SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
บทที่ 11 การประเมิณผลการดาเนินงานของธุรกิจ
การวิเคราะห์ทางการเงินด้วยอัตราส่วนการเงิน
การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินเป็นเครื่องมือทางการเงินชนิดแรกที่แสดงให้เห็นว่า มี
อะไรเกิดขึ้นกับธุรกิจหนึ่งๆ นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือที่ชี้ให้เห็นถึงส่วนที่มีความมั่นคงแข็งแรง
และจุดอ่อนทางการเงินของธุรกิจนั้นๆ จุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์ทางการเงิน ก็เพื่อช่วยในการ
วางแผนและควบคุมการดาเนินการ ซึ่งข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้มาจากงบการเงินของ
ธุรกิจนั้น ๆ งบการเงินในที่นี้หมายถึง งบกาไรขาดทุน งบดุล และงบกาไรสะสม เป็นต้น
ผู้ใช้การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
งบการเงินถูกใช้ในหลายวัตถุประสงค์ขึ้นอยู่กับผู้ใช้ ซึ่งได้แก่ ผู้ลงทุน, ลูกจ้าง, เจ้าหนี้,
รัฐบาล, และสาธารณะชน โดยที่ฝ่ายบริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทา
งบการเงินจัดทาขึ้นเพื่อทาให้ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และการ
เปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ เพื่อผู้ใช้งานสามารถนาไปตัดสินใจในเชิงเศรษฐศาสตร์ ทั้งนี้
งบการเงินเป็นการบันทึกเหตุการณ์ในอดีต และไม่แสดงข้อมูลที่ไม่เกี่ยวกับการเงิน ซึ่งถือเป็น
ข้อจากัดการใช้งาน
ประเภทของอัตราส่วนทางการเงิน
อัตราส่วนที่ใช้ในการวิเคราะห์งบการเงินแบ่งได้ 4 หมวดใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ
1.อัตราส่วนความคล่องตัว (Liquidity Ratios) ใช้สาหรับวัดความสามารถในการชาระหนี้ระยะสั้น
ของบริษัท หรือเมื่อหนี้สินนั้นถึงกาหนดชาระ
2
2.อัตราส่วนหนี้สิน (Debt or Leverage Ratios) เป็นเครื่องมือวัดการมีส่วนร่วมในการจัดการ
การเงินโดยผู้เป็นเจ้าของกิจการ เปรียบเทียบกับการจัดการการเงินโดยการกู้ยืมจากภายนอก
3.อัตราส่วนแสดงสมรรถภาพในการดาเนินงาน (Activity Ratios or Efficiency Ratios) ในเป็น
เครื่องวัดความสามารถในการบริหารเงินล่วงทุนว่า ธุรกิจได้ลงทุนในสินทรัพย์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมและ
มีประสิทธิภาพเพียงใด
4.อัตราส่วนความสามารถทากาไร (Profitability Ratios) เป็นเครื่องวัดความสามารถในการ
บริหารงานของบริษัท ซึ่งจะแสดงในรูปอัตราผลตอบแทนจากการขาย และอัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุน
การเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการเงิน
การเปรียบเทียบอัตราส่วนแบบ across time ซึ่งจะดูว่าแนวโน้มในอนาคตของบริษัทจะเป็น
อย่างไร โดยการเปรียบเทียบนั้นจะทาโดยการเปรียบเทียบอัตราส่วนของบริษัท ณ เวลาปัจจุบันกับ
อัตราส่วนทางการเงินในอดีต
การเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการเงินของบริษัทกับอัตราส่วนค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม ซึ่งจะต้อง
เป็นค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมเดียวกันด้วย
การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
ในการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินโดยปกติจะวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินในการประเมิน
การดาเนินงาน ดังต่อไปนี้
1. การวิเคราะห์อัตราส่วนสภาพคล่อง หรือวัดความสามารถในการชาระหนี้ระยะสั้น(Liquidity
Ratios)
2. การวิเคราะห์อัตราส่วนความสามารถในการบริหารสินทรัพย์(Assets Management Ratios)
3. การวิเคราะห์อัตราส่วนสภาพหนี้สิน (Leverage Ratios)
