SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
รายงาน
เรื่อง ประติมากรรมไทย
จัดทาโดย
นายบดีพล ดวงรัศมี ชั้นม.6/3 เลขที่
6
นายเศรษฐณัฐ นามโครต ชั้นม.6/3
เลขที่ 13
นายอภิชัย เวทสรณสุธี ชั้นม.6/3 เลขที่
16
นางสาวคริษฐา จอห์นสตัน ชั้นม.6/3 เลขที่
21
นางสาวพิมลพรรณ วัฒนสุภานันต์ ชั้นม.6/3
เลขที่ 25
นางสาวสุชนาถ คล ้ายสุวรรณ ชั้นม.6/3
เลขที่ 29
เสนอ
ครูเทวารัตน์ สุธาพจน์
โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี
คานา
งานประติมากรรมไทยมีการคิดในเรื่องของการนาลวดลาย
มาใช ้เพื่อความสวยความ เพื่อสร ้างสัญลักษณ์ในทางความเชื่อ
ศาสนา ที่สัมพันธ์กับคนในสังคมของแต่ละยุคสมัย
โดยโครงสร ้างของลวดลายเหล่านั้นสามารถอธิบายให ้เห็นถึง
การเชื่อมโยงกับสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติรอบตัว
หรือการส่งต่อทางความรู ้ทางศิลปะที่มาพร ้อมกับความสัมพันธ์กั
บสังคมอื่นที่เกิดจากสังคมใดสังคมหนึ่งเปิดรับการถ่ายเทในการ
ติดต่อทางการค ้า การแลกเปลี่ยนสินค ้า ความรู ้ความเชื่อ
ศาสนา
หรือการอธิบายถึงการมีอิทธิพลจากรัฐใดรัฐหนึ่งอยู่เหนือกว่ารัฐ
เจ ้าของพื้นที่เดิม
นั่นหมายถึงตัวผลงานศิลปะนั้นไม่ใช่มาจากคนสร ้างในท ้องถิ่นเ
ท่านั้น แต่มันมาพร ้อมกับการรับอิทธิพลจากภายนอก
สารบัญ
เรื่อง
หน ้า
ความหมายของประติมากรรมไทย
1
ยุคสมัยของประติมากรรมไทย
2
ประเภทของประติมากรรม
3-4
อิทธิพลทางวัฒนธรรม
5
การอนุรักษ์งานประติมากรรม
6-7
ประเภทคือ ประติมากรรมรูปเคารพ ประติมากรรมตกแต่ง
และประติมากรรมเพื่อประโยชน์ใช ้สอย ซึ่งจะขอกล่าวตามลาดับ
๑. ช่วงศิลปะก่อนไทย
หมายถึงช่วงก่อนที่คนไทยจะรวมตัวกันเป็นปึกแผ่น ยังไม่มีราชธานี
ของตนเองที่แน่นอน แบ่งออกเป็น ๓ สมัยคือ
- สมัยทวารวดี
- สมัยศรีวิชัย
- สมัยลพบุรี
๒. ช่วงศิลปะไทย
หมายถึงช่วงที่คนไทยรวมตัวกันเป็นปึกแผ่นมีราชธานีที่แน่นอนแล้วแบ่ง
ออก เป็น ๕ สมัยคือ สมัยเชียงแสน สมัยสุโขทัย สมัยอู่ทอง
สมัยอยุธยา และสมัยรัตน-โกสินทร์ ประติมากรรมสมัยต่างๆ
ของไทยเหล่านี้ผ่านการหล่อหลอมและผสมผสานของวัฒนธรรม
โดยดั้งเดิมมีรากเหง ้ามาจากวัฒนธรรมอินเดีย
ต่อมาผสมผสานกับวัฒนธรรมจีนและชาติทางตะวันตก
แต่เป็นการผสมผสานด้วยความชาญฉลาดของช่างไทย
ประติมากรรมของไทยจึงยังคงรักษารูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์ของไทยไ
ว ้ได้อย่าง เด่นชัด
สามารถถ่ายทอดลักษณะความงดงามความประณีตวิจิตรบรรจง
และลักษณะของความเป็นชาติไทยที่รุ่งเรืองมาแต่โบราณให้โลกประจัก
ษ์ได้ พอจะกล่าวถึงประติมากรรมในช่วงศิลปะไทยได้ ดังนี้
- ประติมากรรมไทยสมัยเชียงแสน
- ประติมากรรมไทยสมัยสุโขทัย
- ประติมากรรมไทยสมัยอู่ทองและสมัยอยุธยา
- ประติมากรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย มีมานานตั้งแต่ที่คนไทยเริ่มตั้งถิ่นฐาน
เป็นเวลาร่วม 4,000 ปี
บรรพบุรุษไทยได้พัฒนาและปรับปรุงรูปแบบสถาปัตยกรรมอันเป็นสิ่งจา
เป็นต่อการดารงชีวิต เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ
สภาพภูมิประเทศ โดยเพิ่มเติมใส่เอกลักษณ์ความเป็นไทยเข้าไป
ซึ่งนับเป็นการแสดงออกความสามารถของบรรพบุรุษไทย
ประเภทของงานประติมากรรม
การสร้างงานประติมากรรมไทยตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน
สามารถจาแนกออกเป้นประเภทต่างๆ
ตามลักษณะของผลงานที่ปรากฏอยู่
โดยไม่จากัดว่าประติมากรรมเหล่านี้จะทาด้วย ปูน หิน ไม ้
หรือวัสดุทุกชนิดได้ และมีกรรมวิธีในการสร้างสรรค์อย่างไรก็ได้
แต่คานึงถึงรูปลักษณะของประติมากรรมเท่านั้น
การจาแนกประเภทของประติมากรรมลักษณะนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น
3 ประเภท คือ
1.ประติมากรรมแบบนูนต่า ( Bas Relief )
เป็นรูปที่เป็นนูนขึ้นมาจากพื้นหรือมีพื้นหลัง รองรับ
มองเห็นได้ชัดเจนเพียงด้านเดียว คือด้านหน ้า
มีความสูงจากพื้นไม่ถึงครึ่งหนึ่งของรูป จริง ได้แก่รูปนูนแบบเหรียญ
รูปนูนที่ใช ้ประดับตกแต่งภาชนะ หรือประดับตกแต่งอาคารทาง
สถาปัตยกรรม โบสถ์ วิหารต่างๆ พระเครื่องบางชนิด
2.ประติมากรรมแบบนูนสูง ( High Relief ) เป็นรูปต่าง ๆ
ในลักษณะเช่นเดียวกับแบบ นูนต่า
แต่มีความสูงจากพื้นตั้งแต่ครึ่งหนึ่งของรูปจริงขึ้นไป
ทาให้เห็นลวดลายที่ลึก ชัดเจน และ
และเหมือนจริงมากกว่าแบบนูนต่าและใช ้งานแบบเดียวกับแบบนูนต่า
3.ประติมากรรมแบบลอยตัว ( Round Relief ) เป็นรูปต่าง ๆ
ที่มองเห็นได้รอบด้านหรือ ตั้งแต่ 4 ด้านขึ้นไป ได้แก่ ภาชนะต่าง ๆ
รูปเคารพต่าง ๆ พระพุทธรูป เทวรูป รูปตามคตินิยม รูปบุคคลสาคัญ
รูปสัตว์ ฯลฯ
ประเภทประติมากรรม (Sculpture)
1. การปั้น (Casting) เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุ ทีเหนียว
อ่อนตัว และยึดจับตัว กันได้ดี วัสดุที่นิยมนามาใช ้ปั้น ได้แก่ ดินเหนียว
ดินน้ามัน ปูน แป้ง ขี้ผึ้ง กระดาษ หรือ ขี้เลื่อยผสมกาว เป็นต้น
2. การแกะสลัก (Carving) เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุที่ แข็ง
เปราะ โดยอาศัย เครื่องมือ วัสดุที่นิยมนามาแกะ ได้แก่ ไม ้ หิน กระจก
แก ้ว ปูนปลาสเตอร์ เป็นต้น
3. การหล่อ (Molding) เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ
จากวัสดุที่หลอมตัวได้และกลับแข็ง ตัวได้ โดยอาศัยแม่พิมพ์
ซึ่งสามารถทาให้เกิดผลงานที่เหมือนกันทุกประการตั้งแต่ 2 ชิ้น ขึ้นไป
วัสดุที่นิยมนามาใช ้หล่อ ได้แก่ โลหะ ปูน แป้ง แก ้ว ขี้ผึ้ง ดิน เรซิ่น
พลาสติก ฯลฯ รามะนา (ชิต เหรียญประชา)
4. การประกอบขึ้นรูป (Construction) เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ
โดยนาวัสดุต่าง ๆ มา ประกอบเข้าด้วยกัน และยึดติดกันด้วยวัสดุต่าง ๆ
การเลือกวิธีการสร้างสรรค์งานประติมากรรม ขึ้นอยู่กับวัสดุที่ต้องการใช ้
กร
อิทธิพลของศิลปวัฒนธรรมตะวันตกในประเทศไทย
นับจากรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ ้าอยู่หัว
ศิลปะไทยอยู่ในช่วงการปรับตัวระหว่างรูปแบบตามประเพณีนิยมกับศิลป
ะทางตะวันตกของยุโรป
แม ้ว่ายังมีการสร้างศิลปะตามแบบประเพณีนิยมอยู่บ ้างแต่ไม่มากเท่าตอ
นต้นสมัยรัตนโกสินทร์ ยิ่งในสมัยรัชกาลที่ 5
เมื่อเจ ้านายและขุนนางชั้นสูงออกไปศึกษาในประเทศตะวันตก
พระมหากษัตริย์เสด็จประพาสประเทศในเอเชียและประเทศทางยุโรป
รวมทั้งการจ ้างชาวตะวันตกที่เป็นสถาปนิก จิตรกร ประติมากร
และนักวิชาการทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์
เข้ามาทางานในเมืองไทย
ศิลปะแบบตะวันตกเริ่มฝังรากลงในสังคมและวัฒนธรรมไทย
ผลักดันให้เกิดการพัฒนาแนวความคิดและวิธีการแสดงรูปแบบทางศิลป
กรรมทุกด้าน
ด้านประติมากรรม
ตั้งแต่รัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา
ประติมากรรมที่สร้างขึ้นจะได้รับอิทธิพลศิลปะตะวันตก
แม ้แต่การปั้นพระพุทธรูปให้เหมือนมนุษย์ยิ่งขึ้น มีการหล่อ การปั้น
การแกะสลักพระพุทธรูปและรูปสัตว์สิงโต
มีการปั้นรูปแบบคนเหมือนจริงขึ้นเป็นรูปปั้นอนุสาวรีย์ของรัชกาลต่างๆ
งานประติมากรรมอื่นๆมักจะเป็นงานจาหลักหินอ่อนหรือหล่อสาริดส่งมา
จากยุโรป
ถือเป็นการเริ่มรับแบบอย่างการปั้นภาพเหมือนและอนุสาวรีย์ตะวันตก
การอนุรักษ์และการดูแลรักษางานประติมากรรม
งานประติมากรรมจะดึงดูดความสนใจของผู้ชมด้วยความเป็น 3 มิติ.
โดยธรรมชาติของงานประติมากรรมแล้ว
ต้องการการดูแลรักษาที่มีความพิเศษแตกต่างกันไป
วัสดุที่ใช ้และขนาดของงานเป็นส่วนหนึ่งของความหมายที่แสดงออก
-หินและโลหะ
เป็นวัสดุที่ใช ้บ่อยในการสร้างสรรค์งานประติมากรรม
เพราะสามารถหาได้ง่าย การถนอมรักษาควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
เพื่อหาวิธีดูแลและการทาความสะอาดที่เหมาะสม
รวมถึงการถือละการขนย้ายงาน
เพื่อให้งานประติมากรรมอยู่ในสภาพดีและคงสวยงามเหมือนเดิม
การดูแลรักษาและการจัดเก็บ
ประติมากรรมหิน
- ไม่ควรสัมผัสผลงานด้วยมือเปล่า ควรสวมถุงมือทุกครั้ง
- ทารายการระบุชนิดหินของงานนั้น ๆ เช่นหินอ่อนหรือหินเเกรนิต
- ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเรื่องการควบคุม แสงสว่าง อุณหภูมิ
และความชื้น
-
หมั่นทาความสะอาดปัดฝุ่นด้วยแปรงขนไก่และดูดฝุ่นด้วยหัวแบบมีขนแ
ปรงอ่อน ๆ ก็เพียงพอแล้ว
- งานประติมากรรมที่นิยมติดตั้งภายนอก
ควรย้ายมาติดตั้งภายในอาคารแทน
-
การเคลื่อนย้ายงานประติมากรรมขนาดเล็กๆในระยะทางใกล้ๆควรให้ควา
มระมัดระวังและคิดให้ดี
- ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเรื่องการหาวิธีทาความสะอาดที่ดีที่สุด
สาหรับประติมากรรมโลหะชนิดนั้น ๆ
-
การเคลื่อนย้ายงานประติมากรรมไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่ในระยะทางไก
ล ๆ ควรมีผุ้ช่วยหรือว่าจ ้างผู้เชี่ยวชาญในการขนย้ายงานศิลป
ประติมากรรมโลหะ
- ไม่ควรสัมผัสผลงานด้วยมือเปล่า ควรสวมถุงมือทุกครั้ง
- ทารายการระบุชนิดของโลหะนั้น ๆ
- ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเรื่องการควบคุม แสงสว่าง อุณหภูมิ
และความชื้น
- ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเรื่องการหาวิธีทาความสะอาดที่ดีที่สุด
สาหรับประติมากรรมโลหะชนิดนั้น ๆ
- งานประติมากรรมที่นิยมติดตั้งภายนอก
ควรย้ายมาติดตั้งภายในอาคารแทน
-
การเคลื่อนย้ายงานประติมากรรมขนาดเล็กๆในระยะทางใกล้ๆควรให้ควา
มระมัดระวังและคิดให้ดี
-
การเคลื่อนย้ายงานประติมากรรมไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่ในระยะทางไก
ล ๆ ควรมีผุ้ช่วยหรือว่าจ ้างผู้เชี่ยวชาญในการขนย้ายงานศิล
ทั้งประติมากรรมรูปเคารพ ประติมากรรมตกแต่ง
และประติมากรรมเพื่อประโยชน์ใช้สอยผูกพันกับความเปลี่ย
นแปลงของสังคมไทยตลอด มา
นอกจากจะแสดงคุณค่าทางทัศนศิลป์
แล้วยังสะท้อนวัฒนธรรมอันดีงามของชาติในแต่ละยุคแต่ละ
สมัยออกมาด้วย ยุคสมัยของไทยนั้น
อาจแบ่งช่วงศิลปะในเชิงประวัติศาสตร์ตามหลักฐานทางโบร
ประติมากรรมเป็นผลงานศิลปกรรมที่เป็นรูปทรง ๓มิติ
ประกอบจากความสูง ความกว้างและความนูน หรือความลึก
รูปทรงนี้มีปริมาตรที่จับต้องได้และกินระวางเนื้อที่ในอากาศ
ต่างจากรูปทรง
ปริมาตรทางจิตรกรรมที่แสดงบนพื้นเรียบเป็นปริมาตรที่ลวงตา
ประติมากรรมเกิดขึ้นจากกรรมวิธีการสร้างสรรค์แบบต่างๆ เช่น
การปั้นและหล่อการแกะสลัก การฉลุหรือดุน
ประติมากรรมทั่วไปมี ๓ แบบคือ ประติมากรรมแบบลอยตัว
สามารถดูได้โดยรอบ ประติมากรรมนูน
มีพื้นรองรับสามารถดูได้เฉพาะด้านหน้าและด้านเฉียงเท่านั้น
และประติมากรรมแบบเจาะลึกลงไปในพื้น
ประติมากรรมไทยเป็นผลงานการสร้างสรรค์ของบรรพบุรุษโดย
ประติมากรของไทยที่ สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อรับใช้สังคม
ตอบสนองความเชื่อสร้างความภูมิใจความพึงพอใจ
และค่านิยมแห่งชาติภูมิของไทย
ประติมากรรมไทยส่วนใหญ่เน้นเนื้อหาทางศาสนา
มักปรากฏอยู่ตามวัดและวัง มีขนาดตั้งแต่เล็กที่สุด เช่น
พระเครื่อง เครื่องรางของขลัง จนถึงขนาดใหญ่ที่สุด เช่น
พระอัจนะ หรือพระอัฏฐารส
ซึ่งเป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่กลางแปลง
มีทั้งประติมากรรมตกแต่ง ซึ่งตกแต่งศิลปวัตถุ ศิลปสถาน
เพื่อเสริมคุณค่าแก่ศิลปวัตถุหรือสถานที่นั้น
จนถึงประติมากรรมบริสุทธิ์ซึ่งเป็นประติมากรรมที่มีคุณค่าและ
๑. ช่วงศิลปะก่อนไทย
หมายถึงช่วงก่อนที่คนไทยจะรวมตัวกั
นเป็นปึกแผ่น ยังไม่มีราชธานี
ของตนเองที่แน่นอน แบ่งออกเป็น ๓
สมัยคือ - สมัยทวารวดี
- สมัยศรีวิชัย
- สมัยลพบุรี
ประเภทของงานประติมากรรม
1.ประติมากรรมแบบนูนต่า
2.ประติมากรรมแบบนูนสูง
3.ประติมากรรมแบบลอยตัว
๒. ช่วงศิลปะไทย
หมายถึงช่วงที่คนไทยรวมตัวกันเป็นปึกแผ่นมีราชธานีที่แน่นอน
แล้วแบ่งออก เป็น ๕สมัยคือสมัยเชียงแสน สมัยสุโขทัย
สมัยอู่ทอง สมัยอยุธยา และสมัยรัตน-โกสินทร์
ประติมากรรมสมัยต่างๆ
ของไทยเหล่านี้ผ่านการหล่อหลอมและผสมผสานของวัฒนธรร
ม โดยดั้งเดิมมีรากเหง้ามาจากวัฒนธรรมอินเดีย
ต่อมาผสมผสานกับวัฒนธรรมจีนและชาติทางตะวันตก
แต่เป็นการผสมผสานด้วยความชาญฉลาดของช่างไทย
ประติมากรรมของไทยจึงยังคงรักษารูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์ขอ
งไทยไว้ได้อย่าง เด่นชัด
สามารถถ่ายทอดลักษณะความงดงามความประณีตวิจิตรบรรจ
ง
และลักษณะของความเป็นชาติไทยที่รุ่งเรืองมาแต่โบราณให้โลก
ประจักษ์ได้
อิทธิพลของศิลปวัฒนธรรมตะวันตกในประเทศไทย
นับจากรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ศิลปะไทยอยู่ในช่วงการปรับตัวระหว่างรูปแบบตามประเพณีนิยมกับศิลปะทางตะวันต
กของยุโรปแม้ว่ายังมีการสร้างศิลปะตามแบบประเพณีนิยมอยู่บ้าง
การอนุรักษ์และการดูแลรักษางานประติมากรรม

More Related Content

What's hot

หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
แผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาแผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาG ''Pamiiz Porpam
 
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยาแผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยาnaipingpun
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑Kornnicha Wonglai
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือkitkit1974
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคMontra Songsee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจ
โครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจโครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจ
โครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจnoeiinoii
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะThanaporn Prommas
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดJoy Jantima
 
ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่BNice' Nutchayatip
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดAraya Chiablaem
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3Kansinee Kosirojhiran
 

What's hot (20)

หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
แผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาแผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธา
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยาแผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือ
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
 
โครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจ
โครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจโครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจ
โครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจ
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
 
ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 

Similar to รายงาน

ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newKittipun Udomseth
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักPN17
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงPN17
 
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์arisanoodee
 
ทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีBam Hattamanee
 
2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้งarisanoodee
 
ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์
ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์
ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์peter dontoom
 
Com_11
Com_11Com_11
Com_11Rujruj
 
Com_21
Com_21Com_21
Com_21Rujruj
 
เรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษเรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษbskkru
 

Similar to รายงาน (11)

ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
work lansai 56
work lansai 56work lansai 56
work lansai 56
 
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
 
ทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสี
 
2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง
 
ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์
ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์
ข้อสอบติวเตอรมัธยมต้น เดือนกุมภาพันธ์
 
Com_11
Com_11Com_11
Com_11
 
Com_21
Com_21Com_21
Com_21
 
เรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษเรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษ
 

รายงาน

  • 1. รายงาน เรื่อง ประติมากรรมไทย จัดทาโดย นายบดีพล ดวงรัศมี ชั้นม.6/3 เลขที่ 6 นายเศรษฐณัฐ นามโครต ชั้นม.6/3 เลขที่ 13 นายอภิชัย เวทสรณสุธี ชั้นม.6/3 เลขที่ 16 นางสาวคริษฐา จอห์นสตัน ชั้นม.6/3 เลขที่ 21 นางสาวพิมลพรรณ วัฒนสุภานันต์ ชั้นม.6/3 เลขที่ 25 นางสาวสุชนาถ คล ้ายสุวรรณ ชั้นม.6/3 เลขที่ 29 เสนอ
  • 2. ครูเทวารัตน์ สุธาพจน์ โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี คานา งานประติมากรรมไทยมีการคิดในเรื่องของการนาลวดลาย มาใช ้เพื่อความสวยความ เพื่อสร ้างสัญลักษณ์ในทางความเชื่อ ศาสนา ที่สัมพันธ์กับคนในสังคมของแต่ละยุคสมัย โดยโครงสร ้างของลวดลายเหล่านั้นสามารถอธิบายให ้เห็นถึง การเชื่อมโยงกับสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติรอบตัว หรือการส่งต่อทางความรู ้ทางศิลปะที่มาพร ้อมกับความสัมพันธ์กั บสังคมอื่นที่เกิดจากสังคมใดสังคมหนึ่งเปิดรับการถ่ายเทในการ ติดต่อทางการค ้า การแลกเปลี่ยนสินค ้า ความรู ้ความเชื่อ ศาสนา หรือการอธิบายถึงการมีอิทธิพลจากรัฐใดรัฐหนึ่งอยู่เหนือกว่ารัฐ เจ ้าของพื้นที่เดิม นั่นหมายถึงตัวผลงานศิลปะนั้นไม่ใช่มาจากคนสร ้างในท ้องถิ่นเ ท่านั้น แต่มันมาพร ้อมกับการรับอิทธิพลจากภายนอก
  • 5. ๑. ช่วงศิลปะก่อนไทย หมายถึงช่วงก่อนที่คนไทยจะรวมตัวกันเป็นปึกแผ่น ยังไม่มีราชธานี ของตนเองที่แน่นอน แบ่งออกเป็น ๓ สมัยคือ - สมัยทวารวดี - สมัยศรีวิชัย - สมัยลพบุรี ๒. ช่วงศิลปะไทย หมายถึงช่วงที่คนไทยรวมตัวกันเป็นปึกแผ่นมีราชธานีที่แน่นอนแล้วแบ่ง ออก เป็น ๕ สมัยคือ สมัยเชียงแสน สมัยสุโขทัย สมัยอู่ทอง สมัยอยุธยา และสมัยรัตน-โกสินทร์ ประติมากรรมสมัยต่างๆ ของไทยเหล่านี้ผ่านการหล่อหลอมและผสมผสานของวัฒนธรรม โดยดั้งเดิมมีรากเหง ้ามาจากวัฒนธรรมอินเดีย ต่อมาผสมผสานกับวัฒนธรรมจีนและชาติทางตะวันตก แต่เป็นการผสมผสานด้วยความชาญฉลาดของช่างไทย ประติมากรรมของไทยจึงยังคงรักษารูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์ของไทยไ ว ้ได้อย่าง เด่นชัด สามารถถ่ายทอดลักษณะความงดงามความประณีตวิจิตรบรรจง และลักษณะของความเป็นชาติไทยที่รุ่งเรืองมาแต่โบราณให้โลกประจัก ษ์ได้ พอจะกล่าวถึงประติมากรรมในช่วงศิลปะไทยได้ ดังนี้ - ประติมากรรมไทยสมัยเชียงแสน - ประติมากรรมไทยสมัยสุโขทัย - ประติมากรรมไทยสมัยอู่ทองและสมัยอยุธยา - ประติมากรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
  • 6. ประวัติสถาปัตยกรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย มีมานานตั้งแต่ที่คนไทยเริ่มตั้งถิ่นฐาน เป็นเวลาร่วม 4,000 ปี บรรพบุรุษไทยได้พัฒนาและปรับปรุงรูปแบบสถาปัตยกรรมอันเป็นสิ่งจา เป็นต่อการดารงชีวิต เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ สภาพภูมิประเทศ โดยเพิ่มเติมใส่เอกลักษณ์ความเป็นไทยเข้าไป ซึ่งนับเป็นการแสดงออกความสามารถของบรรพบุรุษไทย ประเภทของงานประติมากรรม การสร้างงานประติมากรรมไทยตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน สามารถจาแนกออกเป้นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของผลงานที่ปรากฏอยู่ โดยไม่จากัดว่าประติมากรรมเหล่านี้จะทาด้วย ปูน หิน ไม ้ หรือวัสดุทุกชนิดได้ และมีกรรมวิธีในการสร้างสรรค์อย่างไรก็ได้ แต่คานึงถึงรูปลักษณะของประติมากรรมเท่านั้น การจาแนกประเภทของประติมากรรมลักษณะนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1.ประติมากรรมแบบนูนต่า ( Bas Relief ) เป็นรูปที่เป็นนูนขึ้นมาจากพื้นหรือมีพื้นหลัง รองรับ มองเห็นได้ชัดเจนเพียงด้านเดียว คือด้านหน ้า มีความสูงจากพื้นไม่ถึงครึ่งหนึ่งของรูป จริง ได้แก่รูปนูนแบบเหรียญ
  • 7. รูปนูนที่ใช ้ประดับตกแต่งภาชนะ หรือประดับตกแต่งอาคารทาง สถาปัตยกรรม โบสถ์ วิหารต่างๆ พระเครื่องบางชนิด 2.ประติมากรรมแบบนูนสูง ( High Relief ) เป็นรูปต่าง ๆ ในลักษณะเช่นเดียวกับแบบ นูนต่า แต่มีความสูงจากพื้นตั้งแต่ครึ่งหนึ่งของรูปจริงขึ้นไป ทาให้เห็นลวดลายที่ลึก ชัดเจน และ และเหมือนจริงมากกว่าแบบนูนต่าและใช ้งานแบบเดียวกับแบบนูนต่า 3.ประติมากรรมแบบลอยตัว ( Round Relief ) เป็นรูปต่าง ๆ ที่มองเห็นได้รอบด้านหรือ ตั้งแต่ 4 ด้านขึ้นไป ได้แก่ ภาชนะต่าง ๆ รูปเคารพต่าง ๆ พระพุทธรูป เทวรูป รูปตามคตินิยม รูปบุคคลสาคัญ รูปสัตว์ ฯลฯ
  • 8. ประเภทประติมากรรม (Sculpture) 1. การปั้น (Casting) เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุ ทีเหนียว อ่อนตัว และยึดจับตัว กันได้ดี วัสดุที่นิยมนามาใช ้ปั้น ได้แก่ ดินเหนียว ดินน้ามัน ปูน แป้ง ขี้ผึ้ง กระดาษ หรือ ขี้เลื่อยผสมกาว เป็นต้น 2. การแกะสลัก (Carving) เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุที่ แข็ง เปราะ โดยอาศัย เครื่องมือ วัสดุที่นิยมนามาแกะ ได้แก่ ไม ้ หิน กระจก แก ้ว ปูนปลาสเตอร์ เป็นต้น 3. การหล่อ (Molding) เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุที่หลอมตัวได้และกลับแข็ง ตัวได้ โดยอาศัยแม่พิมพ์ ซึ่งสามารถทาให้เกิดผลงานที่เหมือนกันทุกประการตั้งแต่ 2 ชิ้น ขึ้นไป วัสดุที่นิยมนามาใช ้หล่อ ได้แก่ โลหะ ปูน แป้ง แก ้ว ขี้ผึ้ง ดิน เรซิ่น พลาสติก ฯลฯ รามะนา (ชิต เหรียญประชา) 4. การประกอบขึ้นรูป (Construction) เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ โดยนาวัสดุต่าง ๆ มา ประกอบเข้าด้วยกัน และยึดติดกันด้วยวัสดุต่าง ๆ การเลือกวิธีการสร้างสรรค์งานประติมากรรม ขึ้นอยู่กับวัสดุที่ต้องการใช ้ กร อิทธิพลของศิลปวัฒนธรรมตะวันตกในประเทศไทย
  • 9. นับจากรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ ้าอยู่หัว ศิลปะไทยอยู่ในช่วงการปรับตัวระหว่างรูปแบบตามประเพณีนิยมกับศิลป ะทางตะวันตกของยุโรป แม ้ว่ายังมีการสร้างศิลปะตามแบบประเพณีนิยมอยู่บ ้างแต่ไม่มากเท่าตอ นต้นสมัยรัตนโกสินทร์ ยิ่งในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเจ ้านายและขุนนางชั้นสูงออกไปศึกษาในประเทศตะวันตก พระมหากษัตริย์เสด็จประพาสประเทศในเอเชียและประเทศทางยุโรป รวมทั้งการจ ้างชาวตะวันตกที่เป็นสถาปนิก จิตรกร ประติมากร และนักวิชาการทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ เข้ามาทางานในเมืองไทย ศิลปะแบบตะวันตกเริ่มฝังรากลงในสังคมและวัฒนธรรมไทย ผลักดันให้เกิดการพัฒนาแนวความคิดและวิธีการแสดงรูปแบบทางศิลป กรรมทุกด้าน ด้านประติมากรรม ตั้งแต่รัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา ประติมากรรมที่สร้างขึ้นจะได้รับอิทธิพลศิลปะตะวันตก แม ้แต่การปั้นพระพุทธรูปให้เหมือนมนุษย์ยิ่งขึ้น มีการหล่อ การปั้น การแกะสลักพระพุทธรูปและรูปสัตว์สิงโต มีการปั้นรูปแบบคนเหมือนจริงขึ้นเป็นรูปปั้นอนุสาวรีย์ของรัชกาลต่างๆ งานประติมากรรมอื่นๆมักจะเป็นงานจาหลักหินอ่อนหรือหล่อสาริดส่งมา จากยุโรป ถือเป็นการเริ่มรับแบบอย่างการปั้นภาพเหมือนและอนุสาวรีย์ตะวันตก
  • 10. การอนุรักษ์และการดูแลรักษางานประติมากรรม งานประติมากรรมจะดึงดูดความสนใจของผู้ชมด้วยความเป็น 3 มิติ. โดยธรรมชาติของงานประติมากรรมแล้ว ต้องการการดูแลรักษาที่มีความพิเศษแตกต่างกันไป วัสดุที่ใช ้และขนาดของงานเป็นส่วนหนึ่งของความหมายที่แสดงออก -หินและโลหะ เป็นวัสดุที่ใช ้บ่อยในการสร้างสรรค์งานประติมากรรม เพราะสามารถหาได้ง่าย การถนอมรักษาควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ เพื่อหาวิธีดูแลและการทาความสะอาดที่เหมาะสม รวมถึงการถือละการขนย้ายงาน เพื่อให้งานประติมากรรมอยู่ในสภาพดีและคงสวยงามเหมือนเดิม การดูแลรักษาและการจัดเก็บ ประติมากรรมหิน
  • 11. - ไม่ควรสัมผัสผลงานด้วยมือเปล่า ควรสวมถุงมือทุกครั้ง - ทารายการระบุชนิดหินของงานนั้น ๆ เช่นหินอ่อนหรือหินเเกรนิต - ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเรื่องการควบคุม แสงสว่าง อุณหภูมิ และความชื้น - หมั่นทาความสะอาดปัดฝุ่นด้วยแปรงขนไก่และดูดฝุ่นด้วยหัวแบบมีขนแ ปรงอ่อน ๆ ก็เพียงพอแล้ว - งานประติมากรรมที่นิยมติดตั้งภายนอก ควรย้ายมาติดตั้งภายในอาคารแทน - การเคลื่อนย้ายงานประติมากรรมขนาดเล็กๆในระยะทางใกล้ๆควรให้ควา มระมัดระวังและคิดให้ดี - ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเรื่องการหาวิธีทาความสะอาดที่ดีที่สุด สาหรับประติมากรรมโลหะชนิดนั้น ๆ - การเคลื่อนย้ายงานประติมากรรมไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่ในระยะทางไก ล ๆ ควรมีผุ้ช่วยหรือว่าจ ้างผู้เชี่ยวชาญในการขนย้ายงานศิลป ประติมากรรมโลหะ - ไม่ควรสัมผัสผลงานด้วยมือเปล่า ควรสวมถุงมือทุกครั้ง - ทารายการระบุชนิดของโลหะนั้น ๆ
  • 12. - ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเรื่องการควบคุม แสงสว่าง อุณหภูมิ และความชื้น - ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเรื่องการหาวิธีทาความสะอาดที่ดีที่สุด สาหรับประติมากรรมโลหะชนิดนั้น ๆ - งานประติมากรรมที่นิยมติดตั้งภายนอก ควรย้ายมาติดตั้งภายในอาคารแทน - การเคลื่อนย้ายงานประติมากรรมขนาดเล็กๆในระยะทางใกล้ๆควรให้ควา มระมัดระวังและคิดให้ดี - การเคลื่อนย้ายงานประติมากรรมไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่ในระยะทางไก ล ๆ ควรมีผุ้ช่วยหรือว่าจ ้างผู้เชี่ยวชาญในการขนย้ายงานศิล ทั้งประติมากรรมรูปเคารพ ประติมากรรมตกแต่ง และประติมากรรมเพื่อประโยชน์ใช้สอยผูกพันกับความเปลี่ย นแปลงของสังคมไทยตลอด มา นอกจากจะแสดงคุณค่าทางทัศนศิลป์ แล้วยังสะท้อนวัฒนธรรมอันดีงามของชาติในแต่ละยุคแต่ละ สมัยออกมาด้วย ยุคสมัยของไทยนั้น อาจแบ่งช่วงศิลปะในเชิงประวัติศาสตร์ตามหลักฐานทางโบร
  • 13. ประติมากรรมเป็นผลงานศิลปกรรมที่เป็นรูปทรง ๓มิติ ประกอบจากความสูง ความกว้างและความนูน หรือความลึก รูปทรงนี้มีปริมาตรที่จับต้องได้และกินระวางเนื้อที่ในอากาศ ต่างจากรูปทรง ปริมาตรทางจิตรกรรมที่แสดงบนพื้นเรียบเป็นปริมาตรที่ลวงตา ประติมากรรมเกิดขึ้นจากกรรมวิธีการสร้างสรรค์แบบต่างๆ เช่น การปั้นและหล่อการแกะสลัก การฉลุหรือดุน ประติมากรรมทั่วไปมี ๓ แบบคือ ประติมากรรมแบบลอยตัว สามารถดูได้โดยรอบ ประติมากรรมนูน มีพื้นรองรับสามารถดูได้เฉพาะด้านหน้าและด้านเฉียงเท่านั้น และประติมากรรมแบบเจาะลึกลงไปในพื้น ประติมากรรมไทยเป็นผลงานการสร้างสรรค์ของบรรพบุรุษโดย ประติมากรของไทยที่ สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อรับใช้สังคม ตอบสนองความเชื่อสร้างความภูมิใจความพึงพอใจ และค่านิยมแห่งชาติภูมิของไทย ประติมากรรมไทยส่วนใหญ่เน้นเนื้อหาทางศาสนา มักปรากฏอยู่ตามวัดและวัง มีขนาดตั้งแต่เล็กที่สุด เช่น พระเครื่อง เครื่องรางของขลัง จนถึงขนาดใหญ่ที่สุด เช่น พระอัจนะ หรือพระอัฏฐารส ซึ่งเป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่กลางแปลง มีทั้งประติมากรรมตกแต่ง ซึ่งตกแต่งศิลปวัตถุ ศิลปสถาน เพื่อเสริมคุณค่าแก่ศิลปวัตถุหรือสถานที่นั้น จนถึงประติมากรรมบริสุทธิ์ซึ่งเป็นประติมากรรมที่มีคุณค่าและ ๑. ช่วงศิลปะก่อนไทย หมายถึงช่วงก่อนที่คนไทยจะรวมตัวกั นเป็นปึกแผ่น ยังไม่มีราชธานี ของตนเองที่แน่นอน แบ่งออกเป็น ๓ สมัยคือ - สมัยทวารวดี - สมัยศรีวิชัย - สมัยลพบุรี
  • 14. ประเภทของงานประติมากรรม 1.ประติมากรรมแบบนูนต่า 2.ประติมากรรมแบบนูนสูง 3.ประติมากรรมแบบลอยตัว ๒. ช่วงศิลปะไทย หมายถึงช่วงที่คนไทยรวมตัวกันเป็นปึกแผ่นมีราชธานีที่แน่นอน แล้วแบ่งออก เป็น ๕สมัยคือสมัยเชียงแสน สมัยสุโขทัย สมัยอู่ทอง สมัยอยุธยา และสมัยรัตน-โกสินทร์ ประติมากรรมสมัยต่างๆ ของไทยเหล่านี้ผ่านการหล่อหลอมและผสมผสานของวัฒนธรร ม โดยดั้งเดิมมีรากเหง้ามาจากวัฒนธรรมอินเดีย ต่อมาผสมผสานกับวัฒนธรรมจีนและชาติทางตะวันตก แต่เป็นการผสมผสานด้วยความชาญฉลาดของช่างไทย ประติมากรรมของไทยจึงยังคงรักษารูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์ขอ งไทยไว้ได้อย่าง เด่นชัด สามารถถ่ายทอดลักษณะความงดงามความประณีตวิจิตรบรรจ ง และลักษณะของความเป็นชาติไทยที่รุ่งเรืองมาแต่โบราณให้โลก ประจักษ์ได้