนวยตอบสนอง เพื่อปรับสมดุลของรางกายใหอยูในภาวะปกติ FEEDBACK MECHANISM - negative feedback mechanism คือการปรับให้กลับมาสู่ set point พบได้ทั่วร่างกายเช่น การรักษาอุณหภูมิในร่างกาย การรักษาระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด ตับอ่อนเป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อ - positive feedback mechanism คือกระตุ้นให้มีการทำงานของต่อมไร้ท่อ(ผ่านทางเลือด)มากขึ้น ออกห่าง set point มากขึ้น เช่น ฮอร์โมนออกซิโทซิน ทารกดูดนมมารดาอยู่สม่ำเสมอ จะกระตุ้นให้สร้างออกซิโทซินตลอดเวลาหรือมากขึ้น
  • 3. THERMOREGULATION อุณหภูมิร่างกายมนุษย์ประมาณ 37 องศา - สัตว์เลือดเย็น (poikilotherm) หรือ heterotherms หมายถึง สัตว์ที่มีอุณหภูมิของร่างกายเปลี่ยนแปลงไปตาม สภาพแวดล้อม ได้แก่ ปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน - ectotherm เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีอุณหภูมิของร่างกายขึ้นอยู่กับแหล่งภายนอก เช่นแสงแดดหรือพื้นผิวหินที่ร้อน - สัตว์เลือดอุ่น (homeotherm) หมายถึงสัตว์ที่มีการรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ ได้แก่ สัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม - endotherm เป็นสิ่งมีชีวิตที่รักษาอุณหภูมิของร่างกายในระดับที่น่าพอใจโดยไม่ต้องอาศัยความร้อนจากภายนอก การส่งถ่ายความร้อนในร่างกาย (Body Heat transfer) ความร้อนในร่างกายสามารถเคลื่อนที่ได้ 4 รูปแบบ 1. การนำ (Conduction) เป็นการส่งถ่ายอุณหภูมิโดยที่ตัวกลางนั้นอยู่กับที่ เช่น การนำความร้อนผ่านกำแพงบ้าน 2. การพา (Convection) เป็นการส่งถ่ายอุณหภูมิโดยที่ตัวกลางนั้นเคลื่อนที่ไปกับอุณหภูมิด้วย เช่น น้ำเลือดที่มีอุณหภูมิไหล ผ่านเส้นเลือด 3. การแผ่รังสี (Radiation) เป็นการถ่ายเทอุณหภูมิที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น ดวงอาทิตย์การแผ่รังสีมายังโลก 4. การระเหย (Evaporation) เป็นการเสียความร้อนโดยไอน้ำทางผิวหนัง เช่น การขับเหงื่อ อุณหภูมิในอวัยวะสำคัญ ส่งความร้อนไปผิวหนังเพื่อลดอุณหภูมิ ผ่านทาง cutaneous vessel Body shell (skin) อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ตามสิ่งแวดล้อม
  • 4. SWEATING การขับเหงื่อ - เมื่อร่างกายร้อน ต่อมเหงื่อจะกระตุ้นการขับเหงื่อหรืออาจอยู่ใน รูปของแก๊ส เพื่อรักษาความร้อนในร่างกาย เราสามารถรับรู้ได้ผ่าน ผิวหนัง เมื่อผิวหนังคลายความร้อนจะรู้สึกเย็นลง หลอดเลือด ขยายตัว (Vasodilation) SHIVERING การสั่น - Hypothalamus ส่งสัญญาณไปยังกล้ามเนื้อและผิวหนัง, ระบบ หายใจ, ระบบไหลเวียนโลหิต ทำให้หลอดเลือดหดตัว ลดการ ไหลเวียนของเลือดเพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อน กล้ามเนื้อรอบ รูขุมขนหดตัว ทำให้เกิดการสั่น - มีการปล่อย Thyroid hormones เพื่อเพิ่ม metabolism และมี การหดตัวของหลอดเลือด (Vasoconstriction) เพื่อทำให้อุ่นขึ้น OSMOREGULATION การควบคุมสมดุลของเหลว - water intoxication เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับสารน้ำในปริมาณที่ มากจนกระทั่งเป็นอันตรายต่อเซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เซลล์สมอง ทำให้ระดับของ Na ในเลือดลดต่ำ เรียกภาวะดังกล่าวว่า hyponatremia อาจทำให้เกิดการตายของเซลล์ได้ Types of Osmotic Solutions 1. สารละลายมีความดันออสโมติกเท่ากับความดันออสโมติกในเซลล์ เรียกว่า isotonic solution เซลล์ยังคงมีรูปร่าง เหมือนเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของเซลล์ 2. สารละลายมีความดันออสโมติกต่ำกว่าความดันออสโมติกในเซลล์เรียกว่า hypotonic solution เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น กว่าเดิมหรือเซลล์แตกได้ 3. สารละลายมีความดันออสโมติกมากกว่าความดันออสโมติกในเซลล์เรียกว่า hypertonic solution สิ่งที่เกิดขึ้นจะทำให้ ขนาดของเซลล์เล็กลงกว่าเดิม WHY IS WATER IMPORTANT? - น้ำมีอยู่ในร่างกายมนุษย์ถึง 70 % น้ำเป็นตัวกลางในการเกิดปฏิกิริยาเคมีทุกชนิดในกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกาย - Dehydration เป็นภาวะขาดน้ำ อาจทำให้เซลล์เสียหาย - ร่างกายได้รับน้ำหลายทางด้วยกัน น้ำที่เป็นส่วนประกอบในอาหาร น้ำดื่ม - ร่างกายสูญเสียน้ำหลายทางด้วยกัน ผิวหนังในรูปของเหงื่อ การหายใจออก อุจจาระ ปัสสาวะ -น้ำสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้
