SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ใบความรู
                                เทคนิค / วิธีการระบายสีน้ํา -----




                                     เปยกบนเปยก
    การระบายสีแบบเปยกบนเปยก หมายถึง การระบายน้ําลงบนกระดาษกอนแลวจึงระบายสีตามที่ตองการลงไป
การระบายแบบเปยกบนเปยกนี้ จะชวยใหทานระบายสีติดบนกระดาษทุกสวน เพราะกระดาษบางชนิดระบายสีติด
ยาก เนื่องจากมีความมันหรือความหยาบขรุขระ

  การระบายแบบเปยกบนเปยก มีประโยชนมากเมื่อจะระบายทองฟา หรือผิววัตถุที่มีมัน เพราะจะใหความรูสึก
กลมกลืนของสีเดนชัด เทคนิคของการระบายแบบเปยกบนเปยกที่สําคัญมี 2 ประการ คือ 1.การไหลซึม 2.การ
ไหลยอย
1.การไหลซึม




วิธีระบายเทคนิคการไหลซึม

1. เตรียมกระดาษที่ขึงบนกระดานรองเขียน สี น้ํา พูกัน และผาเช็ดไวใหพรอม

 2. วางกระดานรองเขียนใหทํามุมกับพื้น     15 องศา แลวใชพูกันขนาดใหญ จุมน้ําระบายบนกระดาษวาดเขียน
จากนั้นจึงใชพูกันจุมสี แลวระบายลงไป ขณะที่กระดาษยังเปยกน้ําอยู เมื่อระบายสีแรกจนพอใจแลว ลางพูกัน จุมสี
อื่นระบายใกลกับสีแรกเปลี่ยนสีอื่นและระบายอยางเดียวกัน ประมาณ 4 – 5 สี

 3. ขณะที่ระบายควรสังเกตดูการไหลซึมของสีที่ระบายนั้น จะพบวาบางสีมีลักษณะรุกรานสีอื่น และบางสีก็ไม
รุกรานสีอื่น ควรจดจําสีที่รกรานและไมรุกรานไว
                           ุ

 4. ลองระบายตามวิธีนี้อีก แตคราวนี้กําหนดใหแนวาจะใชกลุมสีอุน หรือกลุมสีเย็น
                                                                                     ( Cool or Warm Tone )
แลวสังเกตความไหลซึมของสี

การประเมินผลการทดลองการไหลซึม

1.ภาพระบายสีน้ําแสดงความชุม ความซึมของสีแตละสีหรือไม

2.เมื่อระบายเสร็จ ทิ้งใหแหงแลวเกิดมีคราบสีหรือไม

3.ในกระดาษที่ระบายสีอนหรือสีเย็นแตละประเภท สังเกตเห็นวามีความรูสึกอุน หรือเย็นหรือไมอยางไร
                     ุ

4.เทคนิคการไหลซึมอาจจะนําไปใชระบายวัตถุอะไรไดบาง
2.การไหลยอย




วิธีระบายเทคนิคการไหลยอย

1. เตรียมกระดาษที่ขึงบนกระดานรองเขียน สี น้ํา พูกัน และผาเช็ดไวใหพรอม

 2. วางกระดานรองเขียนใหทํามุม 15 องศากับพื้น แลวใชพูกันขนาดใหญระบายน้ําบนกระดาษวาดเขียน ควร
ระบายใหทั่วกระดาษ จากนั้นใหใชสีที่มีน้ําหนักแกระบายจากซายไปขวาตอไปเรื่อยๆ จนเกือบทั่วแผนกระดาษ

3. ปรับความเอียงของกระดานรองเขียนใหทํามุมกับพื้น 85 องศา แลวใชพูกันจุมสีออนระบายบนสุดของกระดาษ
                                                                               
พยายามใหพูกันมีสีและน้ํามากๆ เมื่อระบายแลว สังเกตดูวาสีไหลยอยทันทีหรือไม

4. ถาสีออนที่ระบายทับทีหลังไมออนเทาที่ควร ก็ใหระบายดวยน้ําเปลาแทน

5. ลองระบายสลับกันโดยระบายสีออนในชิ้นแรก เมือกระดานเอียง 15 องศา แลวระบายสีแก เมื่อกระดานเอียง 85
                                             ่
องศากับพื้นสังเกตดูความแตกตาง

การประเมินผลการทดลองการไหลยอย

1.ภาพแสดงสีน้ําแสดงความชุม ความไหลยอยของสีออนหรือสีแก

2.ปริมาณของน้ําและสี พอดีกับบริเวณวางที่ระบายหรือไม

3.เมื่อกลับหัวดูใหความรูสึกเหมือนกันหรือตางกันกับตอนที่ระบายหรือไม

4.เทคนิคการไหลยอยนี้สามารถนําไปถายทอดธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมอะไรไดบาง

จะเอาไปใชถายทอดน้ําตกไดหรือไม
ก        F




       การระบายแบบเปยกบนแหง หมายถึง การระบายสีบนกระดาษที่ไมตองลงน้ากอน คําวา
                                                                        ํ
เปยก คือ พูกนกับสี สวนแหง คือ แผนกระดาษ การระบายแบบเปยกบนแหง เปนวิธีระบายทั่วไป
              ั
ซึ่งมีเทคนิคที่สําคัญอยู 3 ประการ คือ

    1.ระบายเรียบสีเดียว

    2.ระบายสีออนแกเรียบสีเดียว

    3.ระบายเรียบหลายสี
    3.
1.การระบายเรียบสีเดียว




วิธีการระบายเรียบสีเดียว




          เตรียมกระดาษที่ขงบนกระดานรองเขียน สี น้ํา พูกัน และผาเช็ดไวใหพรอม
                          ึ                           

วางกระดานรองเขียนใหทํามุมกับพืนที่ 15 องศา แลวใชพูกนจุมสีที่ตองการระบายผสมกับน้ํา กะ
                               ้                       ั
           ใหพอกับบริเวณวางทีตองการระบายประมาณ 3” x 6” พยายามผสม
                                 ่

                      สีใหเขากับน้า แลวจึงระบายบนพื้นที่ 3” x 6” นั้น
                                    ํ
ขณะระบายใหระบายชาๆ โดยเริ่มจากทางดานซายมือมาทางขวามือ คลายกับการเขียนหนังสือ
ระบายตามแนวนอน และใหมีน้ํากองอยูบนกระดาษมากๆ เพือที่จะไดระบายตอไปสะดวก ระบาย
                                                   ่
ตอกัน จนทั่วบริเวณรองรับขนาด 3”x 6”




 ขณะระบายอยาเอาพูกันที่จุมสีแลวไปจุมน้าเปนอันขาด เพราะจะทําใหน้ําหนักทีผสมไวแลวออน
                                         ํ                                  ่
ลง จงใชเฉพาะพูกันจุมสีที่ผสมสีไวแลวเทานั้นระบายติดตอกัน
                    

การประเมินผลการทดลองการระบายเรียบสีเดียว

1.ภาพที่ระบายมีสีเรียบ น้ําหนักเทากันทั้งบริเวณ 3” x 6” หรือไม

2.ขณะที่ระบายสีน้ําบนกระดาษเฉลี่ยเทาๆกันหรือไม และสีนาไหลลงมาเปนแนวดิ่งหรือไม
                                                       ้ํ

3.สีน้ําที่ระบายนอกจากจะแสดงความเรียบแลว แสดงลักษณะโปรงใส อันเปนคุณสมบัตของสีนา
                                                                           ิ     ้ํ
หรือไม

4.การระบายสีเดียว สามารถนําไปใชถายทอดธรรมชาติ หรือวัตถุตางๆอะไรไดบาง
2.การระบายออนแกเรียบสีเดียว




 วิธีการระบายออนแกเรียบสีเดียว




    เตรียมกระดาษที่ขงบนกระดานรองเขียน สี น้ํา พูกัน และผาเช็ดไวใหพรอม
                    ึ                           



วางกระดานรองเขียนทํามุม 15 องศา      กับพืน แลวระบายแบบเรียบสีเดียว โดยใหมนาหนักออน
                                          ้                                 ี ้ํ
แก เมือระบายไปไดพนที่จานวนหนึ่งแลว ผสมสีใหแก แลว ระบายตอ >>>
       ่           ื้   ํ
ระบายน้ําหนักแกเพิ่มขึ้นเรือยๆ จนไดความแตกตางหลายๆน้าหนัก
                                          ่                          ํ




      ระบายน้ําหนักแกเพิ่มขึ้นเรือยๆ จนไดความแตกตางหลายๆน้าหนัก ระบายสีแกกอน
                                  ่                          ํ                

      แลวผสมออนระบายตอตามวิธีระบายเรียบ โดยใหเห็นน้าหนักของสีจากแกมาหาออน
                                                       ํ




การประเมินผลการระบายออนแกเรียบสีเดียว

1.ภาพที่ระบายตามวิธีนี้ แสดงใหเห็นความกลมกลืนของน้าหนักออนแกของสีหรือไม
                                                   ํ

2.ภาพที่ระบายแสดงคุณสมบัติของสีน้ํา คือความโปรงใสหรือไม

3.การระบายสีเรียบออนแกนี้ สามารถนําไปใชระบายธรรมชาติ หรือสิ่งแวดลอมอะไรไดบาง

4.ถาจะลองสรางภาพเหลี่ยมงายๆ แลวระบายสีตามวิธการนี้ ทานคิดวาจะมีปญหาอะไร เกิดขึ้น
                                                ี
บาง
3.การระบายเรียบหลายสี




วิธีการระบายเรียบหลายสี

1. เตรียมกระดาษทีขงบนกระดานรองเขียน สี น้ํา พูกัน และผาเช็ดไวใหพรอม
                 ่ ึ                          

2. เตรียมกระดาษทีขงบนกระดานรองเขียน สี น้ํา พูกัน และอุปกรณที่จําเปนไวใหพรอม
                 ่ ึ                          

 3. วางกระดานรองเขียนใหทํามุมกับพื้น 15 องศา แลวใชพกันจุมสี ผสมสีใหพอกับบริเวณทีวางที่
                                                      ู                             ่
จะระบาย แลวระบายบนบริเวณกระดาษที่ตองการ
                                       

4. ผสมสีอนระบายตอจากสีที่ระบายแลวครั้งแรก พยายามระบายใหตอเนืองกัน
         ื่                                                     ่

5.ผสมสีอื่นๆ อีกแลวระบายตอ อาจจะระบายเปนกลุมสีอนหรือกลุมสีเย็น พยายาม ระบายใหมีเนือ
                                                 ุ                                 ้
ที่ของสีตางๆ แลวพิจารณาดูความกลมกลืนและการไหลของแตและสีดวย
         

การประเมินผลการระบายเรียบหลายสี

1.สีที่ละบายแตละสีนนเมือซึมเขาหากันแลวเกิดเปนสีใหมหรือไม
                    ั้  ่

2.สีที่ระบายสีมีลักษณะโปรงใส ลักษณะเรียบตามที่ตองการหรือไม และสีใดที่รูสึกวาหมนลง หรือ
                                                
แสดงวาไมสดใส

3.การระบายสีแบบนี้ สามารถนําไปใชในการถายทอดรูปแบบธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอะไร ที่
คาดวาเหมาะสมที่สุด

4.ทานจงสังเกตดูวา สีที่ระบายสีใดที่ทานชอบและระบายงายที่สด
                                                          ุ

          การระบายสีแบบเปยกบนแหง ทัง 3 วิธีดงที่เสนอแนะมานี้ ถือเปนเทคนิคพืนฐานที่ผูสนใจ
                                     ้        ั                               ้
สีน้ําทั้งหลายจะตองระบายใหไดกอน จากนันก็สามารถพลิกแพลง ผสมผสานกับการระบายแบบ
                                       ้
อื่นๆได
แหงบนแหง




       การระบายแบบแหงบนแหง หมายถึง การระบายสีที่ใชพกนจุมสีนอย แลวระบาย
                                                         ู ั
อยางรวดเร็วบนกระดาษ การระบายสีแบบนี้ ผูระบายมักจะบันทึกความรูสกของตนลงไป
                                                                 ึ
ในขณะระบายดวย

       การระบายแบบแหงบนแหง มีประโยชนในการที่จะเนนสวนใดสวนหนึ่ง หรือ
บริเวณที่เห็นวา ควรทําใหเดนได บางทานก็ใหความเห็นวา ผลอันเกิดจากการระบาย
แหงบนแหง คลายกับการเขียนชวเลข หรือการสงโทรเลข กลาวคือ มีขอความสั้นๆ
ชัดเจน กะทัดรัด และรวดเร็ว

         การระบายแบบแหงบนแหง มีเทคนิคที่สําคัญอยู 3 ประการ

   1.   การแตะ



   2.   การปาย



   3.   เทคนิคผสม
การแตะ




วิธีระบายเทคนิคการแตะ

1. เตรียมกระดาษปรุฟไวหลายๆ แผน ปดเทปตอนบนกับกระดานรองเขียนไวพรอม
                  

2. วางกระดานรองเขียนทํามุมกับพื้น 15 องศา แลวใชพกนจุมสีทตองการแตะลงบนกระดาษ
                                                  ู ั     ี่
พยายามแตะตามแนวนอนตามลําดับ โดยเวนชองหางกัน และชิดกันตามตองการ

3.พลิกแพลงวิธีแตะใหแปลกใหแปลกไปจากทีไดทําไปแลว และขณะแตะ ควรนึกอยูเสมดวา
                                             ่
ภาพที่เกิดอาจดูเปนรูปอะไรไดบาง เปลี่ยนสี และเปลียนพูกน ตามที่เห็นวานาสนใจและเหมาะสม
                                                 ่     ั

4. ขณะระบายอยาเอาพูกนที่จุมสีแลวไปจุมน้ําเปนอันขาด เพราะจะทําใหน้ําหนักที่ผสมไวแลว
                      ั
ออนลง จงใชเฉพาะพูกันจุมสีที่ผสมสีไวแลวเทานันระบายติดตอกัน
                                                 ้

การประเมินผลเทคนิคการแตะ

1.ภาพที่เกิดจากการแตะนั้นมีลกษณะคลายกันหรือไม
                            ั                       และแสดงความรูสกวาซ้ําๆ กันจนนาเบือ
                                                                   ึ                    ่
หรือไม

2.ภาพทีเกิดจากพูกนนิดเดียวกัน
       ่          ั              และพูกันตางชนิดกัน มีลักษณะคลายกันหรือตางกัน
                                      

3.ภาพที่เกิดจากการแตะ
                   สามารถนําไปออกแบบเปนรูปแบบอะไรไดและคลายกับการพิมพหรือไม
4.ถาจะลองออกแบบโดยใชวิธการแตะนี้ ทานคิดวามีปญหาอะไร เกิดขึนบา
                         ี                                     ้
การปาย




วิธีระบายเทคนิคการปาย

1. เตรียมกระดาษปรุฟไวหลายๆ แผน ปดเทปตอนบนกับกระดานรองเขียนไวพรอม
                  

 2. วางกระดานรองเขียนทํามุมกับพื้น 15 องศา แลวใชพูกนจุมสีที่ตองการปายครังเดียวจะปาน
                                                            ั                   ้
ตรง เฉียง หรือ โคง ก็ได อยาจุมสีใหชุมเกินไปนัก คะเนวาปายทีเดียวสีตดกระดาษหมดพอดี
                                                                          ิ

 3. ปายซ้าๆ กันใหมีลกษณะตอเนื่องกันในทิศทางเดียวกัน และพลิกแพลงพูกนตามความ
          ํ           ั                                              ั
เหมาะสม

 4. ทดลองปายบนกระดาษที่มีผวหยาบ
                           ิ            และผิวกระดาษตางๆกัน สังเกตดูความแตกตาง รวมทั้ง
ลองเปลียนพูกนดวย
       ่     ั

การประเมินผลเทคนิคการปาย

1. ภาพเสนที่เกิดขึ้นนั้น มีลกษณะคลายลายเซ็นหรืไม และแสดงความรูสึกเร็วมากนอยเพียงใด
                             ั

2. ภาพทีเกิดจากพูกนชนิดเดียวกันและตางชนิดกัน มีลกษณะเหมือนกันหรือตางกัน
        ่          ั                              ั

3. ภาพทีเกิดขึนนัน สามารถนําไปออกแบบเปนภาพอะไรไดบางและลีลาที่เกิดขึนสอดคลองกับ
          ่    ้ ้                                                  ้
ความรูสกที่ตองการแสดงออกหรือไม
        ึ    

4.ถาจะลองปายใหเปนภาพลวดลาย ทานคิดวาจะมีปญหาอะไรเกิดขึ้นบาง
เทคนิคผสม




        วิธีระบายเทคนิคการผสม

1.เตรียมกระดาษวาดเขียนตามทีทานเห็นวาเหมาะสม จากการแตะ และการปาย ที่ทานเคย
                           ่
ทดลองไปแลว ติดบนกระดาษรองเขียนใหเรียบรอย

2. วางกระดานรองเขียนทํามุมกับพื้น   15   องศา และใชพูกนจุมสีทตองการแตะลงบนกระดาษ และ
                                                        ั       ี่
ปายสลับกันไปในทิศทางเดียวกัน

3.อาจพิจารณาวัตถุตรงหนา แลวลองปายตามลักษณะของวัตถุนน และแตะบางสวนโดยเร็ว
                                                      ั้
พยายามเปลียนลีลาการปายเสมอ
          ่

4.ลองเปลี่ยนสีเสมอๆ โปรดคํานึงเสมอวา กําลังทดลองวิธการแบบแหงบนแหง อาจเตรียม
                                                    ี
กระดาษทีมีลักษณะผิวตางๆ กัน แลวปาย และแตะ คลายๆ บนกระดาษแตละชนิดนั้น สังเกตดู
        ่
ความแตกตางของผลที่เกิดขึน
                         ้

       การประเมินผลเทคนิคการผสม

1.  ภาพที่เกิดขึนมีลักษณะคลายวัตถุหรือไม และใหความรูสึกเด็ดขาด รุนแรง มากนอยเพียงใด
                ้
เมื่อเทียบกับวิธการระบายแบบอืนๆที่ผานมา
                  ี           ่

2.   ภาพที่เกิดขึนแสดงใหเห็นลักษณะผิวของกระดาษเดนชัดหรือไม
                 ้

3.ภาพทีเกิดจากการผสมนี้ ทานคิดวาจะนําเอาไปใชประโยชนเสริมวิธีการระบายสีไดมากนอย
        ่
เพียงใด
ระบายบนระนาบรองรับ




    เทคนิคการระบายสีทง 3 ประเภท ดังกลาวไปแลว เปนการระบายบนกระดาษวาดเขียน
                          ั้
 และกระดาษตางชนิดกัน ไมไดปรุงแตงลักษณะผิวแตอยางใด สําหรับการระบายบนระน
                                                                   การระบายบนระนาบ
    รองรับที่เตรียมไว เปนการปรุงแตงลักษณะผิวกระดาษใหแตกตางไปจากเดิม เพื่อผลที่
    แปลกและนาสนใจกวา นอกจากนียังชวยสนองความตองการของผูสนใจสีน้ําที่ตองการ
                                      ้
ถายทอดรูปแบบ วัตถุใหคลายกับสิ่งที่มองเห็นหรือตองการสรางสรรครูปแบบใหตางไปจาก
                                                                          เดิมอีกดวย

                      การระบายระนาบรองรับที่เตรียมไว มีเทคนิคที่สําคัญ 3 ประการ คือ
การขูดเขียน ขีด ถู กระดาษวาดเขียน *****
                              ยน
1. เตรียมกระดาษวาดเขียน ขึงบนกระดานรองเขียน สี วัตถุไมแหลมและคมจนเกินไป กระดาษ
ทรายละเอียดและหยาบ



2. ใชกระดาษทรายหยาบละละเอียดถูบนกระดาษวาดเขียนอยางละแหง ตองระวังอยาถูแรง
กระดาษจะขาด แลวใชสีน้ําระบายทับบริเวณที่ถูกระดาษทรายหยาบและละเอียดนัน พยายาม
                                                                      ้
ระบายใหคาบเกียวกับบริเวณกระดาษที่ไมไดถูกกระดาษทราย แลวสังเกตความแตกตาง
              ่




 3. ใชของมีคมปานกลาง ขึด กระดาษวาดเขียน ระวังอยากดแรงกระดาษจะขาด เมื่อขูดขีดแลว
ระบายสีน้ําทับ สังเกตุความแตกตาง และขณะที่สียงเปยกอยู ลองขูด ขีดดูดวยวามีลักษณะที่ตาง
                                              ั
กวาที่ขดไวกอนระบายหรือไม
        ี

 4. ใชสีเทียนสีขาวหรือน้ามันพืช ระบายบนกระดาษวาดเขียนใหเปนเสน แสวระบายสีนาทับ
                         ํ                                                    ้ํ
สังเกตุดูความแตกตางกับระบายสีบนกระดาษธรรมดา

5. ระบายสีน้ําบนกระดาษขณะที่เปยกอยูใชเสนไมบรรทัดขูดขีด ดูวาไดลกษณะตางไปจากเดิม
                                                                   ั
หรือไม
การประเมินผลเทคนิคการขูดเขียน ขีด ถูกระดาษ


1. บริเวณที่ถูดวยกระดาษทรายหยาบและละเอียด ใหน้ําหนักสีตางกวาบริเวณที่ระบายสีโดยไมถู
                                                         
ดวยกระดาษทรายหรือไม และขณะระบายรูสึกหรือไมวา ระบายยากกวากระดาษธรรมดา เพราะมี
                                    
ความฝดมากกวา

2. บริเวณที่ขูดดวยวัสดุมีน้ําหนักออนกวาหรือแกกวาบริเวณที่ไมไดบูด ( กระดาษสําหรับศิลปนทีมี
                                                                                               ่
ความหนา เวลาขูดแลวจะไดสีออนกวาเสมอ )
                                 

3. ภาพทีเกิดจากการระบายสีเทียนกอนหรือน้ามันพืชกอน มีลกษณะเหมือนกันหรือตางกันอยางไร
        ่                                ํ              ั
และภาพที่ขูดดวยไมบรรทัดขณะที่สยังเปยกอยูมีลักษณะอยางไร
                                ี

4. เทคนิคตางๆเหลานี้ ทานสามารถสรางสรรครูปวัตถุ สิงของ หรือถายทอดโลกภายนอกได
                                                      ่
หรือไม และหากผสมกันดวยเทคนิคตางๆนันจะเกิดผลอยางไร
                                       ้
การผสมผสานดวยวัสดุตางๆ *****




 1. เตรียมกระดาษวาดเขียน ขึงบนกระดานรองเขียนใหพรอม สี น้ํา พูกันระบายสี น้าตาล เกลือ
                                                                           ํ
เหลาโรง หรือแอลกอฮอล

 2. ระบายสีบนกระดาษใหมีขนาดพอควรตามวิธีเปยกบนแหง โดยใชสี แก ขณะที่สยังเปยกอยู
                                                                              ี
บริเวณหนึงใชเกลือโรย อีกบริเวณหนึงใชน้ําตาลโรย สังเกตดูปฏิกริยาทีเกิดขึ้น >
         ่                        ่                          ิ     ่
3.   ระบายสีบนกระดาษตามวิธที่ 2 ขณะที่สยังเปยกอยูจุมเหลาแลวระบายทับบนสีสังเกตุดูปฏิกิริยา
                           ี            ี
                                             ที่เกิดขึน
                                                      ้



4.ปดกระดาษเขียนบางสวน ดวยกระดาษวาวหรือกระดาษสา ใชกาวทีไมละลายน้า เมือกระดาษ
                                                             ่        ํ   ่
แหงแลวระบายสี ทังกระดาษวาดเขียน และกระดาษสีที่ปดทับ สังเกตดูความแตกตางของกระดาษ
                  ้



5. อาจดําเนินตามวิธีที่ 3 หรือวิธีที่ 4 ก็ได ขณะที่สียงเปยกอยูสามารถใชเครื่องเปาผม ชวยใหแหง
                                                       ั        
เร็วขึน หรือใชความรอนรูปแบบตางๆ อบดู สังเกตดูวา สีที่ระบายไปนันความเขมเปลี่ยนไปหรือไม
      ้                                                              ้
การประเมินผลเทคนิคการผสมผสานดวยวัสดุตางๆ

1. ภาพที่เกิดขึนจากการโรยน้ําตาล และโรยเกลือปน มีลกษณะคลายกันหรือตางกันหรือไม และ
               ้                                     ั
ทานคิดวาลักษณะทีเกิดขึนนี้คลายกับสิ่งตางๆในโลกภายนอกทีทานเคยเห็นมาหรือไม
                   ่    ้      ายกั                       ่ 

2. ภาพที่เกิดจากการระบายเหลาทับลงไป ใหความรูสกแกทานอยางไรบาง และคิดวาจะนําไปใช
                                                ึ   ท
ระบายอะไรไดบาง

3.ภาพระบายสีที่เกิดจากการปะติดดวยกระดาษตางชนิดกัน ใหความสนใจมากนอยเพียงใด ทาน
เคยเห็นภาพปะติดอยางนี้มากอนบางหรือไม

4.ภาพที่อบดวยความรอน ดวยการตากแดด และโดยการใชเครืองเปาผม ทานเห็นแลวรูสึก
                                     และโดยการใช ่                         
อยางไร และคิดวาสามารถพัฒนาใหแปลกไปจากนี้ไดหรือไม

       เทคนิคในการระบายบนระนาบรองรับที่เตรียมไว ดังกลาว โดยสรุปทั้ง 3 ประการนี้ ทาน
สามารถพลิกแพลงทําตามเทคนิคตางๆไดอกมา เพราะเทคนิคตางๆนันยอมไดผลตางกัน ทั้งนี้
                                          ี                       ้
เพราะเงื่อนไขตางๆ เปนตนวา สวนผสมหรือระยะเวลาที่ทาและเนื่องจากเทคนิคในการระบายสีน้ํา
                                                      ํ
มีความสําคัญทีทานจะตองทดลองฝกฝนจนสามารถคุมเทคนิคตางๆ ได ดังนั้น การท
               ่                                                        การทดลองเทคนิค
แตละครั้ง ตองสังเกตความเปลี่ยนแปลงและความเปนไปไดอยางตั้งใจ ขณะเดียวกันก็คดหาทาง
                     ความเปลี นแปลงและความเป                                 ิ
ปรับปรุงเทคนิคเหลานั้นเพื่อการระบายสีน้ําของทานจะไดพัฒนายิ่งขึ้น
เทคนิคสีน้ำ

More Related Content

What's hot

วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์
kwanboonpaitoon
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
peter dontoom
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
mayureesongnoo
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
Jariya Jaiyot
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
maethaya
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร
Patcharida Nun'wchph
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
พิพัฒน์ ตะภา
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
peter dontoom
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
Ocean'Funny Haha
 

What's hot (20)

ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 

เทคนิคสีน้ำ

  • 1. ใบความรู เทคนิค / วิธีการระบายสีน้ํา ----- เปยกบนเปยก การระบายสีแบบเปยกบนเปยก หมายถึง การระบายน้ําลงบนกระดาษกอนแลวจึงระบายสีตามที่ตองการลงไป การระบายแบบเปยกบนเปยกนี้ จะชวยใหทานระบายสีติดบนกระดาษทุกสวน เพราะกระดาษบางชนิดระบายสีติด ยาก เนื่องจากมีความมันหรือความหยาบขรุขระ การระบายแบบเปยกบนเปยก มีประโยชนมากเมื่อจะระบายทองฟา หรือผิววัตถุที่มีมัน เพราะจะใหความรูสึก กลมกลืนของสีเดนชัด เทคนิคของการระบายแบบเปยกบนเปยกที่สําคัญมี 2 ประการ คือ 1.การไหลซึม 2.การ ไหลยอย
  • 2. 1.การไหลซึม วิธีระบายเทคนิคการไหลซึม 1. เตรียมกระดาษที่ขึงบนกระดานรองเขียน สี น้ํา พูกัน และผาเช็ดไวใหพรอม 2. วางกระดานรองเขียนใหทํามุมกับพื้น 15 องศา แลวใชพูกันขนาดใหญ จุมน้ําระบายบนกระดาษวาดเขียน จากนั้นจึงใชพูกันจุมสี แลวระบายลงไป ขณะที่กระดาษยังเปยกน้ําอยู เมื่อระบายสีแรกจนพอใจแลว ลางพูกัน จุมสี อื่นระบายใกลกับสีแรกเปลี่ยนสีอื่นและระบายอยางเดียวกัน ประมาณ 4 – 5 สี 3. ขณะที่ระบายควรสังเกตดูการไหลซึมของสีที่ระบายนั้น จะพบวาบางสีมีลักษณะรุกรานสีอื่น และบางสีก็ไม รุกรานสีอื่น ควรจดจําสีที่รกรานและไมรุกรานไว ุ 4. ลองระบายตามวิธีนี้อีก แตคราวนี้กําหนดใหแนวาจะใชกลุมสีอุน หรือกลุมสีเย็น  ( Cool or Warm Tone ) แลวสังเกตความไหลซึมของสี การประเมินผลการทดลองการไหลซึม 1.ภาพระบายสีน้ําแสดงความชุม ความซึมของสีแตละสีหรือไม 2.เมื่อระบายเสร็จ ทิ้งใหแหงแลวเกิดมีคราบสีหรือไม 3.ในกระดาษที่ระบายสีอนหรือสีเย็นแตละประเภท สังเกตเห็นวามีความรูสึกอุน หรือเย็นหรือไมอยางไร ุ 4.เทคนิคการไหลซึมอาจจะนําไปใชระบายวัตถุอะไรไดบาง
  • 3. 2.การไหลยอย วิธีระบายเทคนิคการไหลยอย 1. เตรียมกระดาษที่ขึงบนกระดานรองเขียน สี น้ํา พูกัน และผาเช็ดไวใหพรอม 2. วางกระดานรองเขียนใหทํามุม 15 องศากับพื้น แลวใชพูกันขนาดใหญระบายน้ําบนกระดาษวาดเขียน ควร ระบายใหทั่วกระดาษ จากนั้นใหใชสีที่มีน้ําหนักแกระบายจากซายไปขวาตอไปเรื่อยๆ จนเกือบทั่วแผนกระดาษ 3. ปรับความเอียงของกระดานรองเขียนใหทํามุมกับพื้น 85 องศา แลวใชพูกันจุมสีออนระบายบนสุดของกระดาษ  พยายามใหพูกันมีสีและน้ํามากๆ เมื่อระบายแลว สังเกตดูวาสีไหลยอยทันทีหรือไม 4. ถาสีออนที่ระบายทับทีหลังไมออนเทาที่ควร ก็ใหระบายดวยน้ําเปลาแทน 5. ลองระบายสลับกันโดยระบายสีออนในชิ้นแรก เมือกระดานเอียง 15 องศา แลวระบายสีแก เมื่อกระดานเอียง 85 ่ องศากับพื้นสังเกตดูความแตกตาง การประเมินผลการทดลองการไหลยอย 1.ภาพแสดงสีน้ําแสดงความชุม ความไหลยอยของสีออนหรือสีแก 2.ปริมาณของน้ําและสี พอดีกับบริเวณวางที่ระบายหรือไม 3.เมื่อกลับหัวดูใหความรูสึกเหมือนกันหรือตางกันกับตอนที่ระบายหรือไม 4.เทคนิคการไหลยอยนี้สามารถนําไปถายทอดธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมอะไรไดบาง จะเอาไปใชถายทอดน้ําตกไดหรือไม
  • 4. F การระบายแบบเปยกบนแหง หมายถึง การระบายสีบนกระดาษที่ไมตองลงน้ากอน คําวา ํ เปยก คือ พูกนกับสี สวนแหง คือ แผนกระดาษ การระบายแบบเปยกบนแหง เปนวิธีระบายทั่วไป  ั ซึ่งมีเทคนิคที่สําคัญอยู 3 ประการ คือ 1.ระบายเรียบสีเดียว 2.ระบายสีออนแกเรียบสีเดียว 3.ระบายเรียบหลายสี 3.
  • 5. 1.การระบายเรียบสีเดียว วิธีการระบายเรียบสีเดียว เตรียมกระดาษที่ขงบนกระดานรองเขียน สี น้ํา พูกัน และผาเช็ดไวใหพรอม ึ  วางกระดานรองเขียนใหทํามุมกับพืนที่ 15 องศา แลวใชพูกนจุมสีที่ตองการระบายผสมกับน้ํา กะ ้ ั ใหพอกับบริเวณวางทีตองการระบายประมาณ 3” x 6” พยายามผสม ่ สีใหเขากับน้า แลวจึงระบายบนพื้นที่ 3” x 6” นั้น ํ
  • 6. ขณะระบายใหระบายชาๆ โดยเริ่มจากทางดานซายมือมาทางขวามือ คลายกับการเขียนหนังสือ ระบายตามแนวนอน และใหมีน้ํากองอยูบนกระดาษมากๆ เพือที่จะไดระบายตอไปสะดวก ระบาย ่ ตอกัน จนทั่วบริเวณรองรับขนาด 3”x 6” ขณะระบายอยาเอาพูกันที่จุมสีแลวไปจุมน้าเปนอันขาด เพราะจะทําใหน้ําหนักทีผสมไวแลวออน  ํ ่ ลง จงใชเฉพาะพูกันจุมสีที่ผสมสีไวแลวเทานั้นระบายติดตอกัน   การประเมินผลการทดลองการระบายเรียบสีเดียว 1.ภาพที่ระบายมีสีเรียบ น้ําหนักเทากันทั้งบริเวณ 3” x 6” หรือไม 2.ขณะที่ระบายสีน้ําบนกระดาษเฉลี่ยเทาๆกันหรือไม และสีนาไหลลงมาเปนแนวดิ่งหรือไม ้ํ 3.สีน้ําที่ระบายนอกจากจะแสดงความเรียบแลว แสดงลักษณะโปรงใส อันเปนคุณสมบัตของสีนา ิ ้ํ หรือไม 4.การระบายสีเดียว สามารถนําไปใชถายทอดธรรมชาติ หรือวัตถุตางๆอะไรไดบาง
  • 7. 2.การระบายออนแกเรียบสีเดียว วิธีการระบายออนแกเรียบสีเดียว เตรียมกระดาษที่ขงบนกระดานรองเขียน สี น้ํา พูกัน และผาเช็ดไวใหพรอม ึ  วางกระดานรองเขียนทํามุม 15 องศา กับพืน แลวระบายแบบเรียบสีเดียว โดยใหมนาหนักออน ้ ี ้ํ แก เมือระบายไปไดพนที่จานวนหนึ่งแลว ผสมสีใหแก แลว ระบายตอ >>> ่ ื้ ํ
  • 8. ระบายน้ําหนักแกเพิ่มขึ้นเรือยๆ จนไดความแตกตางหลายๆน้าหนัก ่ ํ ระบายน้ําหนักแกเพิ่มขึ้นเรือยๆ จนไดความแตกตางหลายๆน้าหนัก ระบายสีแกกอน ่ ํ  แลวผสมออนระบายตอตามวิธีระบายเรียบ โดยใหเห็นน้าหนักของสีจากแกมาหาออน ํ การประเมินผลการระบายออนแกเรียบสีเดียว 1.ภาพที่ระบายตามวิธีนี้ แสดงใหเห็นความกลมกลืนของน้าหนักออนแกของสีหรือไม ํ 2.ภาพที่ระบายแสดงคุณสมบัติของสีน้ํา คือความโปรงใสหรือไม 3.การระบายสีเรียบออนแกนี้ สามารถนําไปใชระบายธรรมชาติ หรือสิ่งแวดลอมอะไรไดบาง 4.ถาจะลองสรางภาพเหลี่ยมงายๆ แลวระบายสีตามวิธการนี้ ทานคิดวาจะมีปญหาอะไร เกิดขึ้น ี บาง
  • 9. 3.การระบายเรียบหลายสี วิธีการระบายเรียบหลายสี 1. เตรียมกระดาษทีขงบนกระดานรองเขียน สี น้ํา พูกัน และผาเช็ดไวใหพรอม ่ ึ  2. เตรียมกระดาษทีขงบนกระดานรองเขียน สี น้ํา พูกัน และอุปกรณที่จําเปนไวใหพรอม ่ ึ  3. วางกระดานรองเขียนใหทํามุมกับพื้น 15 องศา แลวใชพกันจุมสี ผสมสีใหพอกับบริเวณทีวางที่ ู ่ จะระบาย แลวระบายบนบริเวณกระดาษที่ตองการ  4. ผสมสีอนระบายตอจากสีที่ระบายแลวครั้งแรก พยายามระบายใหตอเนืองกัน ื่ ่ 5.ผสมสีอื่นๆ อีกแลวระบายตอ อาจจะระบายเปนกลุมสีอนหรือกลุมสีเย็น พยายาม ระบายใหมีเนือ  ุ  ้ ที่ของสีตางๆ แลวพิจารณาดูความกลมกลืนและการไหลของแตและสีดวย  การประเมินผลการระบายเรียบหลายสี 1.สีที่ละบายแตละสีนนเมือซึมเขาหากันแลวเกิดเปนสีใหมหรือไม ั้ ่ 2.สีที่ระบายสีมีลักษณะโปรงใส ลักษณะเรียบตามที่ตองการหรือไม และสีใดที่รูสึกวาหมนลง หรือ  แสดงวาไมสดใส 3.การระบายสีแบบนี้ สามารถนําไปใชในการถายทอดรูปแบบธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอะไร ที่ คาดวาเหมาะสมที่สุด 4.ทานจงสังเกตดูวา สีที่ระบายสีใดที่ทานชอบและระบายงายที่สด  ุ การระบายสีแบบเปยกบนแหง ทัง 3 วิธีดงที่เสนอแนะมานี้ ถือเปนเทคนิคพืนฐานที่ผูสนใจ ้ ั ้ สีน้ําทั้งหลายจะตองระบายใหไดกอน จากนันก็สามารถพลิกแพลง ผสมผสานกับการระบายแบบ  ้ อื่นๆได
  • 10. แหงบนแหง การระบายแบบแหงบนแหง หมายถึง การระบายสีที่ใชพกนจุมสีนอย แลวระบาย ู ั อยางรวดเร็วบนกระดาษ การระบายสีแบบนี้ ผูระบายมักจะบันทึกความรูสกของตนลงไป ึ ในขณะระบายดวย การระบายแบบแหงบนแหง มีประโยชนในการที่จะเนนสวนใดสวนหนึ่ง หรือ บริเวณที่เห็นวา ควรทําใหเดนได บางทานก็ใหความเห็นวา ผลอันเกิดจากการระบาย แหงบนแหง คลายกับการเขียนชวเลข หรือการสงโทรเลข กลาวคือ มีขอความสั้นๆ ชัดเจน กะทัดรัด และรวดเร็ว การระบายแบบแหงบนแหง มีเทคนิคที่สําคัญอยู 3 ประการ 1. การแตะ 2. การปาย 3. เทคนิคผสม
  • 11. การแตะ วิธีระบายเทคนิคการแตะ 1. เตรียมกระดาษปรุฟไวหลายๆ แผน ปดเทปตอนบนกับกระดานรองเขียนไวพรอม  2. วางกระดานรองเขียนทํามุมกับพื้น 15 องศา แลวใชพกนจุมสีทตองการแตะลงบนกระดาษ ู ั ี่ พยายามแตะตามแนวนอนตามลําดับ โดยเวนชองหางกัน และชิดกันตามตองการ 3.พลิกแพลงวิธีแตะใหแปลกใหแปลกไปจากทีไดทําไปแลว และขณะแตะ ควรนึกอยูเสมดวา ่ ภาพที่เกิดอาจดูเปนรูปอะไรไดบาง เปลี่ยนสี และเปลียนพูกน ตามที่เห็นวานาสนใจและเหมาะสม  ่ ั 4. ขณะระบายอยาเอาพูกนที่จุมสีแลวไปจุมน้ําเปนอันขาด เพราะจะทําใหน้ําหนักที่ผสมไวแลว ั ออนลง จงใชเฉพาะพูกันจุมสีที่ผสมสีไวแลวเทานันระบายติดตอกัน  ้ การประเมินผลเทคนิคการแตะ 1.ภาพที่เกิดจากการแตะนั้นมีลกษณะคลายกันหรือไม ั และแสดงความรูสกวาซ้ําๆ กันจนนาเบือ ึ ่ หรือไม 2.ภาพทีเกิดจากพูกนนิดเดียวกัน ่ ั และพูกันตางชนิดกัน มีลักษณะคลายกันหรือตางกัน  3.ภาพที่เกิดจากการแตะ สามารถนําไปออกแบบเปนรูปแบบอะไรไดและคลายกับการพิมพหรือไม 4.ถาจะลองออกแบบโดยใชวิธการแตะนี้ ทานคิดวามีปญหาอะไร เกิดขึนบา ี ้
  • 12. การปาย วิธีระบายเทคนิคการปาย 1. เตรียมกระดาษปรุฟไวหลายๆ แผน ปดเทปตอนบนกับกระดานรองเขียนไวพรอม  2. วางกระดานรองเขียนทํามุมกับพื้น 15 องศา แลวใชพูกนจุมสีที่ตองการปายครังเดียวจะปาน ั ้ ตรง เฉียง หรือ โคง ก็ได อยาจุมสีใหชุมเกินไปนัก คะเนวาปายทีเดียวสีตดกระดาษหมดพอดี ิ 3. ปายซ้าๆ กันใหมีลกษณะตอเนื่องกันในทิศทางเดียวกัน และพลิกแพลงพูกนตามความ ํ ั  ั เหมาะสม 4. ทดลองปายบนกระดาษที่มีผวหยาบ ิ และผิวกระดาษตางๆกัน สังเกตดูความแตกตาง รวมทั้ง ลองเปลียนพูกนดวย ่ ั การประเมินผลเทคนิคการปาย 1. ภาพเสนที่เกิดขึ้นนั้น มีลกษณะคลายลายเซ็นหรืไม และแสดงความรูสึกเร็วมากนอยเพียงใด ั 2. ภาพทีเกิดจากพูกนชนิดเดียวกันและตางชนิดกัน มีลกษณะเหมือนกันหรือตางกัน ่ ั ั 3. ภาพทีเกิดขึนนัน สามารถนําไปออกแบบเปนภาพอะไรไดบางและลีลาที่เกิดขึนสอดคลองกับ ่ ้ ้  ้ ความรูสกที่ตองการแสดงออกหรือไม ึ  4.ถาจะลองปายใหเปนภาพลวดลาย ทานคิดวาจะมีปญหาอะไรเกิดขึ้นบาง
  • 13. เทคนิคผสม วิธีระบายเทคนิคการผสม 1.เตรียมกระดาษวาดเขียนตามทีทานเห็นวาเหมาะสม จากการแตะ และการปาย ที่ทานเคย ่ ทดลองไปแลว ติดบนกระดาษรองเขียนใหเรียบรอย 2. วางกระดานรองเขียนทํามุมกับพื้น 15 องศา และใชพูกนจุมสีทตองการแตะลงบนกระดาษ และ ั ี่ ปายสลับกันไปในทิศทางเดียวกัน 3.อาจพิจารณาวัตถุตรงหนา แลวลองปายตามลักษณะของวัตถุนน และแตะบางสวนโดยเร็ว ั้ พยายามเปลียนลีลาการปายเสมอ ่ 4.ลองเปลี่ยนสีเสมอๆ โปรดคํานึงเสมอวา กําลังทดลองวิธการแบบแหงบนแหง อาจเตรียม ี กระดาษทีมีลักษณะผิวตางๆ กัน แลวปาย และแตะ คลายๆ บนกระดาษแตละชนิดนั้น สังเกตดู ่ ความแตกตางของผลที่เกิดขึน ้ การประเมินผลเทคนิคการผสม 1. ภาพที่เกิดขึนมีลักษณะคลายวัตถุหรือไม และใหความรูสึกเด็ดขาด รุนแรง มากนอยเพียงใด ้ เมื่อเทียบกับวิธการระบายแบบอืนๆที่ผานมา ี ่ 2. ภาพที่เกิดขึนแสดงใหเห็นลักษณะผิวของกระดาษเดนชัดหรือไม ้ 3.ภาพทีเกิดจากการผสมนี้ ทานคิดวาจะนําเอาไปใชประโยชนเสริมวิธีการระบายสีไดมากนอย ่ เพียงใด
  • 14. ระบายบนระนาบรองรับ เทคนิคการระบายสีทง 3 ประเภท ดังกลาวไปแลว เปนการระบายบนกระดาษวาดเขียน ั้ และกระดาษตางชนิดกัน ไมไดปรุงแตงลักษณะผิวแตอยางใด สําหรับการระบายบนระน การระบายบนระนาบ รองรับที่เตรียมไว เปนการปรุงแตงลักษณะผิวกระดาษใหแตกตางไปจากเดิม เพื่อผลที่ แปลกและนาสนใจกวา นอกจากนียังชวยสนองความตองการของผูสนใจสีน้ําที่ตองการ ้ ถายทอดรูปแบบ วัตถุใหคลายกับสิ่งที่มองเห็นหรือตองการสรางสรรครูปแบบใหตางไปจาก เดิมอีกดวย การระบายระนาบรองรับที่เตรียมไว มีเทคนิคที่สําคัญ 3 ประการ คือ
  • 15. การขูดเขียน ขีด ถู กระดาษวาดเขียน ***** ยน
  • 16. 1. เตรียมกระดาษวาดเขียน ขึงบนกระดานรองเขียน สี วัตถุไมแหลมและคมจนเกินไป กระดาษ ทรายละเอียดและหยาบ 2. ใชกระดาษทรายหยาบละละเอียดถูบนกระดาษวาดเขียนอยางละแหง ตองระวังอยาถูแรง กระดาษจะขาด แลวใชสีน้ําระบายทับบริเวณที่ถูกระดาษทรายหยาบและละเอียดนัน พยายาม ้ ระบายใหคาบเกียวกับบริเวณกระดาษที่ไมไดถูกกระดาษทราย แลวสังเกตความแตกตาง ่ 3. ใชของมีคมปานกลาง ขึด กระดาษวาดเขียน ระวังอยากดแรงกระดาษจะขาด เมื่อขูดขีดแลว ระบายสีน้ําทับ สังเกตุความแตกตาง และขณะที่สียงเปยกอยู ลองขูด ขีดดูดวยวามีลักษณะที่ตาง ั กวาที่ขดไวกอนระบายหรือไม ี 4. ใชสีเทียนสีขาวหรือน้ามันพืช ระบายบนกระดาษวาดเขียนใหเปนเสน แสวระบายสีนาทับ ํ ้ํ สังเกตุดูความแตกตางกับระบายสีบนกระดาษธรรมดา 5. ระบายสีน้ําบนกระดาษขณะที่เปยกอยูใชเสนไมบรรทัดขูดขีด ดูวาไดลกษณะตางไปจากเดิม  ั หรือไม
  • 17. การประเมินผลเทคนิคการขูดเขียน ขีด ถูกระดาษ 1. บริเวณที่ถูดวยกระดาษทรายหยาบและละเอียด ใหน้ําหนักสีตางกวาบริเวณที่ระบายสีโดยไมถู  ดวยกระดาษทรายหรือไม และขณะระบายรูสึกหรือไมวา ระบายยากกวากระดาษธรรมดา เพราะมี  ความฝดมากกวา 2. บริเวณที่ขูดดวยวัสดุมีน้ําหนักออนกวาหรือแกกวาบริเวณที่ไมไดบูด ( กระดาษสําหรับศิลปนทีมี ่ ความหนา เวลาขูดแลวจะไดสีออนกวาเสมอ )  3. ภาพทีเกิดจากการระบายสีเทียนกอนหรือน้ามันพืชกอน มีลกษณะเหมือนกันหรือตางกันอยางไร ่ ํ ั และภาพที่ขูดดวยไมบรรทัดขณะที่สยังเปยกอยูมีลักษณะอยางไร ี 4. เทคนิคตางๆเหลานี้ ทานสามารถสรางสรรครูปวัตถุ สิงของ หรือถายทอดโลกภายนอกได ่ หรือไม และหากผสมกันดวยเทคนิคตางๆนันจะเกิดผลอยางไร ้
  • 18. การผสมผสานดวยวัสดุตางๆ ***** 1. เตรียมกระดาษวาดเขียน ขึงบนกระดานรองเขียนใหพรอม สี น้ํา พูกันระบายสี น้าตาล เกลือ  ํ เหลาโรง หรือแอลกอฮอล 2. ระบายสีบนกระดาษใหมีขนาดพอควรตามวิธีเปยกบนแหง โดยใชสี แก ขณะที่สยังเปยกอยู ี บริเวณหนึงใชเกลือโรย อีกบริเวณหนึงใชน้ําตาลโรย สังเกตดูปฏิกริยาทีเกิดขึ้น > ่ ่ ิ ่
  • 19. 3. ระบายสีบนกระดาษตามวิธที่ 2 ขณะที่สยังเปยกอยูจุมเหลาแลวระบายทับบนสีสังเกตุดูปฏิกิริยา ี ี ที่เกิดขึน ้ 4.ปดกระดาษเขียนบางสวน ดวยกระดาษวาวหรือกระดาษสา ใชกาวทีไมละลายน้า เมือกระดาษ ่ ํ ่ แหงแลวระบายสี ทังกระดาษวาดเขียน และกระดาษสีที่ปดทับ สังเกตดูความแตกตางของกระดาษ ้ 5. อาจดําเนินตามวิธีที่ 3 หรือวิธีที่ 4 ก็ได ขณะที่สียงเปยกอยูสามารถใชเครื่องเปาผม ชวยใหแหง ั  เร็วขึน หรือใชความรอนรูปแบบตางๆ อบดู สังเกตดูวา สีที่ระบายไปนันความเขมเปลี่ยนไปหรือไม ้  ้
  • 20. การประเมินผลเทคนิคการผสมผสานดวยวัสดุตางๆ 1. ภาพที่เกิดขึนจากการโรยน้ําตาล และโรยเกลือปน มีลกษณะคลายกันหรือตางกันหรือไม และ ้ ั ทานคิดวาลักษณะทีเกิดขึนนี้คลายกับสิ่งตางๆในโลกภายนอกทีทานเคยเห็นมาหรือไม ่ ้ ายกั ่  2. ภาพที่เกิดจากการระบายเหลาทับลงไป ใหความรูสกแกทานอยางไรบาง และคิดวาจะนําไปใช ึ ท ระบายอะไรไดบาง 3.ภาพระบายสีที่เกิดจากการปะติดดวยกระดาษตางชนิดกัน ใหความสนใจมากนอยเพียงใด ทาน เคยเห็นภาพปะติดอยางนี้มากอนบางหรือไม 4.ภาพที่อบดวยความรอน ดวยการตากแดด และโดยการใชเครืองเปาผม ทานเห็นแลวรูสึก และโดยการใช ่  อยางไร และคิดวาสามารถพัฒนาใหแปลกไปจากนี้ไดหรือไม เทคนิคในการระบายบนระนาบรองรับที่เตรียมไว ดังกลาว โดยสรุปทั้ง 3 ประการนี้ ทาน สามารถพลิกแพลงทําตามเทคนิคตางๆไดอกมา เพราะเทคนิคตางๆนันยอมไดผลตางกัน ทั้งนี้ ี ้ เพราะเงื่อนไขตางๆ เปนตนวา สวนผสมหรือระยะเวลาที่ทาและเนื่องจากเทคนิคในการระบายสีน้ํา ํ มีความสําคัญทีทานจะตองทดลองฝกฝนจนสามารถคุมเทคนิคตางๆ ได ดังนั้น การท ่ การทดลองเทคนิค แตละครั้ง ตองสังเกตความเปลี่ยนแปลงและความเปนไปไดอยางตั้งใจ ขณะเดียวกันก็คดหาทาง ความเปลี นแปลงและความเป ิ ปรับปรุงเทคนิคเหลานั้นเพื่อการระบายสีน้ําของทานจะไดพัฒนายิ่งขึ้น