SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1

ข้อสอบปลายภาควิชาทัศนศิลป์ ม.ต้น จานวน ข้อ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
คาสั่ง จงเขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของศิลปะ
ก. ศิลปะคือธรรมชาติ
ข. ศิลปะคือการแสดงออกทางความงาม
ค. ศิลปะคือการแสดงออกทางสังคม ง. ศิลปะคือการรับรู้ทางการมองเห็น
จ. ศิลปะคือการถ่ายทอดความรู้สึก
นาคาตอบต่อไปนี้ไปใช้ตอบข้อ 2-4
ก. จิตรกรรม ข. ประติมากรรม
ค. ภาพพิมพ์
ง. สถาปัตยกรรม
จ. วรรณกรรม
2. ศิลปะในข้อใดใช้วิธีการแกะ ปัน หล่อ มีลักษณะเป็น 3มิติ
้
3. ศิลปะในข้อใดใช้วิธีการเขียน หรือระบาย ด้วยสี
4. ศิลปะในข้อใดใช้วิธีการกด ประทับเพื่อสร้างงานต้นแบบให้มีจานวนมาก
นาคาตอบต่อไปนีไปใช้ตอบข้อ 5-7
้
ก. อุตสาหกรรมศิลป์ ข. ศิลปหัตถกรรม ค. พาณิชย์ศิลป์
ง. มัณฑนศิลป์
จ.วรรณศิลป์
5. ภาพโฆษณา หรือโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ จัดเป็นงานศิลปะประเภทใด
6. การตกแต่งภายในที่พักอาศัย จัดเป็นงานศิลปะประเภทใด
7. ข้อใดเป็นงานศิลปะที่นิยมใช้วัสดุในท้องถิ่น และทาด้วยมือเป็นส่วนใหญ่
8. เส้นชนิดใดจัดเป็นเส้นพื้นฐาน
ก. เส้นตรง และเส้นซิกแซก ข. เส้นโค้ง และเส้นซิกแซก
ค. เส้นโค้ง และเส้นตรง
ง. เส้นตรง และเส้นขดหอย
จ. เส้นขดหอย และเส้นโค้ง
9. เส้นชนิดใดให้ความรู้สึกขัดแย้ง
ก. เส้นแนวตั้ง ข. เส้นคลื่น ค. เส้นขดหอย
ง. เส้นแนวนอน
จ. เส้นซิกแซก
10. รูปร่าง แตกต่างกับรูปทรงอย่างไร
ก. รูปร่างไม่มีมิติ รูปทรงมี 2มิติ
ข. รูปร่างมี 2มิติ รูปทรงมี 3มิติ
ค. รูปร่างมี3มิติ รูปทรงมี 2มิติ
ง. รูปร่างมี3มิติ รูปทรงมี4มิติ
จ.รูปร่าง และรูปทรงมี 3มิติ
นาคาตอบต่อไปนีไปใช้ตอบในข้อ 11-12
้
ก. OPEN FORM
ข. CLOSE FORM ค.GEOMETRIC FORM ง. FREE FORM
11. ก้อนเมฆ จัดเป็นรูปทรงแบบใด
12. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จัดเป็นรูปทรงแบบใด
13. รูปทรงในข้อใดจัดเป็นรูปทรงพื้นฐาน
ก. รูปทรงอิสระ
ข. รูปทรงเรขาคณิต ค. รูปทรงนามธรรม
ง. รูปทรงธรรมชาติ จ. รูปทรงประดิษฐ์
14. รูปทรงในข้อใดให้ความรู้สึกสง่างาม
ก. สามเหลี่ยม ข. สี่เหลี่ยม ค.หกเหลี่ยม ง. วงกลม จ. วงรี
15. ข้อใดหมายถึงศิลปะที่ดูเหมือนจริงตามธรรมชาติ
ก. FANTASTIC ข. SOCIALISTIC ค. REALISTIC
ง. ABSTRACT
จ. SEMI ABSTRACT

จ. OGANIC FORM
2

16. ผิวของวัตถุชนิดใดให้ความรู้สึกหรูหรา มีราคา
ก.ผิวเรียบของเครื่องปั้นดินเผา ข.ผิวเรียบของผนังห้อง
ค.ผิวเรียบของไม้
ง. ผิวเรียบของหินอ่อน
จ. ผิวเรียบของทองเหลือง
17. สีขั้นที2 คือสีในข้อใด
่
ก. ขาว ชมพู ฟ้า
ข. เขียว ขาว ส้ม ค. เขียว ม่วง ส้ม
ง. แดง เหลือง น้าเงิน จ. ม่วง เหลือง เขียว
18. สีเขียว น้าเงิน เป็นสีตรงข้ามกับสีใด
ก. ม่วง แดง ข.ส้ม แดง ค.ส้ม เหลือง ง.เขียว เหลือง จ. ม่วง น้าเงิน
19. สีในข้อใดเป็นได้ทั้งสีร้อน และสีเย็น
ก. ม่วง และเหลือง ข. แดง และน้าเงิน ค. ม่วง และน้าเงิน
ง. แดง และเหลือง จ. แดง และม่วง
20. คาว่าวาดเขียน ตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษข้อใด
ก. DRAWING
ข.PAINTING
ค.PENCIL
ง.FIGURE
จ.DESIGN
21. โดยทั่วไปควรกาหนดให้แสงส่องกระทบวัตถุที่ต้องการเขียนจากด้านใด
ก. ทุกทิศทาง ข.ด้านหน้า ค. ด้านหลัง ง.ด้านซ้ายหรือขวา จ.ด้านบน
22. สิ่งใดที่ทาให้เราสามารถมองเห็นสีของวัตถุ
ก. แสง
ข. สี
ค. เงา
ง. วัตถุ
จ. น้าหนัก
23. สิ่งสาคัญที่ต้องคานึงถึงก่อนในการวาดเขียนคืออะไร
ก. ระยะใกล้-ไกล ข. รูปทรง -ผิว
ค. แสง-เงา
ง.ตาแหน่ง-สัดส่วน จ.ความเหมือนจริง
24. ศิลปะไทยจัดเป็นศิลปะประเภทใด
ก.ศิลปะแบบนามธรรม ข.ศิลปะแบบเหมือนจริง ค.ศิลปะแบบอุดมคติ
ง.ศิลปะสมัยเก่า
จ.ศิลปะสมัยใหม่
25. พระพุทธรูปของไทยสมัยใดที่ได้รับการยกย่องว่ามีความงามที่สุด
ก. ลพบุรี ข. เชียงแสน ค. สุโขทัย ง. อยุธยา จ. รัตนโกสินทร์
10. ข
20. ก

ใบความรู ้สาระศิลปะ(ทัศนศิลป์ )
เรื่ อง ประติมากรรม
…………………………………..
การปั น การแกะสลัก การหล่อ จัดอยูในศิลปะประเภทเดียวกัน คือ ประติมากรรม ซึงเป็ นศิลปะ 3 มิติ ที่แตกต่าง
้
่
่
จากการวาดภาพระบายสี ซึงเป็ นศิลปะ 3 มิติ ที่แตกต่างจากการวาดภาพระบายสี และภาพพิมพ์ ซึงมีลกษณะ 2 มิติ
่
่ ั
การปั นจะเป็ นการสร้ างรูปทรงที่มีความใกล้ เคียงกับความเป็ นจริ งมากที่สดสามารถจับต้ องได้
้
ุ
ความหมายของประติมากรรม
การปั น หมายถึง การนาวัสดุที่มีลกษณะค่อนข้ างนิ่ม เช่น ดินเหนียว ดินน ้ามันมาแปรสภาพโดยการ บีบ กด บิด
้
ั
โดยการพอกเพิ่ม ดึงออก จนเป็ นรูปทรงตามความต้ องการ
การแกะสลัก หมายถึง การนาวัสดุที่มีลกษณะค่อนข้ างแข็ง เช่น สบู่ เทียน ไม้ มาแกะ ขูด ส่วนที่ไม่ต้องการออก
ั
เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการให้ ปรากฏเป็ นรูปทรง
3

การหล่อ หมายถึง การนาต้ นแบบงานปั นมาถ่ายแบบจากการสร้ างแม่พิมพ์ แล้ วจึงใช้ วสดุที่เป็ นของเหลวเทลงใน
้
ั
แม่พิมพ์เมื่อของเหลวแข็งตัวจะเกิดเป็ นชิ ้เนงานขึ ้น
วัสดุอปกรณ์ที่ใช้ ในงานประติมากรรม
ุ
1. ดินเหนียว เป็ นวัสดุธรรมชาติที่ใช้ ทางานปั นได้ ดี มีสเี ทาดา เมื่อแห้ งจะมีสเี ทาขาว ถ้ านาไปเผาจะได้ สขาว สี
้
ี
แดง ตามแต่ชนิดของดิน ขณะทางานดินสามารถอุ้มน ้าได้ ดี แห้ งช้ า มีความยืดหยุน เมื่อนามาปั นเป็ นรูปทรงที่
่
้
ต้ องการแล้ ว สามารถนาไปเผาเป็ นวัตถุถาวรได้ เมื่อเปื อนมือสามารถล้ างออกด้ วยน ้าสะอาด
้
2. ดินน ้ามัน มีคณสมบัติคล้ ายดินเหนียว แต่ไม่สามารถนาไปเผาเป็ นวัตถุถาวรได้ เพราะมีน ้ามันเป็ นส่วนผสมอยู่
ุ
เมื่อโดนความร้ อนจะเปลียนแปลงรูป หาซื ้อได้ ง่ายตามร้ านค้ าทัวไป มีสสนให้ เลือกมากมาย ปั จจุบนมีแบบ
่
่
ี ั
ั
ปลอดสารพิษ
3. ปูนปลาสเตอร์ มีลกษณะเป็ นผง สีขาว เมื่อนามาใช้ ต้องผสมน ้าอุณหภูมิปกติในอัตราส่วนน ้า 1 ส่วน ต่อปูน
ั
1.5 - 2 ส่วนเหมาะสาหรับหล่อเพราะสามารถแทรกตัวเข้ าไปในรูปทรง ต่าง ๆ แห้ งเร็ ว มีคณสมบัติเปราะ
ุ
แตกง่าย
4. สบู่ เป็ นวัสดุที่สามารถนามาใช้ ในการแกะสลักได้ หาซื ้อง่าย แกะสลักง่ายกว่าหินหรื อไม้
5. พืชผัก เช่น มันฝรั่ง หัวผักกาด ฟั กทอง เป็ นวัสดุธรรมชาติที่นามาใช้ แกะสลักได้ และสามารถประยุกต์ใช้ เป็ น
แม่พิมพ์ในการสร้ างสรรค์งานภาพพิมพ์ได้
6. แม่พิมพ์ยาง ใช้ สาหรับหล่อปูนปลาสเตอร์ สามารถหาซื ้อแม่พิมพ์สาเร็ จรูปได้ สะดวกกว่านายางพารามาหล่อ
เป็ นแม่พิมพ์เอง
7. วัสดุกนติด สาหรับงานหล่อ เช่น วาสลิน น ้าสบู่ จะทาให้ แกะปูนปลาสเตอร์ ออกจากแม่พิมพ์ได้ ง่ายขึ ้น
ั
8. ใบมีดปลายแหแหลม ใช้ สาหรับงานแกะสลัก และงานปั น
้
9. ภาชนะผสมปูนขาว เช่น แก้ วน ้าพลาสติกซึงมีราคาไม่แพง ใช้ แล้ วสามารถทิ ้งได้ เลยเพราะทาความสะอาดยาก
่
10. อุปกรณ์อื่น เช่น เสื ้อคลุมกันเปื อน กระดานรองปั น
้
้
ประเภทของงานประติมากรรม
1. แบบร่องลึก เป็ นการแกะหรื อปั นวัสดุหน้ าเรี ยบให้ มีความลึก จากการขูด ประทับรอย มักใช้ ในเครื่ องปั นดินเผา
้
้
การสร้ างพื ้นผิวต่าง ๆ ลงบนดินเหนียว
2. แบบนูนต่า เป็ นการสร้ างรูปนูนจากพื ้นเพียงเล็กน้ อย เช่น มองเห็นด้ านหน้ าและด้ านข้ าง เช่น เหรี ยญบาท
3. แบบนูนสูง เป็ นการสร้ างรูปนูนจากพื ้นให้ เห็นด้ านหน้ าและด้ านข้ าง ส่วนด้ านหนึงติดอยูกบพื ้น เช่น รูปปูนปั น
่
่ ั
้
บริ เวณฐานอนุสาวรี ย์ประชาธิปไตย รูปสลักหินทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์
4. แบบลอยตัว เป็ นการปั นที่สามารถมองเห็นได้ รอบทิศ ซึงมีฐานด้ านล่างติดอยูกบพื ้น เช่น รูปปั นอนุสาวรี ย์ตาง
้
่
่ ั
้
่
ๆ พระพุทธรูป เป็ นต้ น
รูปแบบของงานประติมากรรม
1. รูปเดี่ยว เป็ นรูปทรงเดี่ยว เช่น รูปเรขาคณิต ตุ๊กตา ผลไม้ มีลกษณะเป็ นแบบลอยตัว
ั
2. ประกอบเรื่ องราว เป็ นการปั นและจัดองค์ประกอบต่าง ๆ เชื่อมโยง เช่น เป็ นรูปทิวทัศน่ บ้ าน สัตว์เลี ้ยง ต้ นไม้
้
ทาได้ ทงแบบลอยตัว และนูนต่า
ั้
3. เป็ นลวดลาย เช่น ลายไทยในงานปูนปั น ส่วนใหญ่จะทาเป็ นแบบนูนสูง หรื อแบบนูนต่า
้
4. ภาชนะ เครื่ องใช้ สอย เช่น แก้ วน ้า แจกัน กระถาง จาน ชาม เป็ นต้ น
4

ส่วนประกอบทางศิลปะในงานประติมากรรม
1. เส้ น มีลกษณะเป็ นเส้ นขนอบของรูปทรง ที่ทาให้ เกิดปริ มาตรหรื อเส้ นที่เกิดจากการขด
ั
2. สี เป็ นสีของวัสดุ เช่น ไม้ หินอ่อน สัมฤทธิ์ หินทราย ดินเหนียว ดินน ้ามัน หรื องานหล่อปูนปลาสเตอร์ แล้ ว
ลงสีทบซึงสีในงานประติมากรรม มีความสาคัญน้ อยกว่าในผลงานประเภทจิตรกรรม
ั ่
3. รูปทรง มีลกษณะ 3 มิติ เช่น รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงอิสระที่เกิดจากการเลียนแบบธรรมชาติ และตาม
ั
จินตนาการซึงเป็ นส่วนสาคัญในงานประติมากรรม
่
4. พื ้นผิว เป็ นส่วนรอบนอกของผลงานประติมากรรมสามารถสร้ างพื ้นผิวจากงานปั น เช่น แบบร่องลึกสามารถทา
้
ให้ เกิดพื ้นผิวแตกต่างกัน รหือพื ้นผิวที่เกิดจากการแกะสลัก
เทคนิคในงานประติมากรรม
1. โครงสร้ างกระดาษ เรามักใช้ กระดาษแข็งตัดเป็ นรูปต่าง ๆ แล้ วเรี ยงต่อกันให้ เกิดเป็ นงานโครงสร้ าง หรื อ
ประกอบเป็ นรูปทรงต่าง ๆ
2. โครงสร้ างลวด เราใช้ ลวดขดไปมาหรื อต่อให้ เกิดเป็ นรูปทรงต่าง ๆ เช่น ภาพสัตว์ ภาพดอกไม้
3. โครงสร้ างไม้ สามารถใช้ ไม้ ไอศกรี ม ไม้ จิ ้มฟั น ประกอบให้ เป็ นรูปทรงต่าง ๆ ได้ เช่น ภาพบ้ าน ภาพ
สิงก่อสร้ าง หรื อ รูปทรงอื่น ๆ
่
4. หล่อพิมพ์ยาง เราสามารถซื ้อพิมพ์ยางสาเร็ จรูป นาสบูเ่ หลวหรื อวาสลินมาทาให้ ทวพิมพ์ยาง ผสมปูน
ั่
ปลาสเตอร์ แล้ วเพลงในพิมพ์ เมื่อแห้ งจึงแกะพิมพ์ออก สามารถระบายสีทบปูนปลาสเตอร์ ได้
ั
5. งานประติดกระดาษหรื อเปเปอร์ มาเช่ (PAPER MACHE) เป็ นการสร้ างงานประติมากรรมประเภทหนึง โดยใช้
่
กระดาษปะติดจนมีความหนาเป็ นรูปทรงต่าง ๆ เป็ นรูปสัตว์ รูปการ์ ตน รูปภาชนะ
ู
1.วรรณะสี ร้อน (warm tone) คือสี ใด

ก.ส้ม เหลือง เขียว
ค.เหลือง ส้ม ม่วง

ข.ฟ้ า แดง เหลือง
ง.ม่วงน้ าเงิน เขียว เหลืองเขียว

2.สี ใดไม่ใช่วรรณะเย็น
ก.เขียวน้ าเงิน ข.ม่วงน้ าเงิน เหลืองเขียว
ค.ม่วงแดง เหลืองส้ม

ง.เขียวน้ าเงิน ม่วงน้ าเงิน

3.ข้อใดไม่ได้หมายถึงสี เอกรงค์ (Monochrome )
ก.การใช้สีเดียว ที่เด่นชัดออกมาเพียงสี เดียว ข.การเน้นสี ใดสี หนึ่งแล้วสี ต่างๆตัดกับพื้น
ค.สี ใดสี หนึ่งเป็ นสี แท้ และมีความสด
4.สี กลมกลืนแบ่งออกกี่ประเภท

ง.สี ใดสี หนึ่งแท้มาเปลี่ยนค่าน้ าหนักอ่อนแก่
5

ก.2 ประเภท ข.3 ประเภท
ค.4 ประเภท ง.5 ประเภท
5.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก.สี ม่วงตรงกันข้ามสี เหลือง

ข.สี เขียวตรงกันข้ามกับสี แดง

ค.สี น้ าเงินตรงกันข้ามสี สม
้

ง.สี แดง ตรงกันข้ามสี ม่วง

6.ข้อใดไม่ใช่ลกษณะความคิดสร้างสรรค์
ั
ก.มีความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นใหม่ ไม่ซ้ าแบบใคร ข.ดัดแปลงมาจากผูอื่น
้
ค.มีความคิดริ่ เริ่ ม สติปัญญาที่แตกต่างจากผูอื่น ง.ความคิดริ เริ่ มใหม่ มีสุนทรี ยภาพ
้
7.Mural painting คือ
ก.จิตรกรรมฝาผนัง

ข.จิตรกรรมสี น้ ามัน

ค.ภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้าง ง.จิตรกรรมสมัยใหม่
8.ทัศนธาตุ (Visual Elements)ประกอบไปด้วย
ก.จุด เส้น รู ปร่ าง น้ าหนักอ่อน-แก่ สี ข. จุด เส้น รู ปร่ าง น้ าหนักอ่อน-แก่ สี บริ เวณว่าง
ค.จุด เส้น รู ปร่ าง รู ปทรง น้ าหนักอ่อน-แก่ สี บริ เวณว่าง ง. จุด เส้น รู ปร่ าง รู ปทรง น้ าหนักอ่อน-แก่ สี บริ เวณว่าง
พื้นผิว
9.สี ส่วนรวม (Tonality) หมายถึง
ก.สี ใดสี หนึ่งที่ให้อิทธิพลเหนือสี อื่นทั้งหมด ข.สี ที่เด่นชัดเพียงสี เดียว
่
ค.สี ที่อยูตรงกันข้ามในวงจรสี ธรรมชาติ ง.สี ใดสี หนึ่งที่ทาให้จางลงจนขาวหรื อสว่าง
่
10.ศูนย์กลางอาณาจักรยุคสมัยทวราวดี อยูที่ใด
ก.ลพบุรี

ข.สุราษฎร์ธานี

ค.นครปฐม

ง.เชียงใหม่
6

10. ข้ อใดเป็ นสถาปัตยกรรมแบบปิ ด
ก โรงพยาบาล ข อาคารบ้านเรื อน
ค อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

ง ถูกทุกข้อ

14. จุดเด่ นของภาพโมนาลิซา คือข้ อใด
ก บริ เวณว่างรอบตัวโมนาลิซา ข

ใบหน้ า ดวงตา และรอยยิม
้

ค แสงเงาที่กลมกลืนเหมือนธรรมชาติ ง สัดส่วนทางกายวิภาคงดงามตามธรรมชาติ

1.การเขียนภาพระบายสีมกลกษณะ อะไรบ้ าง
ี ี่ ั
ก 3 ลักษณะ คือ การเขียนภาพแสดงรู ปแบบ การเขียนภาพกึงแสดงรู ปแบบ การเขียนภาพไม่ แสดงรู ปแบบ
่
ข 2 ลักษณะ คือ การเขียนภาพแบบเหมือนจริ ง การเขียนภาพตามจินตนาการ
ค 2 ลักษณะ คือ การเขียนภาพแสดงรู ปแบบ การเขียนภาพไม่แสดงรู ปแบบ
ง 3 ลักษณะคือ การเขียนภาพระบายสี การเขียนภาพแบบเหมือนจริ ง
การเขียนภาพตามแบบ
ให้ ระบายคาตอบทีถูกต้ องลงในวงกลมตัวเลือกให้ เต็มวง (ห้ ามระบายนอกวง)
่
1. รู ปนูนต่าและรู ปนูนสูงมีความแตกต่างกันอย่างไร
1 รู ปนูนต่า สวยงามกว่ารู ปนูนสูง
2 รู ปนูนต่า สวยงามน้อยกว่ารู ปนูนสูง
3 รู ปนูนสูง มีความนูนจากพื้นมากกว่ารู ปนูนต่า
4 รู ปนูนต่า มีความนูนจากพื้นมากกว่ารู ปนูนสูง
2. “ฉันเข้าชมพระบรมสาทิสลักษณ์ และรู ปปั้ นอาจารย์ศิลป์ พีระศรี ในพิพิธภัณฑ์แห่งหนึ่ง”
เกี่ยวข้องกับศัพท์ทางนาฏศิลป์ ใด
1 รู ปคนเหมือน 2 ประติมากรรม
3 ภาพหุ่นนิ่ง 4 รู ปนูนต่า
3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการบรรยายผลงานทัศนศิลป์
1 พูดบรรยายถึงผลงานที่เหนือกว่าผลงานผูอื่น
้
2 พูดบรรยายตามความคิดเห็นของผูบรรยาย
้
3 พูดบรรยายด้วยภาษาที่ผบรรยายเข้าใจง่าย
ู้
4 พูดบรรยายด้วยภาษาที่ผชมเข้าใจง่าย
ู้

จากข้อความ
7

4. ข้อใดคือเป้ าหมายของผูเ้ ข้าฟังคาบรรยายผลงานทัศนศิลป์
1 หลงใหลและคลังไคล้ 2 ผ่อนคลาย สบายใจ
่
3 ความรู ้คู่สุนทรี ยภาพ 4 เต็มเปี่ ยมไปด้วยเนื้อหา
5. ศัพท์ทางทัศนศิลป์ มีประโยชน์อย่างไร
1 ช่วยให้งานทัศนศิลป์ มีคุณค่ามากยิงขึ้น 2 ช่วยให้มีคนเข้าชมงานมากยิงขึ้น
่
่
3 ช่วยให้ผฟังต้องตีความในภาษา 4 ช่วยสื่ อความหมายทางทัศนศิลป์ ได้เข้าใจยิงขึ้น
ู้
่
6. “งานประติมากรรมชิ้นนี้มีความโดดเด่นที่นาวัสดุเหลือใช้มารี ไซเคิล ทาให้มีพ้ืนผิวที่แปลก...”
จากข้อความผูบรรยายกาลังบรรยายงานศิลปะใด
้
1 งานปั้ นรู ปสัตว์ในเทพนิยาย2 ภาพวาดโดยใช้เทคนิคผสม
3 โบสถ์ที่ทาด้วยขวดที่เหลือใช้
4 ภาพหุ่นนิ่ง
7. ข้อใดกล่าวถึงภาพร่ างได้ถูกต้อง
1 ภาพที่เขียนขึ้นเพื่อให้เห็นรายละเอียดชัดเจน
2 ภาพที่เขียนขึ้นอย่างคร่ าว ๆ ด้วยเวลาที่รวดเร็ ว
3 ภาพที่เขียนขึ้นอย่างละเอียดด้วยเวลาที่รวดเร็ ว
4 ภาพที่เขียนขึ้นอย่างคร่ าว ๆ แต่เสร็ จสมบูรณ์ในตัวเอง
8. ถ้านักเรี ยนไปชมงานนิทรรศการภาพทางศิลปะ ควรปฏิบติต่อผูบรรยายอย่างไร
ั
้
1 สนทนากับเพื่อนที่มาร่ วมงานอย่างเงียบ ๆ 2 ซักถามผูบรรยายตลอดเวลาเพื่อความเข้าใจ
้
3 สนใจฟังเฉพาะผลงานที่ชอบเท่านั้น
4 ตั้งใจฟังและซักถามตามความเหมาะสม
9. คาศัพท์ใด ไม่เกี่ยวข้องกับงานจิตรกรรม
1 รู ปนูนต่า
2 รู ปร่ าง
3 ภาพ
4 ภาพทิวทัศน์ทางบก
10. การพูดบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ ที่ดีสอดคล้องกับสานวนใด
1 คันปาก
2 ติเพื่อก่อ
3 ชักแม่น้ าทั้งห้า
4 พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสี ยตาลึงทอง

ให้ ระบายคาตอบทีถูกต้ องลงในวงกลมตัวเลือกให้ เต็มวง (ห้ ามระบายนอกวง)
่
1. ข้อใดกล่าวถึงศิลปิ นได้ถูกต้องที่สุด
1 นักร้อง 2 นักแสดง
3 จิตรกร 4 ผูสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
้
2. สี ใดคือสี เย็น
1 สี แดง 2 สี สม
้
8

3 สี ม่วง 4 สี เหลือง
3. สี ใดเป็ นได้ท้ งสี อุ่นและสี เย็น
ั
1 สี แดง 2 สี เหลือง
3 สี เขียว 4 สี น้ าเงิน
4. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของสี
1 สี คือ แสง

2 สี คือ ความเข้มของแสง

3 สี คือ สิ่ งที่เรามองเห็นแล้วมีอิทธิพลต่อความรู ้สึก 4 สี คือ ลักษณะความเข้มของแสงที่สะท้อนสู่ตา
5. ข้อใดกล่าวถึงสื่ อผสมไม่ ถูกต้อง
1 เป็ นศิลปะที่เกิดขึ้นในยุคแรก ๆ

2 การแสดงละครเวที

3 การผสมผสานระหว่างจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ หรื อวาดเส้น
ั
4 ศิลปะที่ผสมผสานสัมพันธ์กนระหว่างประติมากรรม ดนตรี ลีลาเคลื่อนไหว และสิ่ งแวดล้อม
6. ใครกาลังสร้างสรรค์ผลงานด้วยสี เอกรงค์
1 โชคชัย ใช้สีน้ าเงินและสี ฟ้าในการสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์
2 วิไล ใช้สีเหลืองและสี แดงในการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมฝาผนัง
3 สมัย ใช้สีแดง สี น้ าเงิน และสี เหลืองสร้างสรรค์ผลงานการวาดภาพ
4 ประไพ ใช้เพียงดินสอในการสร้างสรรค์ผลงานการวาดเส้น
7.

ข้อใดคืออุตสาหกรรมศิลป์

่
1 การพิมพ์ภาพจากกรรมวิธีพิมพ์ผานช่องฉลุ
2 การสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม
3 การสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมฝาผนัง
4 การออกแบบงานสถาปั ตยกรรม
9

8. ข้อใด ไม่ ใช่ วจิตรศิลป์
ิ
1 จิตรกรรม 2 สถาปั ตยกรรม
3 การแสดงละคร 4 การแสดงดนตรี

9. ข้อใดเป็ นศิลปะพื้นบ้าน
1 การพิมพ์ภาพ 2 การวาดภาพ
3 การทอผ้า 4 การปั้ น

10. ใครกาลังสร้างสรรค์ผลงานศิลปะแบบ Abstract
1 ชุลีกร กาลังโกรธ จึงนาดินสอมาขีดกระดาษไปตามอารมณ์ของตนเอง
่
2 ปิ ตินท กาลังคิดถึงคนรัก จึงวาดรู ปดอกกุหลาบอยูในหัวใจ
ั
3 ณัฐนันท์ เดินทางไปต่างจังหวัด เห็นดอกทานตะวันกาลังบานสะพรั่ง จึงจดจามาวาดเป็ นภาพ
ที่ประทับใจ
4 กรเดช ไม่พอใจที่ถูกคนรักหักอก จึงวาดรู ปหญิงคนรักมีเขี้ยวเหมือนนางยักษ์

1.
3

สิ่ งใดไม่สามารถนามาเป็ นแม่พิมพ์ในการพิมพ์ภาพได้
1 มือ 2
เศษวัสดุต่าง ๆ 4 ตับ

กระดาษ

2. สิ่ งที่สาคัญที่สุดในการพิมพ์ภาพ คืออะไร
1 สี 2
3 กระดาษ 4

แม่พิมพ์
ถูกทุกข้อ

3. แม่พิมพ์ในข้อใดใช้พิมพ์ในกรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูน
1 เหล็ก
2
3 หิ น 4

แผ่นยาง
กระจก
10

4. แม่พิมพ์ในข้อใดใช้พิมพ์ในกรรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก
1 เหล็ก
2 แผ่นยาง
3 หิ น
4 กระจก
5. แม่พิมพ์ในข้อใดใช้พิมพ์ในกรรมวิธีพิมพ์จากส่วนพื้นผิว
1 เหล็ก
2 แผ่นยาง
3 หิ น
4 กระจก
6. กรรมวิธีพิมพ์ในข้อใดต้องใช้สีเกรยอง
1 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูน
3 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนพื้นผิว

2
4

กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก
่
กรรมวิธีพิมพ์ผานช่องฉลุ

7. หนังสื อทัวไปใช้กรรมวิธีการพิมพ์ภาพในข้อใด
่
1 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูน
3 ก รรมวิธีพิมพ์จากส่วนพื้นผิว

2
4

กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก
่
กรรมวิธีพิมพ์ผานช่องฉลุ

8. ถ้านักเรี ยนต้องการพิมพ์ภาพลงบนเสื้ อยืดเพื่อจาหน่าย นักเรี ยนควรศึกษากรรมวิธีการพิมพ์ภาพในข้อใด
1 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูน2
กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก
่
3 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนพื้นผิว 4
กรรมวิธีพิมพ์ผานช่องฉลุ
่
9. แม่พิมพ์ในข้อใดใช้พิมพ์ภาพด้วยกรรมวิธีพิมพ์ผานช่องฉลุ
1 แม่พิมพ์เหล็ก
2 แม่พิมพ์กระจก
3 แม่พิมพ์ตะแกรงไหม
4 แม่พิมพ์หิน
10. แม่พิมพ์คู่ใดที่ใช้กรรมวิธีการพิมพ์ที่ตรงข้ามกัน
1 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูน และกรรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก 2 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูน และกรรมวิธี
พิมพ์จากส่วนพื้นผิว
3 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก และกรรมวิธีพิมพ์จากส่วนพื้นผิว 4 ก รรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก และกรรมวิธี
่
พิมพ์ผานช่องฉลุ
ให้ ระบายคาตอบทีถูกต้ องลงในวงกลมตัวเลือกให้ เต็มวง (ห้ ามระบายนอกวง)
่
1. คนในปั จจุบนนิยมนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการออกแบบงานประเภทใด
ั
1 การ์ด 2 นามบัตร
3 โปสเตอร์ 4 ถูกทุกข้อ
11

2.

โปรแกรมในข้อใดไม่ ใช่ โปรแกรมที่ใช้ในการออกแบบงานศิลปะ

1

Auto CAD2

Adobe Flash CS

3

Adobe Photoshop4

Adobe Illustrator

3. ความละเอียดของภาพ เรี ยกว่าอะไร
1

Dot

3

Feather

2 Pixel
4

Path

4. ถ้านักเรี ยนต้องการเปิ ดภาพที่ตองการใช้งานในโปรแกรม Adobe Photoshop ควรเลือกคาสังใด
้
่
1

Insert

3

Select

2 File
4

Layer

5. ถ้านักเรี ยนต้องการใช้คาสัง Inverse ควรเข้าไปที่เมนูใด
่
1

Insert

2

File

3

Select4

Layer

6. ถ้านักเรี ยนต้องการเปลี่ยนฟอนต์ ขนาดตัวอักษรและสี ให้สวยงาม ควรไปที่แถบเครื่ องมือใด
1

Character

2

3

Clone Source 4

Tool Presets

่
7. ถ้าภาพอยูในตาแหน่งไม่สมดุลจะใช้เครื่ องมือใด
1

Type Tool 2

3

Lasso Tool 4

Move Tool
Crop Tool

8. เครื่ องมือในข้อใดใช้ตกแต่งเพื่อความละเอียดของชิ้นงาน
1

Eraser Tool 2

3

Blur Tool 4

History Brush Tool
Slice Tool

Paragraph
12

9. ข้อดีของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบคืออะไร
1 รวดเร็ วและแก้ไขได้ง่าย 2 ผูออกแบบได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างเต็มที่
้
3 ใช้วสดุ อุปกรณ์ในการทาน้อยชิ้น 4 ขั้นตอนในการทาไม่สลับซับซ้อน
ั
10. โปรแกรม Adobe Photoshop ใช้ประโยชน์ในเรื่ องใด
1 สร้างสรรค์ภาพ
3 ใช้แก้ไขภาพ 4 ถูกทุกข้อ

2 ใช้ตกแต่งภาพ

More Related Content

What's hot

5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)Kruthai Kidsdee
 
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์Preeda Chanlutin
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptPreeda Chanlutin
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Preeyaporn Chamnan
 
ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2peter dontoom
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0neenpd11
 
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ปลายภาค ม4 2557
ปลายภาค ม4 2557ปลายภาค ม4 2557
ปลายภาค ม4 2557peter dontoom
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2พัน พัน
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Nakee Wk
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุsarungolf
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1peter dontoom
 
วาดภาพระบายสี
วาดภาพระบายสีวาดภาพระบายสี
วาดภาพระบายสีWattanakorn Fuakeaw
 
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลายเอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลายpeter dontoom
 

What's hot (20)

5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
 
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 
ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
 
ปลายภาค ม4 2557
ปลายภาค ม4 2557ปลายภาค ม4 2557
ปลายภาค ม4 2557
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
Visual Elements
Visual ElementsVisual Elements
Visual Elements
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
วาดภาพระบายสี
วาดภาพระบายสีวาดภาพระบายสี
วาดภาพระบายสี
 
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลายเอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
 

Viewers also liked

ชุดที่18
ชุดที่18ชุดที่18
ชุดที่18peter dontoom
 
กฎหมายคือ
กฎหมายคือกฎหมายคือ
กฎหมายคือpeter dontoom
 
ชุดที่15
ชุดที่15ชุดที่15
ชุดที่15peter dontoom
 
ชุดที่29
ชุดที่29ชุดที่29
ชุดที่29peter dontoom
 
ชุดที่12
ชุดที่12ชุดที่12
ชุดที่12peter dontoom
 
บทที่ 1 รู้จักอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นและการเชื่อมต่อ
บทที่ 1 รู้จักอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นและการเชื่อมต่อบทที่ 1 รู้จักอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นและการเชื่อมต่อ
บทที่ 1 รู้จักอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นและการเชื่อมต่อpeter dontoom
 
ชุดที่25
ชุดที่25ชุดที่25
ชุดที่25peter dontoom
 
ชุดที่20
ชุดที่20ชุดที่20
ชุดที่20peter dontoom
 
ภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingpeter dontoom
 
องค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้น
องค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้นองค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้น
องค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้นpeter dontoom
 
เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556
เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556
เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556peter dontoom
 
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะpeter dontoom
 
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003peter dontoom
 
ข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศน
ข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศนข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศน
ข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศนpeter dontoom
 
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์peter dontoom
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 

Viewers also liked (19)

ชุดที่5
ชุดที่5ชุดที่5
ชุดที่5
 
ชุดที่7
ชุดที่7ชุดที่7
ชุดที่7
 
ชุดที่18
ชุดที่18ชุดที่18
ชุดที่18
 
กฎหมายคือ
กฎหมายคือกฎหมายคือ
กฎหมายคือ
 
ชุดที่15
ชุดที่15ชุดที่15
ชุดที่15
 
ชุดที่29
ชุดที่29ชุดที่29
ชุดที่29
 
ชุดที่12
ชุดที่12ชุดที่12
ชุดที่12
 
บทที่ 1 รู้จักอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นและการเชื่อมต่อ
บทที่ 1 รู้จักอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นและการเชื่อมต่อบทที่ 1 รู้จักอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นและการเชื่อมต่อ
บทที่ 1 รู้จักอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นและการเชื่อมต่อ
 
ชุดที่25
ชุดที่25ชุดที่25
ชุดที่25
 
ชุดที่20
ชุดที่20ชุดที่20
ชุดที่20
 
ภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmaking
 
ชุดที่2
ชุดที่2ชุดที่2
ชุดที่2
 
องค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้น
องค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้นองค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้น
องค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้น
 
เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556
เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556
เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556
 
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
 
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
 
ข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศน
ข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศนข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศน
ข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศน
 
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Similar to ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์

210 printing-otherstuff
210 printing-otherstuff210 printing-otherstuff
210 printing-otherstuffSamn Sanwarisa
 
ศิลปการวาดเส้น
ศิลปการวาดเส้นศิลปการวาดเส้น
ศิลปการวาดเส้นchanaparo
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4peter dontoom
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3peter dontoom
 
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdfเรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdfpeter dontoom
 
ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีpaween
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะkthananchai
 

Similar to ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์ (19)

210 printing-otherstuff
210 printing-otherstuff210 printing-otherstuff
210 printing-otherstuff
 
ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์
 
ศิลปการวาดเส้น
ศิลปการวาดเส้นศิลปการวาดเส้น
ศิลปการวาดเส้น
 
เทคนิคสีน้ำ
เทคนิคสีน้ำเทคนิคสีน้ำ
เทคนิคสีน้ำ
 
E book arts
E book artsE book arts
E book arts
 
E book arts
E book artsE book arts
E book arts
 
E book arts
E book artsE book arts
E book arts
 
E book arts
E book artsE book arts
E book arts
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdfเรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.pdf
 
ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสี
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Graphics Design
Graphics DesignGraphics Design
Graphics Design
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 
4.2.pdf
4.2.pdf4.2.pdf
4.2.pdf
 

ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์

  • 1. 1 ข้อสอบปลายภาควิชาทัศนศิลป์ ม.ต้น จานวน ข้อ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม คาสั่ง จงเขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของศิลปะ ก. ศิลปะคือธรรมชาติ ข. ศิลปะคือการแสดงออกทางความงาม ค. ศิลปะคือการแสดงออกทางสังคม ง. ศิลปะคือการรับรู้ทางการมองเห็น จ. ศิลปะคือการถ่ายทอดความรู้สึก นาคาตอบต่อไปนี้ไปใช้ตอบข้อ 2-4 ก. จิตรกรรม ข. ประติมากรรม ค. ภาพพิมพ์ ง. สถาปัตยกรรม จ. วรรณกรรม 2. ศิลปะในข้อใดใช้วิธีการแกะ ปัน หล่อ มีลักษณะเป็น 3มิติ ้ 3. ศิลปะในข้อใดใช้วิธีการเขียน หรือระบาย ด้วยสี 4. ศิลปะในข้อใดใช้วิธีการกด ประทับเพื่อสร้างงานต้นแบบให้มีจานวนมาก นาคาตอบต่อไปนีไปใช้ตอบข้อ 5-7 ้ ก. อุตสาหกรรมศิลป์ ข. ศิลปหัตถกรรม ค. พาณิชย์ศิลป์ ง. มัณฑนศิลป์ จ.วรรณศิลป์ 5. ภาพโฆษณา หรือโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ จัดเป็นงานศิลปะประเภทใด 6. การตกแต่งภายในที่พักอาศัย จัดเป็นงานศิลปะประเภทใด 7. ข้อใดเป็นงานศิลปะที่นิยมใช้วัสดุในท้องถิ่น และทาด้วยมือเป็นส่วนใหญ่ 8. เส้นชนิดใดจัดเป็นเส้นพื้นฐาน ก. เส้นตรง และเส้นซิกแซก ข. เส้นโค้ง และเส้นซิกแซก ค. เส้นโค้ง และเส้นตรง ง. เส้นตรง และเส้นขดหอย จ. เส้นขดหอย และเส้นโค้ง 9. เส้นชนิดใดให้ความรู้สึกขัดแย้ง ก. เส้นแนวตั้ง ข. เส้นคลื่น ค. เส้นขดหอย ง. เส้นแนวนอน จ. เส้นซิกแซก 10. รูปร่าง แตกต่างกับรูปทรงอย่างไร ก. รูปร่างไม่มีมิติ รูปทรงมี 2มิติ ข. รูปร่างมี 2มิติ รูปทรงมี 3มิติ ค. รูปร่างมี3มิติ รูปทรงมี 2มิติ ง. รูปร่างมี3มิติ รูปทรงมี4มิติ จ.รูปร่าง และรูปทรงมี 3มิติ นาคาตอบต่อไปนีไปใช้ตอบในข้อ 11-12 ้ ก. OPEN FORM ข. CLOSE FORM ค.GEOMETRIC FORM ง. FREE FORM 11. ก้อนเมฆ จัดเป็นรูปทรงแบบใด 12. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จัดเป็นรูปทรงแบบใด 13. รูปทรงในข้อใดจัดเป็นรูปทรงพื้นฐาน ก. รูปทรงอิสระ ข. รูปทรงเรขาคณิต ค. รูปทรงนามธรรม ง. รูปทรงธรรมชาติ จ. รูปทรงประดิษฐ์ 14. รูปทรงในข้อใดให้ความรู้สึกสง่างาม ก. สามเหลี่ยม ข. สี่เหลี่ยม ค.หกเหลี่ยม ง. วงกลม จ. วงรี 15. ข้อใดหมายถึงศิลปะที่ดูเหมือนจริงตามธรรมชาติ ก. FANTASTIC ข. SOCIALISTIC ค. REALISTIC ง. ABSTRACT จ. SEMI ABSTRACT จ. OGANIC FORM
  • 2. 2 16. ผิวของวัตถุชนิดใดให้ความรู้สึกหรูหรา มีราคา ก.ผิวเรียบของเครื่องปั้นดินเผา ข.ผิวเรียบของผนังห้อง ค.ผิวเรียบของไม้ ง. ผิวเรียบของหินอ่อน จ. ผิวเรียบของทองเหลือง 17. สีขั้นที2 คือสีในข้อใด ่ ก. ขาว ชมพู ฟ้า ข. เขียว ขาว ส้ม ค. เขียว ม่วง ส้ม ง. แดง เหลือง น้าเงิน จ. ม่วง เหลือง เขียว 18. สีเขียว น้าเงิน เป็นสีตรงข้ามกับสีใด ก. ม่วง แดง ข.ส้ม แดง ค.ส้ม เหลือง ง.เขียว เหลือง จ. ม่วง น้าเงิน 19. สีในข้อใดเป็นได้ทั้งสีร้อน และสีเย็น ก. ม่วง และเหลือง ข. แดง และน้าเงิน ค. ม่วง และน้าเงิน ง. แดง และเหลือง จ. แดง และม่วง 20. คาว่าวาดเขียน ตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษข้อใด ก. DRAWING ข.PAINTING ค.PENCIL ง.FIGURE จ.DESIGN 21. โดยทั่วไปควรกาหนดให้แสงส่องกระทบวัตถุที่ต้องการเขียนจากด้านใด ก. ทุกทิศทาง ข.ด้านหน้า ค. ด้านหลัง ง.ด้านซ้ายหรือขวา จ.ด้านบน 22. สิ่งใดที่ทาให้เราสามารถมองเห็นสีของวัตถุ ก. แสง ข. สี ค. เงา ง. วัตถุ จ. น้าหนัก 23. สิ่งสาคัญที่ต้องคานึงถึงก่อนในการวาดเขียนคืออะไร ก. ระยะใกล้-ไกล ข. รูปทรง -ผิว ค. แสง-เงา ง.ตาแหน่ง-สัดส่วน จ.ความเหมือนจริง 24. ศิลปะไทยจัดเป็นศิลปะประเภทใด ก.ศิลปะแบบนามธรรม ข.ศิลปะแบบเหมือนจริง ค.ศิลปะแบบอุดมคติ ง.ศิลปะสมัยเก่า จ.ศิลปะสมัยใหม่ 25. พระพุทธรูปของไทยสมัยใดที่ได้รับการยกย่องว่ามีความงามที่สุด ก. ลพบุรี ข. เชียงแสน ค. สุโขทัย ง. อยุธยา จ. รัตนโกสินทร์ 10. ข 20. ก ใบความรู ้สาระศิลปะ(ทัศนศิลป์ ) เรื่ อง ประติมากรรม ………………………………….. การปั น การแกะสลัก การหล่อ จัดอยูในศิลปะประเภทเดียวกัน คือ ประติมากรรม ซึงเป็ นศิลปะ 3 มิติ ที่แตกต่าง ้ ่ ่ จากการวาดภาพระบายสี ซึงเป็ นศิลปะ 3 มิติ ที่แตกต่างจากการวาดภาพระบายสี และภาพพิมพ์ ซึงมีลกษณะ 2 มิติ ่ ่ ั การปั นจะเป็ นการสร้ างรูปทรงที่มีความใกล้ เคียงกับความเป็ นจริ งมากที่สดสามารถจับต้ องได้ ้ ุ ความหมายของประติมากรรม การปั น หมายถึง การนาวัสดุที่มีลกษณะค่อนข้ างนิ่ม เช่น ดินเหนียว ดินน ้ามันมาแปรสภาพโดยการ บีบ กด บิด ้ ั โดยการพอกเพิ่ม ดึงออก จนเป็ นรูปทรงตามความต้ องการ การแกะสลัก หมายถึง การนาวัสดุที่มีลกษณะค่อนข้ างแข็ง เช่น สบู่ เทียน ไม้ มาแกะ ขูด ส่วนที่ไม่ต้องการออก ั เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการให้ ปรากฏเป็ นรูปทรง
  • 3. 3 การหล่อ หมายถึง การนาต้ นแบบงานปั นมาถ่ายแบบจากการสร้ างแม่พิมพ์ แล้ วจึงใช้ วสดุที่เป็ นของเหลวเทลงใน ้ ั แม่พิมพ์เมื่อของเหลวแข็งตัวจะเกิดเป็ นชิ ้เนงานขึ ้น วัสดุอปกรณ์ที่ใช้ ในงานประติมากรรม ุ 1. ดินเหนียว เป็ นวัสดุธรรมชาติที่ใช้ ทางานปั นได้ ดี มีสเี ทาดา เมื่อแห้ งจะมีสเี ทาขาว ถ้ านาไปเผาจะได้ สขาว สี ้ ี แดง ตามแต่ชนิดของดิน ขณะทางานดินสามารถอุ้มน ้าได้ ดี แห้ งช้ า มีความยืดหยุน เมื่อนามาปั นเป็ นรูปทรงที่ ่ ้ ต้ องการแล้ ว สามารถนาไปเผาเป็ นวัตถุถาวรได้ เมื่อเปื อนมือสามารถล้ างออกด้ วยน ้าสะอาด ้ 2. ดินน ้ามัน มีคณสมบัติคล้ ายดินเหนียว แต่ไม่สามารถนาไปเผาเป็ นวัตถุถาวรได้ เพราะมีน ้ามันเป็ นส่วนผสมอยู่ ุ เมื่อโดนความร้ อนจะเปลียนแปลงรูป หาซื ้อได้ ง่ายตามร้ านค้ าทัวไป มีสสนให้ เลือกมากมาย ปั จจุบนมีแบบ ่ ่ ี ั ั ปลอดสารพิษ 3. ปูนปลาสเตอร์ มีลกษณะเป็ นผง สีขาว เมื่อนามาใช้ ต้องผสมน ้าอุณหภูมิปกติในอัตราส่วนน ้า 1 ส่วน ต่อปูน ั 1.5 - 2 ส่วนเหมาะสาหรับหล่อเพราะสามารถแทรกตัวเข้ าไปในรูปทรง ต่าง ๆ แห้ งเร็ ว มีคณสมบัติเปราะ ุ แตกง่าย 4. สบู่ เป็ นวัสดุที่สามารถนามาใช้ ในการแกะสลักได้ หาซื ้อง่าย แกะสลักง่ายกว่าหินหรื อไม้ 5. พืชผัก เช่น มันฝรั่ง หัวผักกาด ฟั กทอง เป็ นวัสดุธรรมชาติที่นามาใช้ แกะสลักได้ และสามารถประยุกต์ใช้ เป็ น แม่พิมพ์ในการสร้ างสรรค์งานภาพพิมพ์ได้ 6. แม่พิมพ์ยาง ใช้ สาหรับหล่อปูนปลาสเตอร์ สามารถหาซื ้อแม่พิมพ์สาเร็ จรูปได้ สะดวกกว่านายางพารามาหล่อ เป็ นแม่พิมพ์เอง 7. วัสดุกนติด สาหรับงานหล่อ เช่น วาสลิน น ้าสบู่ จะทาให้ แกะปูนปลาสเตอร์ ออกจากแม่พิมพ์ได้ ง่ายขึ ้น ั 8. ใบมีดปลายแหแหลม ใช้ สาหรับงานแกะสลัก และงานปั น ้ 9. ภาชนะผสมปูนขาว เช่น แก้ วน ้าพลาสติกซึงมีราคาไม่แพง ใช้ แล้ วสามารถทิ ้งได้ เลยเพราะทาความสะอาดยาก ่ 10. อุปกรณ์อื่น เช่น เสื ้อคลุมกันเปื อน กระดานรองปั น ้ ้ ประเภทของงานประติมากรรม 1. แบบร่องลึก เป็ นการแกะหรื อปั นวัสดุหน้ าเรี ยบให้ มีความลึก จากการขูด ประทับรอย มักใช้ ในเครื่ องปั นดินเผา ้ ้ การสร้ างพื ้นผิวต่าง ๆ ลงบนดินเหนียว 2. แบบนูนต่า เป็ นการสร้ างรูปนูนจากพื ้นเพียงเล็กน้ อย เช่น มองเห็นด้ านหน้ าและด้ านข้ าง เช่น เหรี ยญบาท 3. แบบนูนสูง เป็ นการสร้ างรูปนูนจากพื ้นให้ เห็นด้ านหน้ าและด้ านข้ าง ส่วนด้ านหนึงติดอยูกบพื ้น เช่น รูปปูนปั น ่ ่ ั ้ บริ เวณฐานอนุสาวรี ย์ประชาธิปไตย รูปสลักหินทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ 4. แบบลอยตัว เป็ นการปั นที่สามารถมองเห็นได้ รอบทิศ ซึงมีฐานด้ านล่างติดอยูกบพื ้น เช่น รูปปั นอนุสาวรี ย์ตาง ้ ่ ่ ั ้ ่ ๆ พระพุทธรูป เป็ นต้ น รูปแบบของงานประติมากรรม 1. รูปเดี่ยว เป็ นรูปทรงเดี่ยว เช่น รูปเรขาคณิต ตุ๊กตา ผลไม้ มีลกษณะเป็ นแบบลอยตัว ั 2. ประกอบเรื่ องราว เป็ นการปั นและจัดองค์ประกอบต่าง ๆ เชื่อมโยง เช่น เป็ นรูปทิวทัศน่ บ้ าน สัตว์เลี ้ยง ต้ นไม้ ้ ทาได้ ทงแบบลอยตัว และนูนต่า ั้ 3. เป็ นลวดลาย เช่น ลายไทยในงานปูนปั น ส่วนใหญ่จะทาเป็ นแบบนูนสูง หรื อแบบนูนต่า ้ 4. ภาชนะ เครื่ องใช้ สอย เช่น แก้ วน ้า แจกัน กระถาง จาน ชาม เป็ นต้ น
  • 4. 4 ส่วนประกอบทางศิลปะในงานประติมากรรม 1. เส้ น มีลกษณะเป็ นเส้ นขนอบของรูปทรง ที่ทาให้ เกิดปริ มาตรหรื อเส้ นที่เกิดจากการขด ั 2. สี เป็ นสีของวัสดุ เช่น ไม้ หินอ่อน สัมฤทธิ์ หินทราย ดินเหนียว ดินน ้ามัน หรื องานหล่อปูนปลาสเตอร์ แล้ ว ลงสีทบซึงสีในงานประติมากรรม มีความสาคัญน้ อยกว่าในผลงานประเภทจิตรกรรม ั ่ 3. รูปทรง มีลกษณะ 3 มิติ เช่น รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงอิสระที่เกิดจากการเลียนแบบธรรมชาติ และตาม ั จินตนาการซึงเป็ นส่วนสาคัญในงานประติมากรรม ่ 4. พื ้นผิว เป็ นส่วนรอบนอกของผลงานประติมากรรมสามารถสร้ างพื ้นผิวจากงานปั น เช่น แบบร่องลึกสามารถทา ้ ให้ เกิดพื ้นผิวแตกต่างกัน รหือพื ้นผิวที่เกิดจากการแกะสลัก เทคนิคในงานประติมากรรม 1. โครงสร้ างกระดาษ เรามักใช้ กระดาษแข็งตัดเป็ นรูปต่าง ๆ แล้ วเรี ยงต่อกันให้ เกิดเป็ นงานโครงสร้ าง หรื อ ประกอบเป็ นรูปทรงต่าง ๆ 2. โครงสร้ างลวด เราใช้ ลวดขดไปมาหรื อต่อให้ เกิดเป็ นรูปทรงต่าง ๆ เช่น ภาพสัตว์ ภาพดอกไม้ 3. โครงสร้ างไม้ สามารถใช้ ไม้ ไอศกรี ม ไม้ จิ ้มฟั น ประกอบให้ เป็ นรูปทรงต่าง ๆ ได้ เช่น ภาพบ้ าน ภาพ สิงก่อสร้ าง หรื อ รูปทรงอื่น ๆ ่ 4. หล่อพิมพ์ยาง เราสามารถซื ้อพิมพ์ยางสาเร็ จรูป นาสบูเ่ หลวหรื อวาสลินมาทาให้ ทวพิมพ์ยาง ผสมปูน ั่ ปลาสเตอร์ แล้ วเพลงในพิมพ์ เมื่อแห้ งจึงแกะพิมพ์ออก สามารถระบายสีทบปูนปลาสเตอร์ ได้ ั 5. งานประติดกระดาษหรื อเปเปอร์ มาเช่ (PAPER MACHE) เป็ นการสร้ างงานประติมากรรมประเภทหนึง โดยใช้ ่ กระดาษปะติดจนมีความหนาเป็ นรูปทรงต่าง ๆ เป็ นรูปสัตว์ รูปการ์ ตน รูปภาชนะ ู 1.วรรณะสี ร้อน (warm tone) คือสี ใด ก.ส้ม เหลือง เขียว ค.เหลือง ส้ม ม่วง ข.ฟ้ า แดง เหลือง ง.ม่วงน้ าเงิน เขียว เหลืองเขียว 2.สี ใดไม่ใช่วรรณะเย็น ก.เขียวน้ าเงิน ข.ม่วงน้ าเงิน เหลืองเขียว ค.ม่วงแดง เหลืองส้ม ง.เขียวน้ าเงิน ม่วงน้ าเงิน 3.ข้อใดไม่ได้หมายถึงสี เอกรงค์ (Monochrome ) ก.การใช้สีเดียว ที่เด่นชัดออกมาเพียงสี เดียว ข.การเน้นสี ใดสี หนึ่งแล้วสี ต่างๆตัดกับพื้น ค.สี ใดสี หนึ่งเป็ นสี แท้ และมีความสด 4.สี กลมกลืนแบ่งออกกี่ประเภท ง.สี ใดสี หนึ่งแท้มาเปลี่ยนค่าน้ าหนักอ่อนแก่
  • 5. 5 ก.2 ประเภท ข.3 ประเภท ค.4 ประเภท ง.5 ประเภท 5.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก.สี ม่วงตรงกันข้ามสี เหลือง ข.สี เขียวตรงกันข้ามกับสี แดง ค.สี น้ าเงินตรงกันข้ามสี สม ้ ง.สี แดง ตรงกันข้ามสี ม่วง 6.ข้อใดไม่ใช่ลกษณะความคิดสร้างสรรค์ ั ก.มีความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นใหม่ ไม่ซ้ าแบบใคร ข.ดัดแปลงมาจากผูอื่น ้ ค.มีความคิดริ่ เริ่ ม สติปัญญาที่แตกต่างจากผูอื่น ง.ความคิดริ เริ่ มใหม่ มีสุนทรี ยภาพ ้ 7.Mural painting คือ ก.จิตรกรรมฝาผนัง ข.จิตรกรรมสี น้ ามัน ค.ภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้าง ง.จิตรกรรมสมัยใหม่ 8.ทัศนธาตุ (Visual Elements)ประกอบไปด้วย ก.จุด เส้น รู ปร่ าง น้ าหนักอ่อน-แก่ สี ข. จุด เส้น รู ปร่ าง น้ าหนักอ่อน-แก่ สี บริ เวณว่าง ค.จุด เส้น รู ปร่ าง รู ปทรง น้ าหนักอ่อน-แก่ สี บริ เวณว่าง ง. จุด เส้น รู ปร่ าง รู ปทรง น้ าหนักอ่อน-แก่ สี บริ เวณว่าง พื้นผิว 9.สี ส่วนรวม (Tonality) หมายถึง ก.สี ใดสี หนึ่งที่ให้อิทธิพลเหนือสี อื่นทั้งหมด ข.สี ที่เด่นชัดเพียงสี เดียว ่ ค.สี ที่อยูตรงกันข้ามในวงจรสี ธรรมชาติ ง.สี ใดสี หนึ่งที่ทาให้จางลงจนขาวหรื อสว่าง ่ 10.ศูนย์กลางอาณาจักรยุคสมัยทวราวดี อยูที่ใด ก.ลพบุรี ข.สุราษฎร์ธานี ค.นครปฐม ง.เชียงใหม่
  • 6. 6 10. ข้ อใดเป็ นสถาปัตยกรรมแบบปิ ด ก โรงพยาบาล ข อาคารบ้านเรื อน ค อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ง ถูกทุกข้อ 14. จุดเด่ นของภาพโมนาลิซา คือข้ อใด ก บริ เวณว่างรอบตัวโมนาลิซา ข ใบหน้ า ดวงตา และรอยยิม ้ ค แสงเงาที่กลมกลืนเหมือนธรรมชาติ ง สัดส่วนทางกายวิภาคงดงามตามธรรมชาติ 1.การเขียนภาพระบายสีมกลกษณะ อะไรบ้ าง ี ี่ ั ก 3 ลักษณะ คือ การเขียนภาพแสดงรู ปแบบ การเขียนภาพกึงแสดงรู ปแบบ การเขียนภาพไม่ แสดงรู ปแบบ ่ ข 2 ลักษณะ คือ การเขียนภาพแบบเหมือนจริ ง การเขียนภาพตามจินตนาการ ค 2 ลักษณะ คือ การเขียนภาพแสดงรู ปแบบ การเขียนภาพไม่แสดงรู ปแบบ ง 3 ลักษณะคือ การเขียนภาพระบายสี การเขียนภาพแบบเหมือนจริ ง การเขียนภาพตามแบบ ให้ ระบายคาตอบทีถูกต้ องลงในวงกลมตัวเลือกให้ เต็มวง (ห้ ามระบายนอกวง) ่ 1. รู ปนูนต่าและรู ปนูนสูงมีความแตกต่างกันอย่างไร 1 รู ปนูนต่า สวยงามกว่ารู ปนูนสูง 2 รู ปนูนต่า สวยงามน้อยกว่ารู ปนูนสูง 3 รู ปนูนสูง มีความนูนจากพื้นมากกว่ารู ปนูนต่า 4 รู ปนูนต่า มีความนูนจากพื้นมากกว่ารู ปนูนสูง 2. “ฉันเข้าชมพระบรมสาทิสลักษณ์ และรู ปปั้ นอาจารย์ศิลป์ พีระศรี ในพิพิธภัณฑ์แห่งหนึ่ง” เกี่ยวข้องกับศัพท์ทางนาฏศิลป์ ใด 1 รู ปคนเหมือน 2 ประติมากรรม 3 ภาพหุ่นนิ่ง 4 รู ปนูนต่า 3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการบรรยายผลงานทัศนศิลป์ 1 พูดบรรยายถึงผลงานที่เหนือกว่าผลงานผูอื่น ้ 2 พูดบรรยายตามความคิดเห็นของผูบรรยาย ้ 3 พูดบรรยายด้วยภาษาที่ผบรรยายเข้าใจง่าย ู้ 4 พูดบรรยายด้วยภาษาที่ผชมเข้าใจง่าย ู้ จากข้อความ