  • 5. - ไตทำหน้าที่ในการรักษาสมดุลน้ำ -น้ำมีหลายประเภท ได้แก่ ⇾ 1.ส่วนของน้ำนอกเซลล์ (extracellular fluid, ECF) ประกอบด้วย พลาสมา น้ำระหว่างเซลล์(interstitial fluid (ISF)) และส่วนน้อยอยู่ใน transcellular fluid ได้แก่ น้ำในทางเดินอาหาร สมอง และไขสันหลัง ⇾ 2.ส่วนของน้ำในเซลล์ (intracellular fluid, ICF) เปลี่ยนแปลงตามอายุ เพศ และปริมาณไขมันในร่างกาย DEHYDRATION AND ITS CAUSES - ในรายที่มีความรุนแรงน้อยมักมีอาการวิงเวียน ปากแห้ง ปัสสาวะมีสีเข้ม ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจทำให้เสียชีวิต - สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะขาดน้ำ ได้แก่ ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป ดื่มน้ำน้อยเกินไป ท้องเสีย ทานอาหารที่มีรสเค็ม อากาศ แห้ง caffeine and alcohol WATER REGULATION - ถ้าร่างกายขาดน้ำ จะทำให้ปริมาตรของเลือดลดลง ความเข้มข้นของเลือดจึง เพิ่มขึ้น ทำให้แรงดันออสโมติกของเลือดสูงขึ้น Osmoreceptors ในไฮโพทา ลามัสที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงแรงดันออสโมติกจะกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนท้าย ให้ปล่อยฮอร์โมน antidiruetic hormone,ADH และส่งไปยังท่อของหน่วยไต ทำให้เกิดการดูดน้ำกลับเข้าเลือดมากขึ้น ทำให้ปริมาตรของเลือดเพิ่มขึ้น และลด แรงดันออสโมติกของเลือดพร้อมกับขับถ่ายปัสสาวะออกน้อยลง - Renin ไปย่อย angiotensinogen -> angiotensin I -> angiotensin II -> Adrenal gland -> aldosterone ดูดกลับ Na+ - Juxtaglomerular Apparatus มีหน้าที่ควบคุมความดันเลือด ภายในบรรจุ renin เมื่อมีขาดน้ำ จะกระตุ้นให้หลั่ง renin เข้าสู่กระแสเลือด ต่อมาจะไปเร่ง ปฏิกริยาเกิด hydrolysis ของ angiotensinogen ให้เป็น angiotensin I -> angiotensin II เป็นตัว vasocontrictor ที่ควบคุมทั้ง renal และ systemic vascular resistance ทำให้เกิดการหดตัวของ arterioles เพื่อเพิ่มความดันเลือด - โรคลมแดด (Heatstroke) เป็นภาวะที่เกิดจากร่างกายมีความร้อนสูงเกินไป มีอาการสับสน กระวนกระวาย เพ้อ และชักหรือหมดสติได้ ร่วมกับภาวะ หัวใจเต้นเร็ว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยบางรายจะมีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ผิวหนังแดงและร้อนแต่แห้ง Glucoregulation - กิจกรรมที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของ glucose ได้แก่ การกิน การออกกำลังกายที่หนักเกินไป - อินซูลินซึ่งผลิตจาก 𝛃-cell ในตับอ่อนเป็นฮอร์โมนที่สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือด กระตุ้นการสร้างไกลโคเจน (glycogenesis) ไปเก็บไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อ ป้องกันการสลายไขมัน และยับยั้งการสร้างน้ำตาล (gluconeogenesis) ส่งผล ให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดลดลง ในปัจจุบันมีการผลิตฮอร์โมนดังกล่าวจากสัตว์เพื่อใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะเบาหวาน (diabetes mellitus) ส่วนกลูคากอนซึ่งผลิตจาก α-cell ในตับอ่อน ทำหน้าที่ส่งเสริมการสร้างน้ำตาลโดยกระตุ้นการสลายโปรตีน สลาย ไขมัน - ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) รักษาโดยการให้กลูโคส มี Angiotensin converting enzyme ช่วยเร่ง
  • 6. - ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) รักษาโดยปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ออกกำลังกายเป็นประจำ - crenation คือการหดตัวของเม็ดเลือดแดงที่มีขอบหยักเมื่อสัมผัสกับสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงมากๆ