SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
แผนผังความรู้ข้อสอบเทคโนโลยีอินเตอร์เนต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
พ.ศ. 2500 (1957) โซเวียดได้ปล่อยดาวเทียม Sputnik ทาให้สหรัฐอเมริกาได้ตระหนักถึงปัญหาที่
ต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ยงทางการทหาร และการโจมตีด้วยอาวุธปรมาณู เหนือนิวเคลียร์ การถูกทาลาย
ล้างศูนย์คอมพิวเตอร์ และระบบการสื่อสารข้อมูล อาจทาให้เกิดปัญหาทางการรบ และในยุคนั้น ระบบ
คอมพิวเตอร์มีหลากหลายมากมายหลายแบบ ทาให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและโปรแกรมกัน
ได้ จึงมีแนวความคิดในการ
วิจัยระบบที่สามารถเชื่อยงโยงเครื่องคอมพิวเตอร์และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบที่แตกต่างกันได้
ตลอดจนสามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกันได้อย่างไม่ผิดพลาด แม้ว่าคอมพิวเตอร์บางเครื่องหรือสายรับส่ง
สัญญาณเสียหายหรือทาลาย ดังนั้น กระทรวงกลาโหมของสหรัฐฯ (U.S.Department of
Defense: DoD) ได้ให้ทุนที่มีชื่อว่า DARPA (Defense Advanced Research
Project Agency) ภายใต้การควบคุมของ Dr.J.C.R. Lickliderได้ทาการทดลองระบบ
เครือข่ายที่มีชื่อว่า DARPA Networkและต่อมาได้กลายสภาพเป็น ARPAet (Advanced
Research Project Agency) และต่อได้มาพัฒนาเป็น INTERNET ในที่สุดต่อมาในเดือน
ธันวาคม เครือข่ายอาร์พาเน็ต ได้มีการทดลองเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับมหาวิทยาลัย 4 แห่งคือ
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ที่ลอสแอนแจลิส มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ที่ซาตา บาร์บารา มหาวิทยาลัยยู
ทาห์สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จากทั้ง 4 สถาบันเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่างชนิด
กัน และใช้ระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกันด้วย จากนั้นได้ขยายต่อไปเรื่อย ๆ เป็น 50 จุดในปี
พ.ศ. 2515 จนเป็นหลายล้านทั่วแห่งโลกในปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2529 อาจารย์กาญจนา กาญจนสุต จากสถาบันเทคโนโลยี แห่งเอเชีย (AIT) ร่วมกับอาจารย์
โทโมโนริ คิมูระ จากสถาบันเดียวกัน ร่วมสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยอาศัย
โมเด็ม NEC ความเร็ว 2400 Baud เครื่องคอมพิวเตอร์ NECสายโทรศัพท์ทองแดง
โดยเครือข่ายที่ได้นี้วิ่งด้วยความเร็ว 1200 - 2400 Baud และมีเสียงดังมาก จากนั้นจึงได้
ปรับเปลี่ยนมาใช้บริการ ไทยแพค ของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ซึ่งใช้เทคโนโลยี X.25 ผ่านการหมุน
โทรศัพท์ไปยังศูยน์ บริการของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ทาการรับส่งอีเมล์กับมหาวิทยาลัยโตเกียว และ
มหาวิทยาลัยเมลเบิร์นโดยใช้โปรแกรม UUCP ตลอดจนส่งอีเมล์ไปยังบริษัท UUNET ที่เวอร์จิเนีย
สหรัฐอเมริกา และนามาใช้กับงานของอาจารย์และงานสอนของนักศึกษาในเวลาต่อไป นับได้ว่า อาจารย์
กาญจนา กาญจนสุต เป็นบุคคลแรกที่เริ่มใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์รายแรกของประเทศไทย
หลังจากนั้นได้มีความร่วมมือระหว่างรัฐบาลออสเตรเลีย ภายใต้โครงการ The In - ternational
Development Plan (IDP) ได้ให้ความช่วยเหลือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไทยขึ้นมา ในปี
พ.ศ. 2531 โดยให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย มีหน้าที่เป็นศูนย์กลาง
ของประเทศไทยใยการเชื่องโยงที่ไปที่เครื่องแม่ข่ายของมหาวิทยาลัยเมเบิร์น และตั้งชื่อโครงการนี้
ว่า TCSNet - Thai Computer Science Network ใช้ซอฟต์แวร์ SUNIII ซึ่งเป็นระบบ
ปฎิบัติการ UNIX ประเภทหนึ่งที่เผยแพร่หลายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในออสเตรเลีย
ในปี พ.ศ. 2534 อาจารย์ทวีศักดิ์ กออนันตกูล อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ได้จัดตั้งศูนย์อีเมล์แห่งใหม่ โดยใช้โปรแกรม MHSNet และใช้โมเด็ม 14.4 Kbps (ซึ่งเร็วที่สุดใน
ประเทศไทยในขณะนั้น) และทาหน้าที่แลกเปลี่ยนข้อมูลกับเครื่อง Munnari ของออสเตรเลียกับ
มหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศผ่านโปรแกรม UUCP เครือข่ายแห่งใหม่นี้ประกอบด้วยมหาวิทยาลัย
ต่างๆ ใน TCSNetและมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ตลอดจนศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) และใช้ ชื่อโครงการว่า "โครงการเชื่อมเครือข่ายไทยสารเข้ากับเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตต่างประเทศ" หลังจากนั้นเนคเทค ก๊ได้พัฒนาเครือข่ายขึ้นมา โดยใช้ X.25 รวม
กับ MHSNet และใช้โปรโตคอลTCP/IPเกิดเป็นเครือข่ายไทยสาร "Thai Social/Scientific
Academic and Research Network - ThaiSarn" ในปี พ.ศ. 2535
ปี พ.ศ. 2538 รัฐบาลไทย เปิดบริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ โดยมีบริษัทอินเทอร์เน็ตแห่งประเทศไทย
จากัด อันเป็นบริษัทถือหุ้นระหว่างการสื่อสารแห่งประเทศไทย องค์กรโทรศัพท์แห่งประเทศไทยและ
สานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยใช้สายเช่าครึ่งวงตรขนาด 512
Kbps ไปยัง UUNetโดยถือว่าเป็นบริษัทผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตรายแรกของประเทศไทย
ความสาคัญของอินเทอร์เน็ตสังคมยุคสารสนเทศในปัจจุบันนี้การสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ถูกพัฒนาขึ้น
เพื่อคนแรกสามารถทาการสื่อสารถึงกันได้อย่างง่ายดาย และสะดวกที่สุด การสื่อสารโดยผ่านการใช้เสียง
หรือการสื่อสารโดยการใช้คาพูดย่อมไม่เพียงพอต่อไป มนุษย์เราน่อมต้องการมากกว่านั้น เช่น การสื่อสาร
โดยทั้งภาพ เสียง และข้อความที่เป็นตัวอักษร เป็นต้น ซึ่งอินเทอร์เน็ตได้มีบทบาทมากยิ่งขึ้น เมื่อเราได้การ
เชื่อมต่อระบบเข้ากับเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเราก๊สามารถติดต่อกับบุคลอื่นได้ทั่วโลกไม่ว่าจะอยู่ในประเทศ
ใดก๊ตาม โดยการติดต่อนั้นเราสามารถ ทาการติดต่อได้ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์เมล์ หรือเราสามารถทา
การสือค้นข้อมูลจาก ณ สถานที่ใดๆ ก็ได้ เช่น ถ้าเราอยู่ที่ประเทศไทย เราสามารถทาการติดต่อกับเพื่อนๆ
ของเราได้ที่สหรัฐอเมริกา หรือประเทศใดก๊ได้ หรือ เราสามารถทาการเข้าไปค้นหาข้อมูลจากประเทศญี่ปุ่น
ได้ มีอะไรบ้างในอินเทอร์เน็ต เราสามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้หลากหลายด้าน ขึ้นกับลักษณะกาารใช้งานของ
เรา ซึ่งพอสรุปบริการต่างๆ ที่มี บนอินเทอร์เน็ตได้ดังนี้
ท่องอินเทอร์เน็ตผ่านเว็บเพจ
บริการหนึ่งที่ถือว่าเป็นหัวใจของการใช้งานอินเทอร์เน็ต ก๊คือ www (World Wide Wed) โดยมี
การเก็บข้อมูลจานวนมากไว้ในรูปของเว็บเพจบนอินเทอร์เน็ตที่เราสามารถเข้าถึงโดยใช้โปรแกรมเว็บ
บราวเซอร์ ซึ่งแบ่งประโยนช์ที่ได้รับจากการใช้งาน www ได้ เช่น ค้นหาข้อมูล อัพเดต ข่าวสารล่าสุด
จับจ่ายสินค้า/บริการ โหลดโปรแกรม/เกมส์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้งเป็นแหล่งความบังเทิงต่างๆ
อีเมล์ - จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
อีเมล์ (E-mail) เป็นบริการสุดฮอตบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ต เพราะสามารถทาได้รวดเร็วเพียงแค่เพี้ยง
วินาที สามารถส่งถึงหลายๆ คนได้พร้อมกันในครั้งเดียว นอกจากนั้นเรายังสามารถแนบไฟล์ข้อมูล ไฟล์
ภาพ ไปยังผู้ที่เราส่งถึงพร้อมๆ กับข้อความได้ด้วย สื่อสารกับผู้อื่นแบบทันทีทันใด
เราสามารถใช้อินเทอร์เน็ตสื่อสารกับผู้อื่นได้ เช่น การส่งการ์ดอวยพรที่มีเสียง และภาพเคลื่อนไหว
นอกจากนั้นยังมีบริการสนทนาออนไลน์ ที่เป็นการสื่อสารแบบโต้ตอบกับผู้อื่นแบบทันทีทันใดด้วย ซึ่ง
นอกจากจะติดต่อกับคนที่เรารู้จักอยู๋แล้ว เราสามารถหาเพื่อนใหม่ในอินเทอร์เน็ต และแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นกับเขาได้ด้วย
เล่นเกมออนไลน์
เกมส์ออนไลน์นั้น มีทั้งแบบเล่นคนเดียวผ่านอินเทอร์เน็ต หรือจะเล่นร่วมกับผู้อื่นก๊ได้ โดยจะต้องติดตั้ง
โปรแกรมเสริม เกมในบ้านเราที่ได้รับความนิยม อาทิ Ragnarok,Pangya,Lineage เป็นต้น
นอกจากนั้นยังมีบริการที่เป็นประโยชน์และน่าสนใจอื่น ๆ อีก เช่น โทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีทั้งโทรถึงผู้
ที่ใช้อินเทอร์เน็ต หรือจะโทรเข้าเครื่องโทรศัพท์เลยก๊ได้ (เรียกว่า VOIP (Voice Over IP) บริการ
RSS (Really Simple Syndication) ที่ส่งข้อมูลจากเว็บไซต์มาที่เครื่องของเราโดยอัตโนมัติและ
บริการ FTP สาหรับโอนย้ายไฟล์จากคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งการดาวน์โหลด
(download)และการอัพโหลด (upload) เป็นต้น
สิ่งที่ไม่ควรทาบนอินเทอร์เน็ต
เนื่องจากพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 250 ที่มีการประกาศใช้ต้งแต่
วันที่19 กรกฏาคม 2550 ที่ผ่านมามีสิ่งที่ควรระมัดระวังและไม่ควรทา สรุปได้ดังนี้
1. การแอบเข้าไปในระบบเข้าสู้ระบบคอมพิวเตอร์ของคนอื่น โดยเจ้าของไม่ได้อนุญาติ
2. บอกวิธีการเข้าสู้ระบบคอมพิวเตอร์ของคนอื่น เช่น บอก Password ให้คนอื่นทราบ
3. แอบเข้าไปล้วงความลับของคนอื่น
4. การดักจับหรือแอบฟังข้อมูลของคนอื่นบนเครือข่าย
5. เข้าไปแก้ไขข้อมูลของคนอื่น เช่น เข้าไปเปลี่ยนแปลงหน้าเว็บ
6. ยิงแพ็จเกจ (packet), virus Trojan, worm เข้าไปก่อกวนระบบคอมพิวเอตร์ของคนอื่น
จนล่มใช้การไม่ได้
7. ส่งอีเมล์ให้คนอื่นซ้าๆ ทั้งๆ ที่คนรับไม่ต้องการหรือไม่สามารถยกเลิกได้
8. ผู้ที่สร้างซอฟต์แวร์สาหรับก่อกวน เจาะระบบ ดักจับข้อมูล หรือ ไวรัส
9. ส่งอีเมล์หรือเขียนเว็บบอร์ด ดังนี้ลามก อนาจาร หลอกลวง ประจานคนอื่นจนได้รับความเสียหาย
รวมถึงเข้าของเว็บ, เจ้าของระบบ email monitor ที่ยอมให้เกิดปัญหาด้วย
10. ตัดต่อรูปภาพคนอื่น หรือชวนคนอื่นมาดูภาพเหล่านี้
อินเทอร์เน็ตทางานอย่างไร
เราอาจสงสัยว่าอินเทอร์เน็ตทางานอย่างไร คอมพิวเตอร์เน็ตจานวนมากที่เชื่อมต่อกันจึงสื่อสารและ
แลกเปลี่ยนข้อมูลได้อย่างถูกต้อง คาตอบคือเทคโนโลยีที่ใช้มีส่วนสาคัญมาก
TCP/IP ภาษากลางบนอินเทอร์เน็ต
ปัจจุบัน มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนับล้านคนทั่วโลกซึ่งแต่ละคนก๊ใช้คอมพิวเตอร์ต่างรุ่นต่างแบบกันไปเมื่อเรา
ต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านี้เข้าด้วยกันจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีกติกากลางเพื่อให้คอมพิวเตอร์แต่
ละเครื่องสามารถเข้าใจกันได้ ซึ่งกติกากลางนี้มีชื่อเรียกทางเทคนิคว่า โปรโตตอล (Protocol)
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตติดต่อกันผ่านตัวกลางที่มีชื่อเรียนว่า TPC/IP
สาหรับโปรโตตอลมาตรฐานที่ใช้ในการสื่อสารอินเทอร์เน็ตมีชื่อเรียกว่า TPC/IP (อ่านว่า ทีซีพี ไอพี) การ
ทางานโปรโตตอล TPC/IP จะแบ่งข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะส่งไปอีกเครื่องเป็นส่วนย่อยๆ (เรียกว่า
แพ็ตเก็ต : packet) และสางไปตามเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยกระจายแพ็ตเก็ตเหล่านี้ไปหลายเส้าทาง
ซึ่งแพ็ตเก็ตเหล่านี้จะไปรวมกันที่ปลายทาง และถูกนามาประกอบกันเป็นข้อมูลที่สมบูรณ์อีกครั้ง
รับส่งข้อมูลได้ถูกที่ด้วย IP Assress
อีกคาถามหนึ่งที่เราอาจสงสัยเกี่ยวกับการทางานของอินเทอร์เน็ต นั่นคือคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่
เชื่อมต่อกันรู้ที่อยู่ของเครื่องอื่นได้อย่างไร เช่นเดียวกับการติดต่อหาบ้านหลังหนึ่งในเมืองขนาดใหญ่ให้พบ
เราจาเป็นต้องทราบข้อมูล เช่น บ้านเลขที่ ถนน เป็นต้น สาหรับอินเทอร์เน็ตก็เช่นกัน เมื่อเราต้องการสื่อสาร
กับคอมพิวเตอีกเครื่องหนึ่ง เราต้องทราบทีอยู่ของมันบนอินเทอร์เน็ตที่มีชื่อเรียกทางเทคนิคว่า ไอพี
แอดเดรส (IP Address)
ไอพีแอดเดรด เป็นหมายเลขประจาตัวเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ซึ่งไม่ซ้ากับเครื่องอื่นในโลก โดยมีจุด
(.) เป็นสัญลักษณ์แบ่งตัวเลขเป็นชุด ซึ่งแต่ละชุดจะมีค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 255 Control Panel-network
Connections-status-Support ตานนี้ค่ะ
โดเมนเนม
ถึงแม้อินเทอร์เน็ตจะใช้อินเทอร์เน็ตจะใช้ไอพีแอดเดรสในการทางาน แต่เป็นตัวเลขที่ยาวทาให้ผู้ใช้จายาก
จึงได้มีการใช้โดเมนเนม (Domain Name) หรืออินเทอร์เน็ตแอดเดรดมาใช้ ซึ่งเป็นการนาตัวอักษรที่
จาง่ายมาใช้แทนไอพีแอดเดรด โดเมนเนมจะไม่ซ้ากัน และมักถูกตั้งให้สอดคล้องกับชื่อบริษัท หรือองค์กรผู้
เป็นเจ้าของเพื่อสะดวกในการจดจาชื่อ เช่น บริษัท ซัคเซส มีเดีย มีโดเมน
เนม successmesia.com และองค์กรการอวกาศแห่งสหรัฐ (NASA) มีโดเมน
เนม nasa.gov เป็นต้น
เชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
สาหรับการใช้อินเทอร์เน็ต จะมีบริษัทที่ทาหน้าที่เป็นเหมือนจุดเชื่อมผู้ใช้รายเล็กรายน้อยเข้ากับเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ซึ่งเราเรียกบริษัทเหล่านี้ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือ internet Service Provider
(ISP) ถ้าเราต้องการใช้อินเทอร์เน็ต เราจะต้องเสียค่าบริการเพื่อเชื่อมต่อกับ ISP เราสามารถแบ่งการ
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของเราเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้เป็น 2 ประเภท ขึ้นกับลักษณะการใช้งาน
ได้แก่ การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตสาหรับผู้ใช้ไวไป และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสาหรับองค์กรที่มีผู้ใช้
จานวนมาก
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสาหรับผู้ใช้ทั่วไป
ถ้าเราต้องการใช้อินเทอร์เน็ต จะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อกับ ISP เราอาจสมัครเป็นสมาชิกโดย
เสียค่าบริการรายเดือน ซึ่งจะจากัดจานวนชั่วโมงที่เราเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ในแต่ละเดือน หรือเราอาจ
ซื้อเป็นชุดอินเทอร์เน็ตสาเร็จรูป ซึ่งจะเป็นการเหมาจานวนชั่วโมงที่เราจะใช้ภานใน 1 เดือน หรือใช้ภายใน
ระยะเวลาใดก๊ได้จนกว่าจะครบจานวนชั่วโมง
การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตรูปแบบนี้จะใช้สายโทรศัพท์เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราเข้ากับผู้ให้
บริการอินเทอร์เน็ต (ศัพท์ทางเทคนิคเรียกว่า Dial - up Connection) โดยผ่านอุปกรณ์เรียกว่า
โมเด็ม (Modem) วิธีนี้จึงเหมาะสาหรับผู้ใช้ทั่วไป เพราะสายโทรศัพท์นั้นมีอยู่ทั่วไป และไม่ยุ่งยาก
ข้อเสียของการใช้สายโทรศัพท์ในการสื่อสารคือความเร็วในการสื่อสารข้อมูลมีความจากัด และบ่อยครั้ง
อาจเกิดสัญญาณรบกวนภายในสาย ทาให้การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต "หลุด" ได้
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสาหรับองค์กรที่มีผู้ใช้จานวนมาก
สาหรับองค์กรที่มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์จานวนมาก อาจเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้โดนผ่านอุปกรณ์ที่
เรียกว่า เราท์เตอร์ (Router) ซึ่งจะเชื่อมกับคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายผ่านสาย หรือแบบไร้
สายก็ได้
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสาหรับองค์กร
เตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้พร้อม
เครื่องคอมพิวเตอร์
ถ้าเราต้องการใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่างสมบูรณ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราควรมีความเร็วในระดับที่ใช้ได้ ซึ่ง
ความจริงเครื่องอคอมพิวเตอร์รุ่นทั่วไปในปัจจุบันนั้นก๊สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างไม่มีปัญหาอะไร
โมเด็ม
สาหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตส่วนบุคคล อุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้คือ โมเด็ม (Modem) ซึ่งแบ่งออกได้
เป็น 2 แบบ ได้แก่ แบบติดตั้งภายใน (lnternal Modem) และติดตั้งภายนอก (External
Modem)
โมเด็มแบบ lnternal Modem
มีลักษณะเป็นการ์ดเชื่อต่อ ที่เราต้องนามาเสียบเข้าไปในเครื่อง ซึ่งโดยทั่วไปมักเป็นการ์ดเชื่อต่อแบบ
PCI และมีช่องต่อกับสายโทรศัพท์ทางด้านหลังของการ์ด ซึ่งจะโผล่ออกมาทางด้านหลังของตัวเคสหลัง
ติดตั้งแล้ว
ตัวอย่างโมเด็มแบบติดตั้ง
ภายใน
โมเด็มแบบ External
มีลักษณะเป็นชิ้นอุปกรณ์ที่แยกออกมา และเชื่อมต่อถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านสายส่งข้อมูล อาจเป็นทาง
พอร์ทอนุกรม (Serial Port) หรือพอร์ท USB
ตัวอย่างโมเด็มแบบติดตั้งภายใน
ข้อดีของโมเด็มแบบ External คือเราสามารถถอดจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปใช้กับเครื่องอื่นได้
อย่างสะดวก นอกจากนั้นยังมีไฟแสดงสถานะการทางานด้วย แต่ราคาของโมเด็มแบบนี้จะสูงกว่าโมเด็ม
แบบ lnternal แพ็กเกจไว้ เช่น ใช้งานได้ 20 ชั่วโมง , 50 ชั่วโมง เป็นต้น
กาหนดค่าสาหรับเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตใน Windows Vista
หลังจากที่เราได้เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อโมเด็ม และสมัครเป็นสมาชิกกับผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต
แล้ว ก่อนที่เราจะท่องอินเทอร์เน็ตได้เราจะต้องติดตั้งและกาหนดค่าต่างๆ ใน Windows ก่อน ซึ่งมี
อยู่ 2 ขั้นตอนหลักๆ
ขั้นตอนที่1 : การติดตั้งโมเด็ม
ขั้นตอนที่2 : เชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
สาหรับขั้นตอนเหล่านี้เราต้องทาเพียงครั้งเดียวเท่านั้น หลังจากนั้นเมื่อใดที่ต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ของเรากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตก็ทาได้โดยการหมุนโทรศัพท์เพื่อเชื่อมต่อทันที
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ด้านการศึกษา
ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
ด้านการเงินการธนาคาร
WWW (World Wide Web) หมายถึงระบบเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก โดยใช้โปรโตคอล
ที่ชื่อว่า TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
อินทราเน็ต (INTRANET) และเอ็กซ์ทราเน็ต (EXTRANET)
อินทราเน็ต คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นระบบที่ได้การกล่าวขวัญถึงกันอย่างมากคู่กับ
อินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรต่าง ๆ ได้มีการนาอินทราเน็ตมาใช้กันอย่างแพร่หลาย จนทาให้
ระบบที่เกี่ยวกับอินทราเน็ตเป็นระบบที่ผู้ค้าต่าง ๆ มุ่งเข้ามาสู่กันมากที่สุด โดยสามารถให้นิยามของ
อินทราเน็ตได้คือ
ระบบเครือข่ายอินทราเน็ต ก็คือระบบเครือข่ายภายในองค์การที่นาเทคโนโลยีแบบเปิดจากอินเตอร์เน็ตมา
ประยุกต์ใช้ เพื่อช่วยในการทางานร่วมกัน ( Workgroup) การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนการทางาน
ต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ในองค์การ
 ประโยชน์ของอินทราเน็ต
ประโยชน์ของการนาอินทราเน็ตมาใช้ในองค์กรต่าง ๆ คือ
 ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสารข้อมูลเนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารต่าง ๆ ภายในองค์กร สามารถจัดเก็บอยู่
ในรูปอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ภาษา และใช้บราวเซอร์ในการอ่านเอกสาร ทาให้ลดค่าใช้จ่าย
และเวลาในการจัดพิมพ์เอกสารกระดาษ
 ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอเนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยาก
เหมือนการพิมพ์ลงกระดาษ และไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ทาให้บุคลากรในองค์กรสามารถรับข่าวสารใหม่
ล่าสุดได้เสมอ
 ช่วยในการติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไวไม่ว่าบุคลากรจะอยู่ห่างกันคนละชั้น คนละตึก หรือคนละจังหวัด
ด้วยการใช้เทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีการคุยติดต่อผ่านแป้ นพิมพ์หรือแม้กระทั่ง
เทคโนโลยีประชุมทางไกล เป็นการช่วยลดการสูญเสียเวลาของบุคลากร ตลอดจนช่วยให้ทีมงานมีการ
ประสานงานกันดีขึ้น
 เสียค่าใช้จ่ายต่าการติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการติดตั้ง ซอฟต์แวร์การทางานแบบกลุ่ม
(Workgroup software)ทั่วไปมาก เนื่องจากการใช้เทคโนโลยีแบบเปิดของอินเตอร์เน็ต ทาให้สามารถใช้
ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ในอินเตอร์เน็ตซึ่งมีราคาไม่สูงนัก หรือในงานบางส่วนอาจไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เนื่องจากมี
แชร์แวร์และฟรีแวร์อยู่มากมายในอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ หากองค์กรมีระบบเครือขายภายในอยู่แล้ว การ
ติดตั้งระบบอินทราเน็ตเพิ่มเติมจะเสียค่าใช้จ่ายต่ามาก เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วได้ทันที
ตามคุณสมบัติ การใช้งานข้ามระบบ (cross platfrom) ที่แตกต่างกันได้ของอินเตอร์เน็ต
 เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด ทาให้องค์กรไม่ผูกติดอยู่กับผู้ค้ารายใดรายหนึ่ง จึงช่วยลดความเสี่ยงต่าง ๆ เช่น
ผู้ค้าเลิกกิจการ ผู้ค้าเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือผู้ค้าขึ้นราคา เป็นต้น รวมทั้งช่วยให้สามารถหา
ซอฟต์แวร์ใหม่ ที่จะมาช่วยในการทางานได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งอยู่กับผู้ผลิตเพียงรายเดียว
 เตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตได้ทันทีรวมทั้งเป็นการเตรียมความรู้ของบุคลากร
เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตด้วย
 องค์ประกอบของอินทราเน็ต
จากนิยมจะเห็นได้ว่าองค์ประกอบของอินทราเน็ตจะคล้ายคลึงกับอินเตอร์เน็ตอย่างมาก เนื่องจากมีการนา
เทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ตมาใช้งานนั้นเอง โดยอินทราเน็ตที่ดีควรประกอบด้วย
 การใช้โปรโตคอลTCP/IP เป็นโปรโตคอลสาหรับติดต่อสื่อสารภายในเครือข่าย
 ใช้ระบบWorld Wide Web และโปรแกรมบราวเซอร์ในการแสดงข้อมูลข่าวสาร
 มีระบบอีเมลล์สาหรับแลกเปลี่ยนสาหรับข้อมูลระหว่างบุคลากรในองค์กร รวมทั้งอาจมีระบบนิวส์กรุ๊ปส์
เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความรู้ของบุคลากร
 ในกรณีที่มีการเชื่อมต่อระบบอินทราเน็ตในองค์กรเข้ากับอินเตอร์เน็ต จะต้องมีระบบไฟร์วอลล์
(FireWall) ซึ่งเป็นระบบป้ องกันอันตรายจากผู้ไม่หวังดีที่ติดต่อเข้ามาจากอินเตอร์เน็ต โดยระบบไฟร์วอลล์
จะช่วยกรั่นกรองให้ผู้ที่ติดต่อเข้ามาใช้งานได้เฉพาะบริการและพิ้นที่ในส่วนที่อนุญาตไว้เท่านั้น รวมทั้ง
ช่วยกัน นักเจาะระบบ (hacker) ที่จะทาการขโมยหรือทางายข้อมูลในระบบเครือข่ายขององค์กรด้วย
 เอ๊กซ์ทราเน็ต (EXTRANET)
เอ๊กซ์ทราเน็ต หรือ เครือข่ายภายนอกองค์กร ก็คือระบบเครือข่ายซึ่งเชื่อมเครือข่ายภายในองค์กร
(INTERNET) เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ภายนอกองค์กร เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ของสาขาของผู้จัด
จาหน่ายหรือของลูกค้า เป็นต้น โดยการเชื่อมต่อเครือข่ายอาจเป็นได้ทั้ง การเชื่อมต่อโดยตรง ( Direct
Link) ระหว่าง 2 จุด หรือการเชื่อมต่อแบบ เครือข่ายเสมือน ( Virtual Network)ระหว่างระบบเครือข่าย
อินทราเน็ต จานวนหลาย ๆ เครือข่ายผ่านอินเตอร์เน็ตก็ได้
ระบบเครือข่ายแบบเอ็กซ์ทราเน็ต โดยปกติแล้วจะอนุญาตให้ใช้งานเฉพาะสมาชิกขององค์กรหรือผู้ที่ได้รับ
สิทธิในการใช้งานเท่านั้น โดยผู้ใช้จากภายนอกที่เชื่อมต่อเข้ามาผ่านเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตอาจถูกแบ่งเป็น
ประเภท ๆ เช่น ผู้ดูแลระบบ สมาชิก คู่ค้า หรือผู้สนใจทั่ว ๆ ไป เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้แต่ละกลุ่มจะได้รับสิทธิใน
การเข้าใช้งานเครือข่ายที่แตกต่างกันไป
เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตเป็นเทคโนโลยีเครือข่ายที่กาลังได้รับความสนใจอย่างมาก เนื่องจากแนวโน้มการใช้
งานเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่เริ่มมีการนามาใช้ในเชิงพาณิชย์มากขึ้นเรื่อย ๆ เช่น การเปิดร้านค้าบน
อินเตอร์เน็ต หรือการเปิดบริการข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เป็นต้น ซึ่งบริการเหล่านี้จะต้องมีการเชื่อมต่อกับ
บุคคลและเครือข่ายภายนอกองค์กรจานวนมาก จึงต้องมีระบบการจัดการการเชื่อมต่อเครือข่ายภายนอกที่มี
ประสิทธิภาพและความปลอดภัย
สรุป
คอมพิวเตอร์จานวนมากที่เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายจาเป็นจะต้องมีกติกาเพื่อให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง
สามารถเข้าใจกันได้ เรียกว่า โปรโตตอล (Protocol) โดยโปรโตตอลมาตรฐานที่ใช้ในการสื่อสารบน
อินเทอร์เน็ตมีชื่อเรียกว่า TCP/IP
คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่เชื่อมต่อกัน สามารถรู้ที่อยู่ของเครื่องอื่นได้ผ่าน ไอพี แอดเดรส (IP
Address)ซึ่งเป็นหมายเลขประจาตัวเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ซึ่งไม่ซ้ากับเครื่องอื่นในโลก แต่การ
ความหมายของโฮมเพจ เว็บเพจ เว็บไซต์
-โฮมเพจ คือเว็บเพจหน้าแรกที่เป็นหน้าดัชนีหรือรายการที่บอกรายละเอียดของเว็บไซต์นั้น ๆ เราอาจจะเปรียบโฮมเพจ
เหมือนหน้าบ้านของเว็บไซต์ก็ได้
-เว็บเพจ (Web Page) เป็นหน้าเอกสารเว็บที่สร้างขึ้นด้วยภาษาHTML (Hypertext Markup Language)ซึ่ง
โปรแกรมเบราเซอร์จะทาหน้าที่แปลภาษาHTML ออกมาเป็นหน้าเอกสารทางจอภาพคอมพิวเตอร์ เว็บเพจอาจจะ
ประกอบด้วยข้อความ ภาพกราฟิก หรือภาพเคลื่อนไหว
อาจมีเสียงประกอบด้วยก็ได้ ทาให้ดึงดูดความสนใจ และทาให้เวิล์ดไวด์เว็บได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปัจจุบัน
-เว็บไซต์ (Web Site) คือ แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อประสมต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ ของแต่ละ
บริษัทหรือหน่วยงานโดยเรียกเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ (Web Page) และเรียกเว็บหน้าแรกของแต่ละเว็บไซต์ว่า
โฮมเพจ (Home Page) หรืออาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจอย่างน้อยสองหน้าที่มีลิงก์ (Links) ถึงกัน ตามหลักคาว่า
เว็บไซต์จะใช้สาหรับผู้ที่มีคอมพิวเตอร์แบบเซิร์ฟเวอร์หรือจดทะเบียนเป็นของตนเองเรียบร้อยแล้วเช่น
http://www.google.co.th ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลเป็นต้น
ความหมายของเครื่องช่วยค้นหา(Search Engines
คือ เครื่องมือหรือเว็บไซต์ที่ช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลและข่าวสาร ที่
อยู่ของเว็บไซต์
อินเด็กเซอร์ (Indexers)
Search Engines แบบอินเด็กเซอร์จะมีโปรแกรมช่วยจัดการหาข้อมูลในการค้นหา หรือที่เรียกว่า Robot วิ่ง
ไปมาในอินเทอร์เน็ตโดยอัตโนมัติ เพื่ออ่านข้อมูลจากเว็บเพจ (Web Pages) ต่าง ๆ ทั่วโลกมาจัดทาเป็น
ฐานข้อมูลไว้ โดยจะใช้ตัวอินเด็กซ์ (Index) ค้นหาจากข้อความในเว็บเพจที่ได้สารวจมาแล้ว
- http://www.altavista.com - http://www.excite.com
ไดเร็กทอรี (Directories)
Search Engines แบบไดเร็กทอรีจะใช้การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยแบ่งออกเป็นหมวดหมู่ ซึ่งก็เปรียบเสมือน
กับเป็นแค็ตตาล็อกสินค้า (Catalog) เราสามารถเลือกจากหมวดหมู่ใหญ่ แล้วเลือกดูหมวดหมู่ย่อย ๆ ลงไป
เรื่อย ๆ จนพบกับข้อมูลที่ต้องการ โดยจะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับตาแหน่ง URL และรายละเอียดเกี่ยวกับ
URL นั้น ๆ ซึ่งได้มาจากการวิเคราะห์เนื้อหาของแต่ละเว็บเพจว่าเกี่ยวกับเรื่องอะไร
-http://www.yahoo.com - http://www.lycos.com
เมตะเสิร์ช (Metasearch)
Search Engines แบบเมตะเสิร์ชจะใช้หลาย ๆ วิธีการมาช่วยในการค้นหาข้อมูล โดยจะรับคาสั่งค้นหาจาก
เรา แล้วส่งต่อไปยังเว็บไซต์ที่เป็น Search Engines หลาย ๆ แห่งพร้อม ๆ กัน ทาให้เราสามารถเข้าถึง
เว็บไซต์ Search Engines ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว จากนั้นก็จะสรุปแสดงผลลัพธ์ออกมา
- http://www.dogpile.com
Security Center ของ Windows เป็นหน้าต่างสาหรับกาหนดค่าเกี่ยวกับการรักษาความ
ปลอดภัยของระบบ ประกอบไปด้วย Windows Update สาหรับการอัพเดตความสามารถใหม่ๆ
และแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ในระบบจากไมโครซอฟท์ Firewall เป็นโปรแกรมสาหรับป้ องกันการเข้าถึง
ข้อมูลของเราจากเครือข่ายภายนอก Windows Defender สาหรับตรวจสอบและกาจัดโปรแกรม
ขนาดเล็กที่ลอบเข้ามาในเครื่อง เช่นไวรัส /สปายแวร์ และ internet Option สาหรับกาหนดค่าความ
ปลอดภัยในการท่องอินเทอร์เน็ต
เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์ Peer-to-Peer Network
เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์ (Peer-to-Peer Network) เครือข่ายประเภทนี้จะไม่มีเครื่องเซิร์ฟเวอร์ และไม่มีการแบ่ง
ชั้นความสาคัญของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเข้ากับเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะมีสิทธิเท่าเทียมกันในการจักการใช้
เครือข่าย ซึ่งเรียกว่า เพียร์(Peer) นั่นเอง คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะทาหน้าที่เป็นทั้งไคลเอนท์และเซิร์ฟเวอร์แล้วแต่การ
ใช้งานของผู้ใช้ เครือข่ายประเภทนี้ไม่จาเป็นต้องมีผู้ดูแลและจัดการระบบ หน้าที่นี้จะกระจายไปยังผู้ใช้แต่ละคน เนื่องจาก
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเป็นคนกาหนดว่าข้อมูลหรือทรัพยากรใดบ้างของเครื่องนั้นที่ต้องการแชร์กับผู้ใช้คนอื่นๆ
การใช้งานแบบเพียร์ทูเพียร์ บางที่ก็เรียกว่า "เวิร์คกรุ๊ป (Work group)" หรือกลุ่มของคนที่ทางานร่วมกันเป็นทีม ซึ่ง
ส่วนมากจะมีจานวนน้อยกว่าสิบคน เครือข่ายประเภทนี้จะเป็นแบบง่ายๆ ไม่ซับซ้อนมากเนื่องจากคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง
ทาหน้าที่เป็นทั้งไคลเอนท์และเซิร์ฟเวอร์ ฉะนั้นจึงไม่จาเป็นที่ต้องมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์เพราะต้องมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่มีราคา
แพงทาหน้าที่จัดการเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์นี้ไม่จาเป็นต้องเป็นซอฟต์แวร์ที่มีฟังก์ชัน และระบบรักษาความ
ปลอดภัยเท่ากับระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่ายแบบ
เพียร์ทูเพียร์ อาจจะใช้แค่วินโดวส์ 95/98/Me ในขณะที่เครื่องเซิร์ฟเวอร์อาจต้องใช้วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2002/2003 ซึ่ง
ราคาของระบบปฏิบัติการนี้จะแพงกว่ากันมาก
เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์เหมาะสาหรับสภาแวดล้อมดังต่อไปนี้
มีผู้ใช้เครือข่าย 10 คน หรือน้อยกว่า
มีทรัพยากรเครือข่ายที่ต้องแชร์กันไม่มากนัก เช่น ไฟล์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ซึ้งยังไม่จาเป็นต้องมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ทาหน้าที่
ทางด้านนี้โดยเฉพาะ
ยังไม่มีความจาเป็นในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
การขยายตัวของเครือข่ายไม่มากนักในอนาคตอันใกล้
อุปกรณ์เครือข่ายท้องถิ่นแบบ (LAN)
iPTV คือ การให้บริการที่ทาให้ผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง สามารถดูรายการประเภท Multimedia
ผ่านเครือข่ายบรอดแบนด์ภายในประเทศได้ ( รองรับด้วยระบบ Multimedia Streaming Data Base ป้ องกัน
การ Download เพลง ) โดยใช้การส่งนาสัญญาณผ่านดาวเทียมไทยคมที่ครอบคลุม 76 จังหวัดทั่วประเทศ
1. สามารถใช้ประโยชน์ได้จากศักยภาพในด้านการนาเสนอเนื้อหาด้าน multimedia หรือการที่เป็นช่องทาง
ให้
สามารถดูรายการต่างๆ ผ่านเครือข่ายบรอดแบนด์ความเร็วสูงได้อีกสื่อหนึ่ง โดยสามารถใช้ทั้งแบบดู
รายการได้ตามที่ต้องการเมื่อไรก็ได้หรือจะเลือกดูแบบที่จัดเป็นเหมือนผังรายการของสถานีโทรทัศน์ทั่วไปก็
ได้
ด้วยเอกลักษณ์เฉพาะตัวของระบบ iPTV และช่องสัญญาณขนาดใหญ่ของดาวเทียมนี้เอง ที่ทาให้สามารถ
ให้บริการที่คล้ายกับการออกอากาศของสถานีโทรทัศน์ย่อยๆ ได้หลายสิบช่อง (Multi channel cable TV
system) ประกอบกับการที่ระบบออกอากาศผ่านทาง IP network หรือ เครือข่ายบรอดแบนด์ความเร็วสูงนี้
ทาให้สามารถสร้างสรรรายการแบบการให้บริการโทรทัศน์ 2 ทาง (Interactive TV) ที่ผู้ชมสามารถ
ตอบสนองหรือค้น
หาข้อมูลเพิ่มเติมกับรายการที่ตนดูอยู่ ณ.ขณะนั้นๆได้
2. เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ที่ใช้ในการ download ข้อมูลขนาดใหญ่ได้รวดเร็ว (ใช้ระบบ
Turbo Interne
ในภาคการรับข้อมูลความเร็วสูง ส่วนภาคการเรียกข้อมูลจะเรียกผ่าน Modem และ downloadได้เฉพาะ
ข้อมูลที่ผู้
ผลิตอนุญาต)
3. ใช้เป็นระบบอินเตอร์เน็ตสนับสนุนการทางานภายในองค์กร โดยเฉพาะสาหรับองค์กรขนาดเล็กถึง
ขนาดกลาง ( SMEs )
ผู้ใช้บริการมีโมเด็มต่ออินเตอร์เน็ต ผ่านสายโทรศัพท์ปกติ พร้อมติดตั้งอุปกรณ์เทอร์โบ (USB) ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ (PC) และทาการเชื่อมต่อสายสัญญาณไปยังจานดาวเทียมขนาดเล็ก (60 ซม.) เมื่อผู้ใช้บริการ
เริ่มทาการติดต่อเข้าศูนย์บริการของ ซีเอส อินเตอร์เน็ต ด้วยอุปกรณ์โมเด็มผ่านทางสายโทรศัพท์ปกติ ซึ่ง
เมื่อผู้ใช้ได้ทาการเรียกข้อมูล (Request) จากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต คาสั่งดังกล่าว จะถูกส่งผ่านมายังศูนย์
ของซีเอส อินเตอร์เน็ต เพื่อส่งต่อไปยังเครือข่ายอินเตอร์เน็ตกลาง ในส่วนของข้อมูลขากลับที่ได้รับจาก
เครือข่ายอินเตอร์เน็ตกลาง จะถูกส่งผ่านมายังสถานีดาวเทียมไทยคม เพื่อทาการส่งข้อมูลดังกล่าวผ่านทาง
ช่องสัญญาณดาวเทียมตรงไปยังผู้ใช้บริการ ด้วยลักษณะการทางานดังกล่าว จะทาให้ผู้ใช้บริการสามารถ
รับข้อมูลขนาดใหญ่ และรวดเร็ว เนื่องจากไม่ต้องประสบปัญหาในข้อจากัดเรื่องระยะทาง หรือระบบ
เครือข่ายภาคพื้นดิน (แบบสาย หรือ Land Line)
ในกรณีของการใช้งานในลักษณะขององค์กร ที่จาเป็นจะต้องมีการใช้งานอินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อพร้อมๆ กัน
หลายจุด ผู้ใช้บริการสามารถประยุกต์ระบบ iPTV เพื่อรองรับการใช้งานดังกล่าวได้ โดยการติดตั้งอุปกรณ์
เทอร์โบในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกกาหนดให้เป็นเกตย์เวย์ (Gateway) พร้อมทาการติดตั้งโปรแกรม
ประเภทพร๊อกซี (Proxy) เพื่อช่วยในการใช้งานอินเตอร์เน็ตแบบหลายคน

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจบทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจNattipong Siangyen
 
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจบทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจNattipong Siangyen
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์teerarat55
 
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจบทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจNattipong Siangyen
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องNinna Natsu
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นchaiwat vichianchai
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1Pp'dan Phuengkun
 
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตsombut
 
อาชญากรทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรทางคอมพิวเตอร์อาชญากรทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรทางคอมพิวเตอร์123chompoo
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตkhemjira_p
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตsaranya40
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 

What's hot (18)

บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจบทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
 
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจบทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจบทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
บทที่ 1 ทำความรู้จักเว็บเพจ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
 
ธิดารัตน์Pdf
ธิดารัตน์Pdfธิดารัตน์Pdf
ธิดารัตน์Pdf
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
 
อาชญากรทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรทางคอมพิวเตอร์อาชญากรทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรทางคอมพิวเตอร์
 
Aol.com 260658
Aol.com 260658Aol.com 260658
Aol.com 260658
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Lernning 08
Lernning 08Lernning 08
Lernning 08
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 

Viewers also liked

ชุดที่25
ชุดที่25ชุดที่25
ชุดที่25peter dontoom
 
ชุดที่20
ชุดที่20ชุดที่20
ชุดที่20peter dontoom
 
องค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้น
องค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้นองค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้น
องค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้นpeter dontoom
 
เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556
เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556
เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556peter dontoom
 
ชุดที่12
ชุดที่12ชุดที่12
ชุดที่12peter dontoom
 
กฎหมายคือ
กฎหมายคือกฎหมายคือ
กฎหมายคือpeter dontoom
 
ชุดที่29
ชุดที่29ชุดที่29
ชุดที่29peter dontoom
 
ภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingpeter dontoom
 
ชุดที่15
ชุดที่15ชุดที่15
ชุดที่15peter dontoom
 
ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์
ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์
ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์peter dontoom
 
ชุดที่18
ชุดที่18ชุดที่18
ชุดที่18peter dontoom
 
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะpeter dontoom
 
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003peter dontoom
 
ข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศน
ข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศนข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศน
ข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศนpeter dontoom
 
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์peter dontoom
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 

Viewers also liked (19)

ชุดที่25
ชุดที่25ชุดที่25
ชุดที่25
 
ชุดที่7
ชุดที่7ชุดที่7
ชุดที่7
 
ชุดที่20
ชุดที่20ชุดที่20
ชุดที่20
 
องค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้น
องค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้นองค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้น
องค์ประกอบศิลป์ (ปกติ)ม.ต้น
 
ชุดที่2
ชุดที่2ชุดที่2
ชุดที่2
 
เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556
เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556
เฉลยผลการเรียนทัศนศิลป์ ปี2556
 
ชุดที่12
ชุดที่12ชุดที่12
ชุดที่12
 
กฎหมายคือ
กฎหมายคือกฎหมายคือ
กฎหมายคือ
 
ชุดที่29
ชุดที่29ชุดที่29
ชุดที่29
 
ชุดที่5
ชุดที่5ชุดที่5
ชุดที่5
 
ภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmaking
 
ชุดที่15
ชุดที่15ชุดที่15
ชุดที่15
 
ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์
ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์
ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์
 
ชุดที่18
ชุดที่18ชุดที่18
ชุดที่18
 
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
 
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
 
ข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศน
ข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศนข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศน
ข้อสอบปลายภาคการเขียนรายงานการประชุมกศน
 
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Similar to บทที่ 1 รู้จักอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นและการเชื่อมต่อ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)BAIFERN3112
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1Mevenwen Singollo
 
งานเบ้น55555
งานเบ้น55555งานเบ้น55555
งานเบ้น55555Benziice
 

Similar to บทที่ 1 รู้จักอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นและการเชื่อมต่อ (20)

Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
 
งานเบ้น55555
งานเบ้น55555งานเบ้น55555
งานเบ้น55555
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

บทที่ 1 รู้จักอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นและการเชื่อมต่อ

  • 1. แผนผังความรู้ข้อสอบเทคโนโลยีอินเตอร์เนต ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต พ.ศ. 2500 (1957) โซเวียดได้ปล่อยดาวเทียม Sputnik ทาให้สหรัฐอเมริกาได้ตระหนักถึงปัญหาที่ ต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ยงทางการทหาร และการโจมตีด้วยอาวุธปรมาณู เหนือนิวเคลียร์ การถูกทาลาย ล้างศูนย์คอมพิวเตอร์ และระบบการสื่อสารข้อมูล อาจทาให้เกิดปัญหาทางการรบ และในยุคนั้น ระบบ คอมพิวเตอร์มีหลากหลายมากมายหลายแบบ ทาให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและโปรแกรมกัน ได้ จึงมีแนวความคิดในการ วิจัยระบบที่สามารถเชื่อยงโยงเครื่องคอมพิวเตอร์และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบที่แตกต่างกันได้ ตลอดจนสามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกันได้อย่างไม่ผิดพลาด แม้ว่าคอมพิวเตอร์บางเครื่องหรือสายรับส่ง สัญญาณเสียหายหรือทาลาย ดังนั้น กระทรวงกลาโหมของสหรัฐฯ (U.S.Department of Defense: DoD) ได้ให้ทุนที่มีชื่อว่า DARPA (Defense Advanced Research Project Agency) ภายใต้การควบคุมของ Dr.J.C.R. Lickliderได้ทาการทดลองระบบ เครือข่ายที่มีชื่อว่า DARPA Networkและต่อมาได้กลายสภาพเป็น ARPAet (Advanced Research Project Agency) และต่อได้มาพัฒนาเป็น INTERNET ในที่สุดต่อมาในเดือน ธันวาคม เครือข่ายอาร์พาเน็ต ได้มีการทดลองเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับมหาวิทยาลัย 4 แห่งคือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ที่ลอสแอนแจลิส มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ที่ซาตา บาร์บารา มหาวิทยาลัยยู ทาห์สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จากทั้ง 4 สถาบันเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่างชนิด กัน และใช้ระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกันด้วย จากนั้นได้ขยายต่อไปเรื่อย ๆ เป็น 50 จุดในปี พ.ศ. 2515 จนเป็นหลายล้านทั่วแห่งโลกในปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2529 อาจารย์กาญจนา กาญจนสุต จากสถาบันเทคโนโลยี แห่งเอเชีย (AIT) ร่วมกับอาจารย์ โทโมโนริ คิมูระ จากสถาบันเดียวกัน ร่วมสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยอาศัย โมเด็ม NEC ความเร็ว 2400 Baud เครื่องคอมพิวเตอร์ NECสายโทรศัพท์ทองแดง โดยเครือข่ายที่ได้นี้วิ่งด้วยความเร็ว 1200 - 2400 Baud และมีเสียงดังมาก จากนั้นจึงได้ ปรับเปลี่ยนมาใช้บริการ ไทยแพค ของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ซึ่งใช้เทคโนโลยี X.25 ผ่านการหมุน
  • 2. โทรศัพท์ไปยังศูยน์ บริการของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ทาการรับส่งอีเมล์กับมหาวิทยาลัยโตเกียว และ มหาวิทยาลัยเมลเบิร์นโดยใช้โปรแกรม UUCP ตลอดจนส่งอีเมล์ไปยังบริษัท UUNET ที่เวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา และนามาใช้กับงานของอาจารย์และงานสอนของนักศึกษาในเวลาต่อไป นับได้ว่า อาจารย์ กาญจนา กาญจนสุต เป็นบุคคลแรกที่เริ่มใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์รายแรกของประเทศไทย หลังจากนั้นได้มีความร่วมมือระหว่างรัฐบาลออสเตรเลีย ภายใต้โครงการ The In - ternational Development Plan (IDP) ได้ให้ความช่วยเหลือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไทยขึ้นมา ในปี พ.ศ. 2531 โดยให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย มีหน้าที่เป็นศูนย์กลาง ของประเทศไทยใยการเชื่องโยงที่ไปที่เครื่องแม่ข่ายของมหาวิทยาลัยเมเบิร์น และตั้งชื่อโครงการนี้ ว่า TCSNet - Thai Computer Science Network ใช้ซอฟต์แวร์ SUNIII ซึ่งเป็นระบบ ปฎิบัติการ UNIX ประเภทหนึ่งที่เผยแพร่หลายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2534 อาจารย์ทวีศักดิ์ กออนันตกูล อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้จัดตั้งศูนย์อีเมล์แห่งใหม่ โดยใช้โปรแกรม MHSNet และใช้โมเด็ม 14.4 Kbps (ซึ่งเร็วที่สุดใน ประเทศไทยในขณะนั้น) และทาหน้าที่แลกเปลี่ยนข้อมูลกับเครื่อง Munnari ของออสเตรเลียกับ มหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศผ่านโปรแกรม UUCP เครือข่ายแห่งใหม่นี้ประกอบด้วยมหาวิทยาลัย ต่างๆ ใน TCSNetและมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ตลอดจนศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) และใช้ ชื่อโครงการว่า "โครงการเชื่อมเครือข่ายไทยสารเข้ากับเครือข่าย อินเทอร์เน็ตต่างประเทศ" หลังจากนั้นเนคเทค ก๊ได้พัฒนาเครือข่ายขึ้นมา โดยใช้ X.25 รวม กับ MHSNet และใช้โปรโตคอลTCP/IPเกิดเป็นเครือข่ายไทยสาร "Thai Social/Scientific Academic and Research Network - ThaiSarn" ในปี พ.ศ. 2535 ปี พ.ศ. 2538 รัฐบาลไทย เปิดบริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ โดยมีบริษัทอินเทอร์เน็ตแห่งประเทศไทย จากัด อันเป็นบริษัทถือหุ้นระหว่างการสื่อสารแห่งประเทศไทย องค์กรโทรศัพท์แห่งประเทศไทยและ สานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยใช้สายเช่าครึ่งวงตรขนาด 512 Kbps ไปยัง UUNetโดยถือว่าเป็นบริษัทผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตรายแรกของประเทศไทย
  • 3. ความสาคัญของอินเทอร์เน็ตสังคมยุคสารสนเทศในปัจจุบันนี้การสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อคนแรกสามารถทาการสื่อสารถึงกันได้อย่างง่ายดาย และสะดวกที่สุด การสื่อสารโดยผ่านการใช้เสียง หรือการสื่อสารโดยการใช้คาพูดย่อมไม่เพียงพอต่อไป มนุษย์เราน่อมต้องการมากกว่านั้น เช่น การสื่อสาร โดยทั้งภาพ เสียง และข้อความที่เป็นตัวอักษร เป็นต้น ซึ่งอินเทอร์เน็ตได้มีบทบาทมากยิ่งขึ้น เมื่อเราได้การ เชื่อมต่อระบบเข้ากับเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเราก๊สามารถติดต่อกับบุคลอื่นได้ทั่วโลกไม่ว่าจะอยู่ในประเทศ ใดก๊ตาม โดยการติดต่อนั้นเราสามารถ ทาการติดต่อได้ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์เมล์ หรือเราสามารถทา การสือค้นข้อมูลจาก ณ สถานที่ใดๆ ก็ได้ เช่น ถ้าเราอยู่ที่ประเทศไทย เราสามารถทาการติดต่อกับเพื่อนๆ ของเราได้ที่สหรัฐอเมริกา หรือประเทศใดก๊ได้ หรือ เราสามารถทาการเข้าไปค้นหาข้อมูลจากประเทศญี่ปุ่น ได้ มีอะไรบ้างในอินเทอร์เน็ต เราสามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้หลากหลายด้าน ขึ้นกับลักษณะกาารใช้งานของ เรา ซึ่งพอสรุปบริการต่างๆ ที่มี บนอินเทอร์เน็ตได้ดังนี้ ท่องอินเทอร์เน็ตผ่านเว็บเพจ บริการหนึ่งที่ถือว่าเป็นหัวใจของการใช้งานอินเทอร์เน็ต ก๊คือ www (World Wide Wed) โดยมี การเก็บข้อมูลจานวนมากไว้ในรูปของเว็บเพจบนอินเทอร์เน็ตที่เราสามารถเข้าถึงโดยใช้โปรแกรมเว็บ บราวเซอร์ ซึ่งแบ่งประโยนช์ที่ได้รับจากการใช้งาน www ได้ เช่น ค้นหาข้อมูล อัพเดต ข่าวสารล่าสุด จับจ่ายสินค้า/บริการ โหลดโปรแกรม/เกมส์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้งเป็นแหล่งความบังเทิงต่างๆ อีเมล์ - จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ อีเมล์ (E-mail) เป็นบริการสุดฮอตบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ต เพราะสามารถทาได้รวดเร็วเพียงแค่เพี้ยง วินาที สามารถส่งถึงหลายๆ คนได้พร้อมกันในครั้งเดียว นอกจากนั้นเรายังสามารถแนบไฟล์ข้อมูล ไฟล์ ภาพ ไปยังผู้ที่เราส่งถึงพร้อมๆ กับข้อความได้ด้วย สื่อสารกับผู้อื่นแบบทันทีทันใด เราสามารถใช้อินเทอร์เน็ตสื่อสารกับผู้อื่นได้ เช่น การส่งการ์ดอวยพรที่มีเสียง และภาพเคลื่อนไหว
  • 4. นอกจากนั้นยังมีบริการสนทนาออนไลน์ ที่เป็นการสื่อสารแบบโต้ตอบกับผู้อื่นแบบทันทีทันใดด้วย ซึ่ง นอกจากจะติดต่อกับคนที่เรารู้จักอยู๋แล้ว เราสามารถหาเพื่อนใหม่ในอินเทอร์เน็ต และแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นกับเขาได้ด้วย เล่นเกมออนไลน์ เกมส์ออนไลน์นั้น มีทั้งแบบเล่นคนเดียวผ่านอินเทอร์เน็ต หรือจะเล่นร่วมกับผู้อื่นก๊ได้ โดยจะต้องติดตั้ง โปรแกรมเสริม เกมในบ้านเราที่ได้รับความนิยม อาทิ Ragnarok,Pangya,Lineage เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีบริการที่เป็นประโยชน์และน่าสนใจอื่น ๆ อีก เช่น โทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีทั้งโทรถึงผู้ ที่ใช้อินเทอร์เน็ต หรือจะโทรเข้าเครื่องโทรศัพท์เลยก๊ได้ (เรียกว่า VOIP (Voice Over IP) บริการ RSS (Really Simple Syndication) ที่ส่งข้อมูลจากเว็บไซต์มาที่เครื่องของเราโดยอัตโนมัติและ บริการ FTP สาหรับโอนย้ายไฟล์จากคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งการดาวน์โหลด (download)และการอัพโหลด (upload) เป็นต้น สิ่งที่ไม่ควรทาบนอินเทอร์เน็ต เนื่องจากพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 250 ที่มีการประกาศใช้ต้งแต่ วันที่19 กรกฏาคม 2550 ที่ผ่านมามีสิ่งที่ควรระมัดระวังและไม่ควรทา สรุปได้ดังนี้ 1. การแอบเข้าไปในระบบเข้าสู้ระบบคอมพิวเตอร์ของคนอื่น โดยเจ้าของไม่ได้อนุญาติ 2. บอกวิธีการเข้าสู้ระบบคอมพิวเตอร์ของคนอื่น เช่น บอก Password ให้คนอื่นทราบ 3. แอบเข้าไปล้วงความลับของคนอื่น 4. การดักจับหรือแอบฟังข้อมูลของคนอื่นบนเครือข่าย 5. เข้าไปแก้ไขข้อมูลของคนอื่น เช่น เข้าไปเปลี่ยนแปลงหน้าเว็บ
  • 5. 6. ยิงแพ็จเกจ (packet), virus Trojan, worm เข้าไปก่อกวนระบบคอมพิวเอตร์ของคนอื่น จนล่มใช้การไม่ได้ 7. ส่งอีเมล์ให้คนอื่นซ้าๆ ทั้งๆ ที่คนรับไม่ต้องการหรือไม่สามารถยกเลิกได้ 8. ผู้ที่สร้างซอฟต์แวร์สาหรับก่อกวน เจาะระบบ ดักจับข้อมูล หรือ ไวรัส 9. ส่งอีเมล์หรือเขียนเว็บบอร์ด ดังนี้ลามก อนาจาร หลอกลวง ประจานคนอื่นจนได้รับความเสียหาย รวมถึงเข้าของเว็บ, เจ้าของระบบ email monitor ที่ยอมให้เกิดปัญหาด้วย 10. ตัดต่อรูปภาพคนอื่น หรือชวนคนอื่นมาดูภาพเหล่านี้ อินเทอร์เน็ตทางานอย่างไร เราอาจสงสัยว่าอินเทอร์เน็ตทางานอย่างไร คอมพิวเตอร์เน็ตจานวนมากที่เชื่อมต่อกันจึงสื่อสารและ แลกเปลี่ยนข้อมูลได้อย่างถูกต้อง คาตอบคือเทคโนโลยีที่ใช้มีส่วนสาคัญมาก TCP/IP ภาษากลางบนอินเทอร์เน็ต ปัจจุบัน มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนับล้านคนทั่วโลกซึ่งแต่ละคนก๊ใช้คอมพิวเตอร์ต่างรุ่นต่างแบบกันไปเมื่อเรา ต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านี้เข้าด้วยกันจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีกติกากลางเพื่อให้คอมพิวเตอร์แต่ ละเครื่องสามารถเข้าใจกันได้ ซึ่งกติกากลางนี้มีชื่อเรียกทางเทคนิคว่า โปรโตตอล (Protocol)
  • 6. เครือข่ายอินเทอร์เน็ตติดต่อกันผ่านตัวกลางที่มีชื่อเรียนว่า TPC/IP สาหรับโปรโตตอลมาตรฐานที่ใช้ในการสื่อสารอินเทอร์เน็ตมีชื่อเรียกว่า TPC/IP (อ่านว่า ทีซีพี ไอพี) การ ทางานโปรโตตอล TPC/IP จะแบ่งข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะส่งไปอีกเครื่องเป็นส่วนย่อยๆ (เรียกว่า แพ็ตเก็ต : packet) และสางไปตามเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยกระจายแพ็ตเก็ตเหล่านี้ไปหลายเส้าทาง ซึ่งแพ็ตเก็ตเหล่านี้จะไปรวมกันที่ปลายทาง และถูกนามาประกอบกันเป็นข้อมูลที่สมบูรณ์อีกครั้ง รับส่งข้อมูลได้ถูกที่ด้วย IP Assress อีกคาถามหนึ่งที่เราอาจสงสัยเกี่ยวกับการทางานของอินเทอร์เน็ต นั่นคือคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่ เชื่อมต่อกันรู้ที่อยู่ของเครื่องอื่นได้อย่างไร เช่นเดียวกับการติดต่อหาบ้านหลังหนึ่งในเมืองขนาดใหญ่ให้พบ เราจาเป็นต้องทราบข้อมูล เช่น บ้านเลขที่ ถนน เป็นต้น สาหรับอินเทอร์เน็ตก็เช่นกัน เมื่อเราต้องการสื่อสาร กับคอมพิวเตอีกเครื่องหนึ่ง เราต้องทราบทีอยู่ของมันบนอินเทอร์เน็ตที่มีชื่อเรียกทางเทคนิคว่า ไอพี แอดเดรส (IP Address) ไอพีแอดเดรด เป็นหมายเลขประจาตัวเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ซึ่งไม่ซ้ากับเครื่องอื่นในโลก โดยมีจุด (.) เป็นสัญลักษณ์แบ่งตัวเลขเป็นชุด ซึ่งแต่ละชุดจะมีค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 255 Control Panel-network Connections-status-Support ตานนี้ค่ะ โดเมนเนม ถึงแม้อินเทอร์เน็ตจะใช้อินเทอร์เน็ตจะใช้ไอพีแอดเดรสในการทางาน แต่เป็นตัวเลขที่ยาวทาให้ผู้ใช้จายาก จึงได้มีการใช้โดเมนเนม (Domain Name) หรืออินเทอร์เน็ตแอดเดรดมาใช้ ซึ่งเป็นการนาตัวอักษรที่ จาง่ายมาใช้แทนไอพีแอดเดรด โดเมนเนมจะไม่ซ้ากัน และมักถูกตั้งให้สอดคล้องกับชื่อบริษัท หรือองค์กรผู้ เป็นเจ้าของเพื่อสะดวกในการจดจาชื่อ เช่น บริษัท ซัคเซส มีเดีย มีโดเมน เนม successmesia.com และองค์กรการอวกาศแห่งสหรัฐ (NASA) มีโดเมน เนม nasa.gov เป็นต้น
  • 7. เชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สาหรับการใช้อินเทอร์เน็ต จะมีบริษัทที่ทาหน้าที่เป็นเหมือนจุดเชื่อมผู้ใช้รายเล็กรายน้อยเข้ากับเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซึ่งเราเรียกบริษัทเหล่านี้ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือ internet Service Provider (ISP) ถ้าเราต้องการใช้อินเทอร์เน็ต เราจะต้องเสียค่าบริการเพื่อเชื่อมต่อกับ ISP เราสามารถแบ่งการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของเราเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้เป็น 2 ประเภท ขึ้นกับลักษณะการใช้งาน ได้แก่ การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตสาหรับผู้ใช้ไวไป และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสาหรับองค์กรที่มีผู้ใช้ จานวนมาก การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสาหรับผู้ใช้ทั่วไป ถ้าเราต้องการใช้อินเทอร์เน็ต จะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อกับ ISP เราอาจสมัครเป็นสมาชิกโดย เสียค่าบริการรายเดือน ซึ่งจะจากัดจานวนชั่วโมงที่เราเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ในแต่ละเดือน หรือเราอาจ ซื้อเป็นชุดอินเทอร์เน็ตสาเร็จรูป ซึ่งจะเป็นการเหมาจานวนชั่วโมงที่เราจะใช้ภานใน 1 เดือน หรือใช้ภายใน ระยะเวลาใดก๊ได้จนกว่าจะครบจานวนชั่วโมง การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตรูปแบบนี้จะใช้สายโทรศัพท์เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราเข้ากับผู้ให้ บริการอินเทอร์เน็ต (ศัพท์ทางเทคนิคเรียกว่า Dial - up Connection) โดยผ่านอุปกรณ์เรียกว่า โมเด็ม (Modem) วิธีนี้จึงเหมาะสาหรับผู้ใช้ทั่วไป เพราะสายโทรศัพท์นั้นมีอยู่ทั่วไป และไม่ยุ่งยาก ข้อเสียของการใช้สายโทรศัพท์ในการสื่อสารคือความเร็วในการสื่อสารข้อมูลมีความจากัด และบ่อยครั้ง อาจเกิดสัญญาณรบกวนภายในสาย ทาให้การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต "หลุด" ได้ การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสาหรับองค์กรที่มีผู้ใช้จานวนมาก สาหรับองค์กรที่มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์จานวนมาก อาจเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้โดนผ่านอุปกรณ์ที่ เรียกว่า เราท์เตอร์ (Router) ซึ่งจะเชื่อมกับคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายผ่านสาย หรือแบบไร้ สายก็ได้
  • 8. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสาหรับองค์กร เตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้พร้อม เครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าเราต้องการใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่างสมบูรณ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราควรมีความเร็วในระดับที่ใช้ได้ ซึ่ง ความจริงเครื่องอคอมพิวเตอร์รุ่นทั่วไปในปัจจุบันนั้นก๊สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้อย่างไม่มีปัญหาอะไร โมเด็ม สาหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตส่วนบุคคล อุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้คือ โมเด็ม (Modem) ซึ่งแบ่งออกได้ เป็น 2 แบบ ได้แก่ แบบติดตั้งภายใน (lnternal Modem) และติดตั้งภายนอก (External Modem) โมเด็มแบบ lnternal Modem มีลักษณะเป็นการ์ดเชื่อต่อ ที่เราต้องนามาเสียบเข้าไปในเครื่อง ซึ่งโดยทั่วไปมักเป็นการ์ดเชื่อต่อแบบ PCI และมีช่องต่อกับสายโทรศัพท์ทางด้านหลังของการ์ด ซึ่งจะโผล่ออกมาทางด้านหลังของตัวเคสหลัง ติดตั้งแล้ว
  • 10. ข้อดีของโมเด็มแบบ External คือเราสามารถถอดจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปใช้กับเครื่องอื่นได้ อย่างสะดวก นอกจากนั้นยังมีไฟแสดงสถานะการทางานด้วย แต่ราคาของโมเด็มแบบนี้จะสูงกว่าโมเด็ม แบบ lnternal แพ็กเกจไว้ เช่น ใช้งานได้ 20 ชั่วโมง , 50 ชั่วโมง เป็นต้น กาหนดค่าสาหรับเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตใน Windows Vista หลังจากที่เราได้เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อโมเด็ม และสมัครเป็นสมาชิกกับผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต แล้ว ก่อนที่เราจะท่องอินเทอร์เน็ตได้เราจะต้องติดตั้งและกาหนดค่าต่างๆ ใน Windows ก่อน ซึ่งมี อยู่ 2 ขั้นตอนหลักๆ ขั้นตอนที่1 : การติดตั้งโมเด็ม ขั้นตอนที่2 : เชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต สาหรับขั้นตอนเหล่านี้เราต้องทาเพียงครั้งเดียวเท่านั้น หลังจากนั้นเมื่อใดที่ต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ของเรากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตก็ทาได้โดยการหมุนโทรศัพท์เพื่อเชื่อมต่อทันที ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านการศึกษา ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ด้านการเงินการธนาคาร WWW (World Wide Web) หมายถึงระบบเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก โดยใช้โปรโตคอล ที่ชื่อว่า TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) อินทราเน็ต (INTRANET) และเอ็กซ์ทราเน็ต (EXTRANET) อินทราเน็ต คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร เป็นระบบที่ได้การกล่าวขวัญถึงกันอย่างมากคู่กับ อินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรต่าง ๆ ได้มีการนาอินทราเน็ตมาใช้กันอย่างแพร่หลาย จนทาให้
  • 11. ระบบที่เกี่ยวกับอินทราเน็ตเป็นระบบที่ผู้ค้าต่าง ๆ มุ่งเข้ามาสู่กันมากที่สุด โดยสามารถให้นิยามของ อินทราเน็ตได้คือ ระบบเครือข่ายอินทราเน็ต ก็คือระบบเครือข่ายภายในองค์การที่นาเทคโนโลยีแบบเปิดจากอินเตอร์เน็ตมา ประยุกต์ใช้ เพื่อช่วยในการทางานร่วมกัน ( Workgroup) การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนการทางาน ต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ในองค์การ  ประโยชน์ของอินทราเน็ต ประโยชน์ของการนาอินทราเน็ตมาใช้ในองค์กรต่าง ๆ คือ  ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสารข้อมูลเนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารต่าง ๆ ภายในองค์กร สามารถจัดเก็บอยู่ ในรูปอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ภาษา และใช้บราวเซอร์ในการอ่านเอกสาร ทาให้ลดค่าใช้จ่าย และเวลาในการจัดพิมพ์เอกสารกระดาษ  ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอเนื่องจากการจัดเก็บข่าวสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยาก เหมือนการพิมพ์ลงกระดาษ และไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ทาให้บุคลากรในองค์กรสามารถรับข่าวสารใหม่ ล่าสุดได้เสมอ  ช่วยในการติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไวไม่ว่าบุคลากรจะอยู่ห่างกันคนละชั้น คนละตึก หรือคนละจังหวัด ด้วยการใช้เทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีการคุยติดต่อผ่านแป้ นพิมพ์หรือแม้กระทั่ง เทคโนโลยีประชุมทางไกล เป็นการช่วยลดการสูญเสียเวลาของบุคลากร ตลอดจนช่วยให้ทีมงานมีการ ประสานงานกันดีขึ้น  เสียค่าใช้จ่ายต่าการติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการติดตั้ง ซอฟต์แวร์การทางานแบบกลุ่ม (Workgroup software)ทั่วไปมาก เนื่องจากการใช้เทคโนโลยีแบบเปิดของอินเตอร์เน็ต ทาให้สามารถใช้ ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ในอินเตอร์เน็ตซึ่งมีราคาไม่สูงนัก หรือในงานบางส่วนอาจไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เนื่องจากมี แชร์แวร์และฟรีแวร์อยู่มากมายในอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ หากองค์กรมีระบบเครือขายภายในอยู่แล้ว การ ติดตั้งระบบอินทราเน็ตเพิ่มเติมจะเสียค่าใช้จ่ายต่ามาก เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วได้ทันที ตามคุณสมบัติ การใช้งานข้ามระบบ (cross platfrom) ที่แตกต่างกันได้ของอินเตอร์เน็ต  เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด ทาให้องค์กรไม่ผูกติดอยู่กับผู้ค้ารายใดรายหนึ่ง จึงช่วยลดความเสี่ยงต่าง ๆ เช่น ผู้ค้าเลิกกิจการ ผู้ค้าเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือผู้ค้าขึ้นราคา เป็นต้น รวมทั้งช่วยให้สามารถหา ซอฟต์แวร์ใหม่ ที่จะมาช่วยในการทางานได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งอยู่กับผู้ผลิตเพียงรายเดียว
  • 12.  เตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตได้ทันทีรวมทั้งเป็นการเตรียมความรู้ของบุคลากร เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตด้วย  องค์ประกอบของอินทราเน็ต จากนิยมจะเห็นได้ว่าองค์ประกอบของอินทราเน็ตจะคล้ายคลึงกับอินเตอร์เน็ตอย่างมาก เนื่องจากมีการนา เทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ตมาใช้งานนั้นเอง โดยอินทราเน็ตที่ดีควรประกอบด้วย  การใช้โปรโตคอลTCP/IP เป็นโปรโตคอลสาหรับติดต่อสื่อสารภายในเครือข่าย  ใช้ระบบWorld Wide Web และโปรแกรมบราวเซอร์ในการแสดงข้อมูลข่าวสาร  มีระบบอีเมลล์สาหรับแลกเปลี่ยนสาหรับข้อมูลระหว่างบุคลากรในองค์กร รวมทั้งอาจมีระบบนิวส์กรุ๊ปส์ เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความรู้ของบุคลากร  ในกรณีที่มีการเชื่อมต่อระบบอินทราเน็ตในองค์กรเข้ากับอินเตอร์เน็ต จะต้องมีระบบไฟร์วอลล์ (FireWall) ซึ่งเป็นระบบป้ องกันอันตรายจากผู้ไม่หวังดีที่ติดต่อเข้ามาจากอินเตอร์เน็ต โดยระบบไฟร์วอลล์ จะช่วยกรั่นกรองให้ผู้ที่ติดต่อเข้ามาใช้งานได้เฉพาะบริการและพิ้นที่ในส่วนที่อนุญาตไว้เท่านั้น รวมทั้ง ช่วยกัน นักเจาะระบบ (hacker) ที่จะทาการขโมยหรือทางายข้อมูลในระบบเครือข่ายขององค์กรด้วย  เอ๊กซ์ทราเน็ต (EXTRANET) เอ๊กซ์ทราเน็ต หรือ เครือข่ายภายนอกองค์กร ก็คือระบบเครือข่ายซึ่งเชื่อมเครือข่ายภายในองค์กร (INTERNET) เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ภายนอกองค์กร เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ของสาขาของผู้จัด จาหน่ายหรือของลูกค้า เป็นต้น โดยการเชื่อมต่อเครือข่ายอาจเป็นได้ทั้ง การเชื่อมต่อโดยตรง ( Direct Link) ระหว่าง 2 จุด หรือการเชื่อมต่อแบบ เครือข่ายเสมือน ( Virtual Network)ระหว่างระบบเครือข่าย อินทราเน็ต จานวนหลาย ๆ เครือข่ายผ่านอินเตอร์เน็ตก็ได้ ระบบเครือข่ายแบบเอ็กซ์ทราเน็ต โดยปกติแล้วจะอนุญาตให้ใช้งานเฉพาะสมาชิกขององค์กรหรือผู้ที่ได้รับ สิทธิในการใช้งานเท่านั้น โดยผู้ใช้จากภายนอกที่เชื่อมต่อเข้ามาผ่านเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตอาจถูกแบ่งเป็น ประเภท ๆ เช่น ผู้ดูแลระบบ สมาชิก คู่ค้า หรือผู้สนใจทั่ว ๆ ไป เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้แต่ละกลุ่มจะได้รับสิทธิใน การเข้าใช้งานเครือข่ายที่แตกต่างกันไป เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตเป็นเทคโนโลยีเครือข่ายที่กาลังได้รับความสนใจอย่างมาก เนื่องจากแนวโน้มการใช้ งานเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่เริ่มมีการนามาใช้ในเชิงพาณิชย์มากขึ้นเรื่อย ๆ เช่น การเปิดร้านค้าบน อินเตอร์เน็ต หรือการเปิดบริการข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เป็นต้น ซึ่งบริการเหล่านี้จะต้องมีการเชื่อมต่อกับ
  • 13. บุคคลและเครือข่ายภายนอกองค์กรจานวนมาก จึงต้องมีระบบการจัดการการเชื่อมต่อเครือข่ายภายนอกที่มี ประสิทธิภาพและความปลอดภัย สรุป คอมพิวเตอร์จานวนมากที่เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายจาเป็นจะต้องมีกติกาเพื่อให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง สามารถเข้าใจกันได้ เรียกว่า โปรโตตอล (Protocol) โดยโปรโตตอลมาตรฐานที่ใช้ในการสื่อสารบน อินเทอร์เน็ตมีชื่อเรียกว่า TCP/IP คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่เชื่อมต่อกัน สามารถรู้ที่อยู่ของเครื่องอื่นได้ผ่าน ไอพี แอดเดรส (IP Address)ซึ่งเป็นหมายเลขประจาตัวเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ซึ่งไม่ซ้ากับเครื่องอื่นในโลก แต่การ ความหมายของโฮมเพจ เว็บเพจ เว็บไซต์ -โฮมเพจ คือเว็บเพจหน้าแรกที่เป็นหน้าดัชนีหรือรายการที่บอกรายละเอียดของเว็บไซต์นั้น ๆ เราอาจจะเปรียบโฮมเพจ เหมือนหน้าบ้านของเว็บไซต์ก็ได้ -เว็บเพจ (Web Page) เป็นหน้าเอกสารเว็บที่สร้างขึ้นด้วยภาษาHTML (Hypertext Markup Language)ซึ่ง โปรแกรมเบราเซอร์จะทาหน้าที่แปลภาษาHTML ออกมาเป็นหน้าเอกสารทางจอภาพคอมพิวเตอร์ เว็บเพจอาจจะ ประกอบด้วยข้อความ ภาพกราฟิก หรือภาพเคลื่อนไหว อาจมีเสียงประกอบด้วยก็ได้ ทาให้ดึงดูดความสนใจ และทาให้เวิล์ดไวด์เว็บได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปัจจุบัน -เว็บไซต์ (Web Site) คือ แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อประสมต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ ของแต่ละ บริษัทหรือหน่วยงานโดยเรียกเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ (Web Page) และเรียกเว็บหน้าแรกของแต่ละเว็บไซต์ว่า โฮมเพจ (Home Page) หรืออาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจอย่างน้อยสองหน้าที่มีลิงก์ (Links) ถึงกัน ตามหลักคาว่า เว็บไซต์จะใช้สาหรับผู้ที่มีคอมพิวเตอร์แบบเซิร์ฟเวอร์หรือจดทะเบียนเป็นของตนเองเรียบร้อยแล้วเช่น http://www.google.co.th ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลเป็นต้น ความหมายของเครื่องช่วยค้นหา(Search Engines คือ เครื่องมือหรือเว็บไซต์ที่ช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลและข่าวสาร ที่ อยู่ของเว็บไซต์
  • 14. อินเด็กเซอร์ (Indexers) Search Engines แบบอินเด็กเซอร์จะมีโปรแกรมช่วยจัดการหาข้อมูลในการค้นหา หรือที่เรียกว่า Robot วิ่ง ไปมาในอินเทอร์เน็ตโดยอัตโนมัติ เพื่ออ่านข้อมูลจากเว็บเพจ (Web Pages) ต่าง ๆ ทั่วโลกมาจัดทาเป็น ฐานข้อมูลไว้ โดยจะใช้ตัวอินเด็กซ์ (Index) ค้นหาจากข้อความในเว็บเพจที่ได้สารวจมาแล้ว - http://www.altavista.com - http://www.excite.com ไดเร็กทอรี (Directories) Search Engines แบบไดเร็กทอรีจะใช้การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยแบ่งออกเป็นหมวดหมู่ ซึ่งก็เปรียบเสมือน กับเป็นแค็ตตาล็อกสินค้า (Catalog) เราสามารถเลือกจากหมวดหมู่ใหญ่ แล้วเลือกดูหมวดหมู่ย่อย ๆ ลงไป เรื่อย ๆ จนพบกับข้อมูลที่ต้องการ โดยจะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับตาแหน่ง URL และรายละเอียดเกี่ยวกับ URL นั้น ๆ ซึ่งได้มาจากการวิเคราะห์เนื้อหาของแต่ละเว็บเพจว่าเกี่ยวกับเรื่องอะไร -http://www.yahoo.com - http://www.lycos.com เมตะเสิร์ช (Metasearch) Search Engines แบบเมตะเสิร์ชจะใช้หลาย ๆ วิธีการมาช่วยในการค้นหาข้อมูล โดยจะรับคาสั่งค้นหาจาก เรา แล้วส่งต่อไปยังเว็บไซต์ที่เป็น Search Engines หลาย ๆ แห่งพร้อม ๆ กัน ทาให้เราสามารถเข้าถึง เว็บไซต์ Search Engines ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว จากนั้นก็จะสรุปแสดงผลลัพธ์ออกมา - http://www.dogpile.com Security Center ของ Windows เป็นหน้าต่างสาหรับกาหนดค่าเกี่ยวกับการรักษาความ ปลอดภัยของระบบ ประกอบไปด้วย Windows Update สาหรับการอัพเดตความสามารถใหม่ๆ และแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ในระบบจากไมโครซอฟท์ Firewall เป็นโปรแกรมสาหรับป้ องกันการเข้าถึง
  • 15. ข้อมูลของเราจากเครือข่ายภายนอก Windows Defender สาหรับตรวจสอบและกาจัดโปรแกรม ขนาดเล็กที่ลอบเข้ามาในเครื่อง เช่นไวรัส /สปายแวร์ และ internet Option สาหรับกาหนดค่าความ ปลอดภัยในการท่องอินเทอร์เน็ต เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์ Peer-to-Peer Network เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์ (Peer-to-Peer Network) เครือข่ายประเภทนี้จะไม่มีเครื่องเซิร์ฟเวอร์ และไม่มีการแบ่ง ชั้นความสาคัญของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเข้ากับเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะมีสิทธิเท่าเทียมกันในการจักการใช้ เครือข่าย ซึ่งเรียกว่า เพียร์(Peer) นั่นเอง คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะทาหน้าที่เป็นทั้งไคลเอนท์และเซิร์ฟเวอร์แล้วแต่การ ใช้งานของผู้ใช้ เครือข่ายประเภทนี้ไม่จาเป็นต้องมีผู้ดูแลและจัดการระบบ หน้าที่นี้จะกระจายไปยังผู้ใช้แต่ละคน เนื่องจาก ผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเป็นคนกาหนดว่าข้อมูลหรือทรัพยากรใดบ้างของเครื่องนั้นที่ต้องการแชร์กับผู้ใช้คนอื่นๆ การใช้งานแบบเพียร์ทูเพียร์ บางที่ก็เรียกว่า "เวิร์คกรุ๊ป (Work group)" หรือกลุ่มของคนที่ทางานร่วมกันเป็นทีม ซึ่ง ส่วนมากจะมีจานวนน้อยกว่าสิบคน เครือข่ายประเภทนี้จะเป็นแบบง่ายๆ ไม่ซับซ้อนมากเนื่องจากคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ทาหน้าที่เป็นทั้งไคลเอนท์และเซิร์ฟเวอร์ ฉะนั้นจึงไม่จาเป็นที่ต้องมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์เพราะต้องมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่มีราคา แพงทาหน้าที่จัดการเครือข่าย ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์นี้ไม่จาเป็นต้องเป็นซอฟต์แวร์ที่มีฟังก์ชัน และระบบรักษาความ ปลอดภัยเท่ากับระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่ายแบบ เพียร์ทูเพียร์ อาจจะใช้แค่วินโดวส์ 95/98/Me ในขณะที่เครื่องเซิร์ฟเวอร์อาจต้องใช้วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2002/2003 ซึ่ง ราคาของระบบปฏิบัติการนี้จะแพงกว่ากันมาก
  • 16. เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์เหมาะสาหรับสภาแวดล้อมดังต่อไปนี้ มีผู้ใช้เครือข่าย 10 คน หรือน้อยกว่า มีทรัพยากรเครือข่ายที่ต้องแชร์กันไม่มากนัก เช่น ไฟล์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ซึ้งยังไม่จาเป็นต้องมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ทาหน้าที่ ทางด้านนี้โดยเฉพาะ ยังไม่มีความจาเป็นในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การขยายตัวของเครือข่ายไม่มากนักในอนาคตอันใกล้ อุปกรณ์เครือข่ายท้องถิ่นแบบ (LAN) iPTV คือ การให้บริการที่ทาให้ผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง สามารถดูรายการประเภท Multimedia ผ่านเครือข่ายบรอดแบนด์ภายในประเทศได้ ( รองรับด้วยระบบ Multimedia Streaming Data Base ป้ องกัน การ Download เพลง ) โดยใช้การส่งนาสัญญาณผ่านดาวเทียมไทยคมที่ครอบคลุม 76 จังหวัดทั่วประเทศ 1. สามารถใช้ประโยชน์ได้จากศักยภาพในด้านการนาเสนอเนื้อหาด้าน multimedia หรือการที่เป็นช่องทาง
  • 17. ให้ สามารถดูรายการต่างๆ ผ่านเครือข่ายบรอดแบนด์ความเร็วสูงได้อีกสื่อหนึ่ง โดยสามารถใช้ทั้งแบบดู รายการได้ตามที่ต้องการเมื่อไรก็ได้หรือจะเลือกดูแบบที่จัดเป็นเหมือนผังรายการของสถานีโทรทัศน์ทั่วไปก็ ได้ ด้วยเอกลักษณ์เฉพาะตัวของระบบ iPTV และช่องสัญญาณขนาดใหญ่ของดาวเทียมนี้เอง ที่ทาให้สามารถ ให้บริการที่คล้ายกับการออกอากาศของสถานีโทรทัศน์ย่อยๆ ได้หลายสิบช่อง (Multi channel cable TV system) ประกอบกับการที่ระบบออกอากาศผ่านทาง IP network หรือ เครือข่ายบรอดแบนด์ความเร็วสูงนี้ ทาให้สามารถสร้างสรรรายการแบบการให้บริการโทรทัศน์ 2 ทาง (Interactive TV) ที่ผู้ชมสามารถ ตอบสนองหรือค้น หาข้อมูลเพิ่มเติมกับรายการที่ตนดูอยู่ ณ.ขณะนั้นๆได้ 2. เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ที่ใช้ในการ download ข้อมูลขนาดใหญ่ได้รวดเร็ว (ใช้ระบบ Turbo Interne ในภาคการรับข้อมูลความเร็วสูง ส่วนภาคการเรียกข้อมูลจะเรียกผ่าน Modem และ downloadได้เฉพาะ ข้อมูลที่ผู้ ผลิตอนุญาต) 3. ใช้เป็นระบบอินเตอร์เน็ตสนับสนุนการทางานภายในองค์กร โดยเฉพาะสาหรับองค์กรขนาดเล็กถึง ขนาดกลาง ( SMEs ) ผู้ใช้บริการมีโมเด็มต่ออินเตอร์เน็ต ผ่านสายโทรศัพท์ปกติ พร้อมติดตั้งอุปกรณ์เทอร์โบ (USB) ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ (PC) และทาการเชื่อมต่อสายสัญญาณไปยังจานดาวเทียมขนาดเล็ก (60 ซม.) เมื่อผู้ใช้บริการ เริ่มทาการติดต่อเข้าศูนย์บริการของ ซีเอส อินเตอร์เน็ต ด้วยอุปกรณ์โมเด็มผ่านทางสายโทรศัพท์ปกติ ซึ่ง เมื่อผู้ใช้ได้ทาการเรียกข้อมูล (Request) จากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต คาสั่งดังกล่าว จะถูกส่งผ่านมายังศูนย์ ของซีเอส อินเตอร์เน็ต เพื่อส่งต่อไปยังเครือข่ายอินเตอร์เน็ตกลาง ในส่วนของข้อมูลขากลับที่ได้รับจาก เครือข่ายอินเตอร์เน็ตกลาง จะถูกส่งผ่านมายังสถานีดาวเทียมไทยคม เพื่อทาการส่งข้อมูลดังกล่าวผ่านทาง ช่องสัญญาณดาวเทียมตรงไปยังผู้ใช้บริการ ด้วยลักษณะการทางานดังกล่าว จะทาให้ผู้ใช้บริการสามารถ รับข้อมูลขนาดใหญ่ และรวดเร็ว เนื่องจากไม่ต้องประสบปัญหาในข้อจากัดเรื่องระยะทาง หรือระบบ เครือข่ายภาคพื้นดิน (แบบสาย หรือ Land Line)
  • 18. ในกรณีของการใช้งานในลักษณะขององค์กร ที่จาเป็นจะต้องมีการใช้งานอินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อพร้อมๆ กัน หลายจุด ผู้ใช้บริการสามารถประยุกต์ระบบ iPTV เพื่อรองรับการใช้งานดังกล่าวได้ โดยการติดตั้งอุปกรณ์ เทอร์โบในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกกาหนดให้เป็นเกตย์เวย์ (Gateway) พร้อมทาการติดตั้งโปรแกรม ประเภทพร๊อกซี (Proxy) เพื่อช่วยในการใช้งานอินเตอร์เน็ตแบบหลายคน