4. การวิเคราะห์อัตราส่วนความสามารถในการทากาไร (Profitability Ratios)
3
5. การวิเคราะห์อัตราส่วนมูลค่าตลาด (Market-Value Ratios)
6. การวิเคราะห์ดูปองท์ (DuPont Analysis)
การวิเคราะห์สภาพคล่อง
การวิเคราะห์สภาพคล่อง คือการวิเคราะห์ความสามารถในการชาระหนี้ของธุรกิจ ว่าธุรกิจมี
ทรัพยากรหรือเงินสดเพียงพอต่อการชาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ได้หรือไม่ โดยอัตราส่วนที่ใช้ในการวิเคราะห์
ได้แก่
1. อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio)
2. อัตราส่วนเงินทุนหมุนเร็ว (Quick (acid-test) Ratio)
การวิเคราะห์อัตราส่วนความสามารถในการทากาไร
เป็นอัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการทากาไรของธุรกิจ โดยอัตราส่วนที่ใช้ในการวิเคราะห์มี
ดังต่อไปนี้
• อัตราส่วนกาไรขั้นต้นต่อยอดขาย (Gross Profit Margin)
• อัตราส่วนกาไรจากการดาเนินงานต่อยอดขาย (Operating Profit Margin)
• อัตราส่วนผลกาไรต่อยอดขาย (Profit Margin)
• อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์(Return on Total Asset) หรือ ROA
• อัตราส่วนรายได้ขั้นพื้นฐาน (Basic Earning Power)
• อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Return on Common Equity) หรือ ROE
4
การวิเคราะห์อัตราส่วนสภาพหนี้สิน
เป็นการวัดความสามารถในการชาระหนี้สิน หรือความสามารถในการ ชาระ
หนี้ตามภาระผูกพันระยะยาวของธุรกิจ โดยอัตราส่วนที่ใช้ในการวิเคราะห์มีดังนี้
• อัตราส่วนหนี้สินต่อทรัพย์สินรวม (Debt Ratio)
• อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt – to – equity Ratio)
• อัตราส่วนความสามารถในการชาระดอกเบี้ย (time – Interest Earned Ratio)
• อัตราส่วนแสดงความสามารถชาระค่าใช้จ่ายประจาทางการเงิน (EBITDA Converage
Ratio)
การวิเคราะห์ผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้น
เป็นการใช้อัตราส่วนในการวิเคราะห์เพื่อประเมิณสถานะของบริษัททั้งสี่ด้านคือ สภาพคล่อง กาไร
จากการดาเนินงาน ภาระหนี้สิน และผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้น ซึ่งมีความสาคัญในการทาความเข้าใจ
เกี่ยวกับสถานะทางการเงินของบริษัท การวิเคราะห์สามด้านสุดท้ายจากทั้งหมดสี่ด้านนั้นจะเกี่ยวข้องกับ
ความสามารถในการทากาไรและผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้น
ข้อจากัดการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
บางครั้งเป็นเรื่องยากที่จะทราบว่าบริษัทนั้นอยู่ในอุตสาหกรรมประเภทใด เนื่องจากว่าบริษัทส่วน
ใหญ่จะประกอบธุรกิจหลายๆประเภท ดังนั้นบริษัทจึงต้องเลือกประเภทของอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับ
ธุรกิจที่ทาอยู่มากที่สุด
อัตราส่วนค่าเฉลี่ยมาตรฐานของอุตสาหกรรมที่มีการจัดพิมพ์ไว้นั้นเป็นเพียงค่าเฉลี่ยเท่านั้น การ
จัดทาบัญชีในทางปฏิบัติของบริษัทต่างๆค่อนข้างจะแตกต่างกัน จึงทาให้การคานวณอัตราส่วนทางการเงิน
นั้นมีความแตกต่างกันด้วย อัตราส่วนทางการเงินสามารถมีค่าที่สูงมากเกินไปหรือมีค่าต่ามากเกินไปได้
5
อัตราส่วนค่าเฉลี่ยมาตรฐานของอุตสาหกรรมบางครั้งอาจไม่เป็นค่าเฉลี่ยมาตรฐานก็ได้ เนื่องจาก
ในบางครั้งอัตราส่วนค่าเฉลี่ยมาตรฐานอาจไม่ได้เป็นเกณฑ์ในการประเมินสถานะทางการเงินที่ดีเสมอไป
การเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการเงินกับบริษัทคู่แข่งอาจเป็นตัวเลือกที่ดีกว่าได้
เนื่องจากบริษัทหลายแห่งจะดาเนินงานเป็นไปตามฤดูกาล เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาดังกล่าวการ
วิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน ควรใช้ค่าเฉลี่ยมากกว่าที่จะเป็นมูลค่า ณ สิ้นปี