  • 7. 7 4. ข้อใดคือเป้ าหมายของผูเ้ ข้าฟังคาบรรยายผลงานทัศนศิลป์ 1 หลงใหลและคลังไคล้ 2 ผ่อนคลาย สบายใจ ่ 3 ความรู ้คู่สุนทรี ยภาพ 4 เต็มเปี่ ยมไปด้วยเนื้อหา 5. ศัพท์ทางทัศนศิลป์ มีประโยชน์อย่างไร 1 ช่วยให้งานทัศนศิลป์ มีคุณค่ามากยิงขึ้น 2 ช่วยให้มีคนเข้าชมงานมากยิงขึ้น ่ ่ 3 ช่วยให้ผฟังต้องตีความในภาษา 4 ช่วยสื่ อความหมายทางทัศนศิลป์ ได้เข้าใจยิงขึ้น ู้ ่ 6. “งานประติมากรรมชิ้นนี้มีความโดดเด่นที่นาวัสดุเหลือใช้มารี ไซเคิล ทาให้มีพ้ืนผิวที่แปลก...” จากข้อความผูบรรยายกาลังบรรยายงานศิลปะใด ้ 1 งานปั้ นรู ปสัตว์ในเทพนิยาย2 ภาพวาดโดยใช้เทคนิคผสม 3 โบสถ์ที่ทาด้วยขวดที่เหลือใช้ 4 ภาพหุ่นนิ่ง 7. ข้อใดกล่าวถึงภาพร่ างได้ถูกต้อง 1 ภาพที่เขียนขึ้นเพื่อให้เห็นรายละเอียดชัดเจน 2 ภาพที่เขียนขึ้นอย่างคร่ าว ๆ ด้วยเวลาที่รวดเร็ ว 3 ภาพที่เขียนขึ้นอย่างละเอียดด้วยเวลาที่รวดเร็ ว 4 ภาพที่เขียนขึ้นอย่างคร่ าว ๆ แต่เสร็ จสมบูรณ์ในตัวเอง 8. ถ้านักเรี ยนไปชมงานนิทรรศการภาพทางศิลปะ ควรปฏิบติต่อผูบรรยายอย่างไร ั ้ 1 สนทนากับเพื่อนที่มาร่ วมงานอย่างเงียบ ๆ 2 ซักถามผูบรรยายตลอดเวลาเพื่อความเข้าใจ ้ 3 สนใจฟังเฉพาะผลงานที่ชอบเท่านั้น 4 ตั้งใจฟังและซักถามตามความเหมาะสม 9. คาศัพท์ใด ไม่เกี่ยวข้องกับงานจิตรกรรม 1 รู ปนูนต่า 2 รู ปร่ าง 3 ภาพ 4 ภาพทิวทัศน์ทางบก 10. การพูดบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ ที่ดีสอดคล้องกับสานวนใด 1 คันปาก 2 ติเพื่อก่อ 3 ชักแม่น้ าทั้งห้า 4 พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสี ยตาลึงทอง ให้ ระบายคาตอบทีถูกต้ องลงในวงกลมตัวเลือกให้ เต็มวง (ห้ ามระบายนอกวง) ่ 1. ข้อใดกล่าวถึงศิลปิ นได้ถูกต้องที่สุด 1 นักร้อง 2 นักแสดง 3 จิตรกร 4 ผูสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ้ 2. สี ใดคือสี เย็น 1 สี แดง 2 สี สม ้
  • 8. 8 3 สี ม่วง 4 สี เหลือง 3. สี ใดเป็ นได้ท้ งสี อุ่นและสี เย็น ั 1 สี แดง 2 สี เหลือง 3 สี เขียว 4 สี น้ าเงิน 4. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของสี 1 สี คือ แสง 2 สี คือ ความเข้มของแสง 3 สี คือ สิ่ งที่เรามองเห็นแล้วมีอิทธิพลต่อความรู ้สึก 4 สี คือ ลักษณะความเข้มของแสงที่สะท้อนสู่ตา 5. ข้อใดกล่าวถึงสื่ อผสมไม่ ถูกต้อง 1 เป็ นศิลปะที่เกิดขึ้นในยุคแรก ๆ 2 การแสดงละครเวที 3 การผสมผสานระหว่างจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ หรื อวาดเส้น ั 4 ศิลปะที่ผสมผสานสัมพันธ์กนระหว่างประติมากรรม ดนตรี ลีลาเคลื่อนไหว และสิ่ งแวดล้อม 6. ใครกาลังสร้างสรรค์ผลงานด้วยสี เอกรงค์ 1 โชคชัย ใช้สีน้ าเงินและสี ฟ้าในการสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์ 2 วิไล ใช้สีเหลืองและสี แดงในการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมฝาผนัง 3 สมัย ใช้สีแดง สี น้ าเงิน และสี เหลืองสร้างสรรค์ผลงานการวาดภาพ 4 ประไพ ใช้เพียงดินสอในการสร้างสรรค์ผลงานการวาดเส้น 7. ข้อใดคืออุตสาหกรรมศิลป์ ่ 1 การพิมพ์ภาพจากกรรมวิธีพิมพ์ผานช่องฉลุ 2 การสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม 3 การสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมฝาผนัง 4 การออกแบบงานสถาปั ตยกรรม
  • 9. 9 8. ข้อใด ไม่ ใช่ วจิตรศิลป์ ิ 1 จิตรกรรม 2 สถาปั ตยกรรม 3 การแสดงละคร 4 การแสดงดนตรี 9. ข้อใดเป็ นศิลปะพื้นบ้าน 1 การพิมพ์ภาพ 2 การวาดภาพ 3 การทอผ้า 4 การปั้ น 10. ใครกาลังสร้างสรรค์ผลงานศิลปะแบบ Abstract 1 ชุลีกร กาลังโกรธ จึงนาดินสอมาขีดกระดาษไปตามอารมณ์ของตนเอง ่ 2 ปิ ตินท กาลังคิดถึงคนรัก จึงวาดรู ปดอกกุหลาบอยูในหัวใจ ั 3 ณัฐนันท์ เดินทางไปต่างจังหวัด เห็นดอกทานตะวันกาลังบานสะพรั่ง จึงจดจามาวาดเป็ นภาพ ที่ประทับใจ 4 กรเดช ไม่พอใจที่ถูกคนรักหักอก จึงวาดรู ปหญิงคนรักมีเขี้ยวเหมือนนางยักษ์ 1. 3 สิ่ งใดไม่สามารถนามาเป็ นแม่พิมพ์ในการพิมพ์ภาพได้ 1 มือ 2 เศษวัสดุต่าง ๆ 4 ตับ กระดาษ 2. สิ่ งที่สาคัญที่สุดในการพิมพ์ภาพ คืออะไร 1 สี 2 3 กระดาษ 4 แม่พิมพ์ ถูกทุกข้อ 3. แม่พิมพ์ในข้อใดใช้พิมพ์ในกรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูน 1 เหล็ก 2 3 หิ น 4 แผ่นยาง กระจก
  • 10. 10 4. แม่พิมพ์ในข้อใดใช้พิมพ์ในกรรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก 1 เหล็ก 2 แผ่นยาง 3 หิ น 4 กระจก 5. แม่พิมพ์ในข้อใดใช้พิมพ์ในกรรมวิธีพิมพ์จากส่วนพื้นผิว 1 เหล็ก 2 แผ่นยาง 3 หิ น 4 กระจก 6. กรรมวิธีพิมพ์ในข้อใดต้องใช้สีเกรยอง 1 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูน 3 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนพื้นผิว 2 4 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก ่ กรรมวิธีพิมพ์ผานช่องฉลุ 7. หนังสื อทัวไปใช้กรรมวิธีการพิมพ์ภาพในข้อใด ่ 1 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูน 3 ก รรมวิธีพิมพ์จากส่วนพื้นผิว 2 4 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก ่ กรรมวิธีพิมพ์ผานช่องฉลุ 8. ถ้านักเรี ยนต้องการพิมพ์ภาพลงบนเสื้ อยืดเพื่อจาหน่าย นักเรี ยนควรศึกษากรรมวิธีการพิมพ์ภาพในข้อใด 1 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูน2 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก ่ 3 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนพื้นผิว 4 กรรมวิธีพิมพ์ผานช่องฉลุ ่ 9. แม่พิมพ์ในข้อใดใช้พิมพ์ภาพด้วยกรรมวิธีพิมพ์ผานช่องฉลุ 1 แม่พิมพ์เหล็ก 2 แม่พิมพ์กระจก 3 แม่พิมพ์ตะแกรงไหม 4 แม่พิมพ์หิน 10. แม่พิมพ์คู่ใดที่ใช้กรรมวิธีการพิมพ์ที่ตรงข้ามกัน 1 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูน และกรรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก 2 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูน และกรรมวิธี พิมพ์จากส่วนพื้นผิว 3 กรรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก และกรรมวิธีพิมพ์จากส่วนพื้นผิว 4 ก รรมวิธีพิมพ์จากส่วนร่ องลึก และกรรมวิธี ่ พิมพ์ผานช่องฉลุ ให้ ระบายคาตอบทีถูกต้ องลงในวงกลมตัวเลือกให้ เต็มวง (ห้ ามระบายนอกวง) ่ 1. คนในปั จจุบนนิยมนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการออกแบบงานประเภทใด ั 1 การ์ด 2 นามบัตร 3 โปสเตอร์ 4 ถูกทุกข้อ
  • 11. 11 2. โปรแกรมในข้อใดไม่ ใช่ โปรแกรมที่ใช้ในการออกแบบงานศิลปะ 1 Auto CAD2 Adobe Flash CS 3 Adobe Photoshop4 Adobe Illustrator 3. ความละเอียดของภาพ เรี ยกว่าอะไร 1 Dot 3 Feather 2 Pixel 4 Path 4. ถ้านักเรี ยนต้องการเปิ ดภาพที่ตองการใช้งานในโปรแกรม Adobe Photoshop ควรเลือกคาสังใด ้ ่ 1 Insert 3 Select 2 File 4 Layer 5. ถ้านักเรี ยนต้องการใช้คาสัง Inverse ควรเข้าไปที่เมนูใด ่ 1 Insert 2 File 3 Select4 Layer 6. ถ้านักเรี ยนต้องการเปลี่ยนฟอนต์ ขนาดตัวอักษรและสี ให้สวยงาม ควรไปที่แถบเครื่ องมือใด 1 Character 2 3 Clone Source 4 Tool Presets ่ 7. ถ้าภาพอยูในตาแหน่งไม่สมดุลจะใช้เครื่ องมือใด 1 Type Tool 2 3 Lasso Tool 4 Move Tool Crop Tool 8. เครื่ องมือในข้อใดใช้ตกแต่งเพื่อความละเอียดของชิ้นงาน 1 Eraser Tool 2 3 Blur Tool 4 History Brush Tool Slice Tool Paragraph
  • 12. 12 9. ข้อดีของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบคืออะไร 1 รวดเร็ วและแก้ไขได้ง่าย 2 ผูออกแบบได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างเต็มที่ ้ 3 ใช้วสดุ อุปกรณ์ในการทาน้อยชิ้น 4 ขั้นตอนในการทาไม่สลับซับซ้อน ั 10. โปรแกรม Adobe Photoshop ใช้ประโยชน์ในเรื่ องใด 1 สร้างสรรค์ภาพ 3 ใช้แก้ไขภาพ 4 ถูกทุกข้อ 2 ใช้ตกแต่งภาพ