SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
พัฒนาการและพัฒนาการและ
การเชื่อมโยงการเชื่อมโยง
การออกแบบการการออกแบบการ
เรียนรู้เรียนรู้
วิชา 201701 เทคโนโลยีการศึกษาและ
ID1
(Instruct
ional
Design
1)
ID2
(Instruct
ional
Design
2)
Cons
tructi
vism
พัฒนาการการออกแบบการพัฒนาการการออกแบบการ
เรียนรู้เรียนรู้
พัฒนาการการออกแบบการพัฒนาการการออกแบบการ
เรียนรู้เรียนรู้
ID1 (Instructional
Design 1)
- ทฤษฎีทางจิตวิทยาพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
- บี.เอฟ สกินเนอร์ (B.F.Skinner) เป็นผู้ศึกษาและค้น
พบทฤษฎี เกิดช่วงกลางศตวรรษที่ 20
- เน้นในเรื่องการฝึกฝน และปฏิบัติซำ้าๆ กระตุ้นการเรียน
รู้ และเสริมแรงด้วยสิ่งเร้า
- รูปแบบการสอนเป็นชุดการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ช่วยสอน CAI
พัฒนาการการออกแบบการพัฒนาการการออกแบบการ
เรียนรู้เรียนรู้
ID2 (Instructional
Design 2)
- ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism)
- Jean Piaget ค้นพบทฤษฎี
- เน้นการอธิบายการเรียนรู้ และกระบวนการการเรียนรู้ที่
สังเกตเห็นได้ของผู้เรียน
- เน้นในเรื่องความจำา สร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยการ
จัดหมวดหมู่ความจำา และสมอง
- สร้างแรงจูงใจ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
พัฒนาการการออกแบบการพัฒนาการการออกแบบการ
เรียนรู้เรียนรู้
Constructivism
- เน้นกระบวนการสร้าง กระตุ้นการคิดวิเคราะห์ มากกว่า
การรับรู้
- Jean Piaget ค้นพบทฤษฎี
- กระบวนการเรียนรู้ และองค์ความรู้เกิดขึ้นได้จากการลง
ทำากระทำา
- ผู้สอนเปลี่ยนบทบาทจากการถ่ายทอดความรู้โดยตรง
เปลี่ยนเป็นผู้อำานวยการเรียนการสอน
- สนับสนุนให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
พัฒนาการการออกแบบการพัฒนาการการออกแบบการ
เรียนรู้เรียนรู้
ออกแบบการ
เรียนรู้
(Learning)
การวางแผน
(Planning)
การนำาไปใช้
(Implement
)
การประเมิน
ผล
(Evaluation
)
พัฒนาการการออกแบบการพัฒนาการการออกแบบการ
เรียนรู้เรียนรู้
ออกแบบการเรียนรู้
(Learning)
คำานึงถึงสื่อที่ใช้ วัสดุที่ใช้สอน
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการ
เรียนรู้
พัฒนาการการออกแบบการพัฒนาการการออกแบบการ
เรียนรู้เรียนรู้
การวางแผน (Planning)
คำานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
เพศ สติปัญญา ระดับพัฒนาการ แรง
จูงใจ และความสนใจ
กระบวนการคิด
พัฒนาการการออกแบบการพัฒนาการการออกแบบการ
เรียนรู้เรียนรู้
การนำาไปใช้
(Implement)
องค์ความรู้ที่ได้รับ เพื่อให้ผู้เรียน
สามารถนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน
ได้ ควรมีการกำาหนดเกณฑ์และ
พฤติกรรม และให้ตรงตามจุด
ประสงค์ที่ผู้เรียนต้องการ
พัฒนาการการออกแบบการพัฒนาการการออกแบบการ
เรียนรู้เรียนรู้
การประเมินผล
(Evaluation)
มีการประเมินเพื่อให้ทราบถึงจุดเด่น จุด
ด้อย เพื่อนำาไปพัฒนา ควรมีการประเมิน
ผลที่หลากหลาย เพิ่มการคิด วิเคราะห์
และการตั้งข้อสังเกตข้อคำาถาม ฝึก
ทักษะกระบวนการคิด
การเชื่อมโยงการออกแบบการเชื่อมโยงการออกแบบ
การเรียนรู้การเรียนรู้
ID1 เน้นเรื่องพฤติกรรม
๐ Skinner มีการเสริมแรงให้กับผู้เรียน เพื่อสร้างแรง
จูงใจ และเพิ่มความสนใจในการเรียน เช่น ให้รางวัลเมื่อทำา
คะแนนได้ดี ทำาให้ผู้เรียนจดจำาความรู้ได้ แต่เป็นเพียงชั่วขณะ
๐ Thorndike การฝึกฝนซำ้าๆ เพื่อให้เกิดทักษะ
ความเชี่ยวชาญ นำาไปสู่การจดจำา ทั้งนี้เมื่อผู้เรียนมีความ
พร้อมทั้งด้านร่างกายจิตใจจะทำาให้เรียนรู้ได้ดี
๐ สื่อที่ใช้เน้นเรื่องความจำา ไล่ลำาดับการเรียนรู้ เช่น
ผ่านแบบทดสอบที่ 1 จึงสามารถข้ามไปทำาแบบทดสอบที่ 2
ได้ หากไม่ผ่านต้องย้อนกลับมาทำาใหม่จนกว่าจะผ่าน
๐ ใช้ชุดการสอนตามสาระการเรียนรู้ และ CAI
การเชื่อมโยงการออกแบบการเชื่อมโยงการออกแบบ
การเรียนรู้การเรียนรู้
ID2 เน้นพัฒนาการด้านสติ
ปัญญา
๐ Piaget เชื่อว่าการเรียนรู้ที่ดีต้องมีพัฒนาการด้าน
สติปัญญา
๐ คำานึงถึงภาวะจิตใจ สังคม อารมณ์มากขึ้น
๐ มีกระบวนการจัดหมวดหมู่ความรู้ ประมวลความคิด
๐ จัดลำาดับความรู้ ฝึกขยายต่อยอดความคิด
๐ เชื่อว่าเมื่อผู้เรียนเกิดความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
จะสามารถเรียนรู้ได้ดี
๐ สื่อที่ใช้เน้นเรื่องการส่งเสริมสติปัญญาควบคู่ไปกับ
การเชื่อมโยงการออกแบบการเชื่อมโยงการออกแบบ
การเรียนรู้การเรียนรู้
Constructivism
เน้นการสร้างองค์ความรู้โดยผู้เรียนและ
ทักษะการคิดวิเคราะห์
๐ เน้นการสร้างองค์ความรู้โดยผู้เรียนเอง เชื่อว่าจะสามารถเกิดความ
รู้มากกว่าการเรียนรู้แบบรับรู้เพียงอย่างเดียว
๐ เชื่อมโยงความรู้เดิม กับความรู้ใหม่
๐ การออกแบบสื่อการเรียนรู้ และการออกแบบการสอน เน้นให้ผู้เรียน
เกิดองค์ความรู้ที่มาจากประสบการณ์
๐ ผู้สอนมีบทบาทในการเป็นผู้อำานวยการจัดการเรียนการสอน สร้างสิ่ง
แวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้
๐ ความรู้ที่ได้รับจะยั่งยืนยาวนานกว่า (Long term) การเรียนรู้ในแบ
บอื่นๆ
สมาชิกกลุ่มสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อ
1. นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร รหัสนักศึกษา
575050028-5
2. นายณัฐพงษ์ วัฒนบุตร รหัสนักศึกษา
575050183-3
3. นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์ รหัสนักศึกษา
575050184-1
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา (โครงการพิเศษ) คณะ
ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (9)

Chapter 5 computer for education
Chapter 5 computer for educationChapter 5 computer for education
Chapter 5 computer for education
 
Chapter2 201700-presentation
Chapter2 201700-presentationChapter2 201700-presentation
Chapter2 201700-presentation
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยม
 
Luis angel
Luis angelLuis angel
Luis angel
 
Philosophy of science for icp
Philosophy of science for icpPhilosophy of science for icp
Philosophy of science for icp
 
Question
QuestionQuestion
Question
 
fghdfh
fghdfhfghdfh
fghdfh
 

Similar to พัฒนาการและการเชื่อมโยงการออกแบบการเรียนรู้

การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนnarongsak promwang
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาAlice Misty
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาSasitorn Seajew
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3pompompam
 
การวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะการวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะKruthai Kai
 

Similar to พัฒนาการและการเชื่อมโยงการออกแบบการเรียนรู้ (20)

instructional design
instructional design instructional design
instructional design
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
575050184-1 _201701-learning environment analysis
575050184-1 _201701-learning environment analysis575050184-1 _201701-learning environment analysis
575050184-1 _201701-learning environment analysis
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
Pu
PuPu
Pu
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
Comed
ComedComed
Comed
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
 
การวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะการวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะ
 

More from Pitanya Candy

575050028 5-201701-presentation
575050028 5-201701-presentation575050028 5-201701-presentation
575050028 5-201701-presentationPitanya Candy
 
homework#3 201700-presentation
homework#3 201700-presentationhomework#3 201700-presentation
homework#3 201700-presentationPitanya Candy
 
Computer programming languages
Computer programming languagesComputer programming languages
Computer programming languagesPitanya Candy
 
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษาและการวิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษาและการวิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษาและการวิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษาและการวิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์Pitanya Candy
 

More from Pitanya Candy (6)

Ol es
Ol esOl es
Ol es
 
Aect 575050028-5
Aect 575050028-5Aect 575050028-5
Aect 575050028-5
 
575050028 5-201701-presentation
575050028 5-201701-presentation575050028 5-201701-presentation
575050028 5-201701-presentation
 
homework#3 201700-presentation
homework#3 201700-presentationhomework#3 201700-presentation
homework#3 201700-presentation
 
Computer programming languages
Computer programming languagesComputer programming languages
Computer programming languages
 
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษาและการวิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษาและการวิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษาและการวิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษาและการวิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์
 

พัฒนาการและการเชื่อมโยงการออกแบบการเรียนรู้