More Related Content

Viewers also liked

перераспределение доходов
перераспределение доходовперераспределение доходов
перераспределение доходовdextereed
 
Презентация плакатов
Презентация плакатовПрезентация плакатов
Презентация плакатовd19school
 
Prácticas de cuestionarios de actividades
Prácticas de cuestionarios de actividadesPrácticas de cuestionarios de actividades
Prácticas de cuestionarios de actividadesFaaviioula
 
2009_Fall_3913_research_paper_12_17
2009_Fall_3913_research_paper_12_172009_Fall_3913_research_paper_12_17
2009_Fall_3913_research_paper_12_17Joe Yee Wong
 
Myelofibrosis-Effective-Practices-in-Myelofibrosis-Programs
Myelofibrosis-Effective-Practices-in-Myelofibrosis-ProgramsMyelofibrosis-Effective-Practices-in-Myelofibrosis-Programs
Myelofibrosis-Effective-Practices-in-Myelofibrosis-ProgramsBrissan Guardado
 
вклад буинска в победу
вклад буинска в победувклад буинска в победу
вклад буинска в победуdextereed
 
Peter Leal Resume 2015
Peter Leal Resume 2015Peter Leal Resume 2015
Peter Leal Resume 2015Peter Leal
 
Adliner potencjał programów edukacyjnych
Adliner potencjał programów edukacyjnychAdliner potencjał programów edukacyjnych
Adliner potencjał programów edukacyjnychMateusz Pietruliński
 
Program edukacyjny "Dbajmy o Zdrowie" 2017
Program edukacyjny "Dbajmy o Zdrowie" 2017Program edukacyjny "Dbajmy o Zdrowie" 2017
Program edukacyjny "Dbajmy o Zdrowie" 2017Mateusz Pietruliński
 

Viewers also liked (12)

перераспределение доходов
перераспределение доходовперераспределение доходов
перераспределение доходов
 
Презентация плакатов
Презентация плакатовПрезентация плакатов
Презентация плакатов
 
Spring 2016 Bridal Trends
Spring 2016 Bridal TrendsSpring 2016 Bridal Trends
Spring 2016 Bridal Trends
 
Prácticas de cuestionarios de actividades
Prácticas de cuestionarios de actividadesPrácticas de cuestionarios de actividades
Prácticas de cuestionarios de actividades
 
Printers
PrintersPrinters
Printers
 
2009_Fall_3913_research_paper_12_17
2009_Fall_3913_research_paper_12_172009_Fall_3913_research_paper_12_17
2009_Fall_3913_research_paper_12_17
 
Myelofibrosis-Effective-Practices-in-Myelofibrosis-Programs
Myelofibrosis-Effective-Practices-in-Myelofibrosis-ProgramsMyelofibrosis-Effective-Practices-in-Myelofibrosis-Programs
Myelofibrosis-Effective-Practices-in-Myelofibrosis-Programs
 
вклад буинска в победу
вклад буинска в победувклад буинска в победу
вклад буинска в победу
 
Peter Leal Resume 2015
Peter Leal Resume 2015Peter Leal Resume 2015
Peter Leal Resume 2015
 
Adliner potencjał programów edukacyjnych
Adliner potencjał programów edukacyjnychAdliner potencjał programów edukacyjnych
Adliner potencjał programów edukacyjnych
 
Oies_IoTPlatformSelectionServices_2017
Oies_IoTPlatformSelectionServices_2017Oies_IoTPlatformSelectionServices_2017
Oies_IoTPlatformSelectionServices_2017
 
Program edukacyjny "Dbajmy o Zdrowie" 2017
Program edukacyjny "Dbajmy o Zdrowie" 2017Program edukacyjny "Dbajmy o Zdrowie" 2017
Program edukacyjny "Dbajmy o Zdrowie" 2017
 

Similar to บทที่ 11 เนื้อหา

9789740330981
97897403309819789740330981
9789740330981CUPress
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐSureeraya Limpaibul
 
กระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีกระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีlogbaz
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสขอ พรดาว
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccountตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccountNattakorn Sunkdon
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfdrchanidap
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)
ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)
ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)ประพันธ์ เวารัมย์
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนtelecentreacademy
 
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายในการควบคุมภายใน
การควบคุมภายในAttachoke Putththai
 

Similar to บทที่ 11 เนื้อหา (20)

financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
 
9789740330981
97897403309819789740330981
9789740330981
 
FM-short.pptx
FM-short.pptxFM-short.pptx
FM-short.pptx
 
Responsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable FinanceResponsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable Finance
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 
Introgecon
IntrogeconIntrogecon
Introgecon
 
กระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีกระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชี
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccountตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)
ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)
ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
accounting for sport management
accounting  for sport managementaccounting  for sport management
accounting for sport management
 
Balancescorecard
BalancescorecardBalancescorecard
Balancescorecard
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายในการควบคุมภายใน
การควบคุมภายใน
 

บทที่ 11 เนื้อหา

  • 1. 1 บทที่ 11 การประเมิณผลการดาเนินงานของธุรกิจ การวิเคราะห์ทางการเงินด้วยอัตราส่วนการเงิน การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินเป็นเครื่องมือทางการเงินชนิดแรกที่แสดงให้เห็นว่า มี อะไรเกิดขึ้นกับธุรกิจหนึ่งๆ นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือที่ชี้ให้เห็นถึงส่วนที่มีความมั่นคงแข็งแรง และจุดอ่อนทางการเงินของธุรกิจนั้นๆ จุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์ทางการเงิน ก็เพื่อช่วยในการ วางแผนและควบคุมการดาเนินการ ซึ่งข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้มาจากงบการเงินของ ธุรกิจนั้น ๆ งบการเงินในที่นี้หมายถึง งบกาไรขาดทุน งบดุล และงบกาไรสะสม เป็นต้น ผู้ใช้การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน งบการเงินถูกใช้ในหลายวัตถุประสงค์ขึ้นอยู่กับผู้ใช้ ซึ่งได้แก่ ผู้ลงทุน, ลูกจ้าง, เจ้าหนี้, รัฐบาล, และสาธารณะชน โดยที่ฝ่ายบริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทา งบการเงินจัดทาขึ้นเพื่อทาให้ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และการ เปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ เพื่อผู้ใช้งานสามารถนาไปตัดสินใจในเชิงเศรษฐศาสตร์ ทั้งนี้ งบการเงินเป็นการบันทึกเหตุการณ์ในอดีต และไม่แสดงข้อมูลที่ไม่เกี่ยวกับการเงิน ซึ่งถือเป็น ข้อจากัดการใช้งาน ประเภทของอัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนที่ใช้ในการวิเคราะห์งบการเงินแบ่งได้ 4 หมวดใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ 1.อัตราส่วนความคล่องตัว (Liquidity Ratios) ใช้สาหรับวัดความสามารถในการชาระหนี้ระยะสั้น ของบริษัท หรือเมื่อหนี้สินนั้นถึงกาหนดชาระ
  • 2. 2 2.อัตราส่วนหนี้สิน (Debt or Leverage Ratios) เป็นเครื่องมือวัดการมีส่วนร่วมในการจัดการ การเงินโดยผู้เป็นเจ้าของกิจการ เปรียบเทียบกับการจัดการการเงินโดยการกู้ยืมจากภายนอก 3.อัตราส่วนแสดงสมรรถภาพในการดาเนินงาน (Activity Ratios or Efficiency Ratios) ในเป็น เครื่องวัดความสามารถในการบริหารเงินล่วงทุนว่า ธุรกิจได้ลงทุนในสินทรัพย์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมและ มีประสิทธิภาพเพียงใด 4.อัตราส่วนความสามารถทากาไร (Profitability Ratios) เป็นเครื่องวัดความสามารถในการ บริหารงานของบริษัท ซึ่งจะแสดงในรูปอัตราผลตอบแทนจากการขาย และอัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุน การเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการเงิน การเปรียบเทียบอัตราส่วนแบบ across time ซึ่งจะดูว่าแนวโน้มในอนาคตของบริษัทจะเป็น อย่างไร โดยการเปรียบเทียบนั้นจะทาโดยการเปรียบเทียบอัตราส่วนของบริษัท ณ เวลาปัจจุบันกับ อัตราส่วนทางการเงินในอดีต การเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการเงินของบริษัทกับอัตราส่วนค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม ซึ่งจะต้อง เป็นค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมเดียวกันด้วย การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน ในการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินโดยปกติจะวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินในการประเมิน การดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ 1. การวิเคราะห์อัตราส่วนสภาพคล่อง หรือวัดความสามารถในการชาระหนี้ระยะสั้น(Liquidity Ratios) 2. การวิเคราะห์อัตราส่วนความสามารถในการบริหารสินทรัพย์(Assets Management Ratios) 3. การวิเคราะห์อัตราส่วนสภาพหนี้สิน (Leverage Ratios) 4. การวิเคราะห์อัตราส่วนความสามารถในการทากาไร (Profitability Ratios)
  • 3. 3 5. การวิเคราะห์อัตราส่วนมูลค่าตลาด (Market-Value Ratios) 6. การวิเคราะห์ดูปองท์ (DuPont Analysis) การวิเคราะห์สภาพคล่อง การวิเคราะห์สภาพคล่อง คือการวิเคราะห์ความสามารถในการชาระหนี้ของธุรกิจ ว่าธุรกิจมี ทรัพยากรหรือเงินสดเพียงพอต่อการชาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ได้หรือไม่ โดยอัตราส่วนที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ 1. อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio) 2. อัตราส่วนเงินทุนหมุนเร็ว (Quick (acid-test) Ratio) การวิเคราะห์อัตราส่วนความสามารถในการทากาไร เป็นอัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการทากาไรของธุรกิจ โดยอัตราส่วนที่ใช้ในการวิเคราะห์มี ดังต่อไปนี้ • อัตราส่วนกาไรขั้นต้นต่อยอดขาย (Gross Profit Margin) • อัตราส่วนกาไรจากการดาเนินงานต่อยอดขาย (Operating Profit Margin) • อัตราส่วนผลกาไรต่อยอดขาย (Profit Margin) • อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์(Return on Total Asset) หรือ ROA • อัตราส่วนรายได้ขั้นพื้นฐาน (Basic Earning Power) • อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Return on Common Equity) หรือ ROE
  • 4. 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนสภาพหนี้สิน เป็นการวัดความสามารถในการชาระหนี้สิน หรือความสามารถในการ ชาระ หนี้ตามภาระผูกพันระยะยาวของธุรกิจ โดยอัตราส่วนที่ใช้ในการวิเคราะห์มีดังนี้ • อัตราส่วนหนี้สินต่อทรัพย์สินรวม (Debt Ratio) • อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt – to – equity Ratio) • อัตราส่วนความสามารถในการชาระดอกเบี้ย (time – Interest Earned Ratio) • อัตราส่วนแสดงความสามารถชาระค่าใช้จ่ายประจาทางการเงิน (EBITDA Converage Ratio) การวิเคราะห์ผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้น เป็นการใช้อัตราส่วนในการวิเคราะห์เพื่อประเมิณสถานะของบริษัททั้งสี่ด้านคือ สภาพคล่อง กาไร จากการดาเนินงาน ภาระหนี้สิน และผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้น ซึ่งมีความสาคัญในการทาความเข้าใจ เกี่ยวกับสถานะทางการเงินของบริษัท การวิเคราะห์สามด้านสุดท้ายจากทั้งหมดสี่ด้านนั้นจะเกี่ยวข้องกับ ความสามารถในการทากาไรและผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้น ข้อจากัดการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน บางครั้งเป็นเรื่องยากที่จะทราบว่าบริษัทนั้นอยู่ในอุตสาหกรรมประเภทใด เนื่องจากว่าบริษัทส่วน ใหญ่จะประกอบธุรกิจหลายๆประเภท ดังนั้นบริษัทจึงต้องเลือกประเภทของอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับ ธุรกิจที่ทาอยู่มากที่สุด อัตราส่วนค่าเฉลี่ยมาตรฐานของอุตสาหกรรมที่มีการจัดพิมพ์ไว้นั้นเป็นเพียงค่าเฉลี่ยเท่านั้น การ จัดทาบัญชีในทางปฏิบัติของบริษัทต่างๆค่อนข้างจะแตกต่างกัน จึงทาให้การคานวณอัตราส่วนทางการเงิน นั้นมีความแตกต่างกันด้วย อัตราส่วนทางการเงินสามารถมีค่าที่สูงมากเกินไปหรือมีค่าต่ามากเกินไปได้
  • 5. 5 อัตราส่วนค่าเฉลี่ยมาตรฐานของอุตสาหกรรมบางครั้งอาจไม่เป็นค่าเฉลี่ยมาตรฐานก็ได้ เนื่องจาก ในบางครั้งอัตราส่วนค่าเฉลี่ยมาตรฐานอาจไม่ได้เป็นเกณฑ์ในการประเมินสถานะทางการเงินที่ดีเสมอไป การเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการเงินกับบริษัทคู่แข่งอาจเป็นตัวเลือกที่ดีกว่าได้ เนื่องจากบริษัทหลายแห่งจะดาเนินงานเป็นไปตามฤดูกาล เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาดังกล่าวการ วิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน ควรใช้ค่าเฉลี่ยมากกว่าที่จะเป็นมูลค่า ณ สิ้นปี