SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
1
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
ที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
“การจัดการเรียนรู้ด้วย QR CODE”
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
จัดทาโดย
นายนาชัย หอมแก่นจัน
ตาแหน่ง ครู
โรงเรียนวัดถ้าปลาวิทยาคม อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 เชียงราย-
พะเยา
2
นวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) การพัฒนาผู้เรียนด้านคุณลักษณะ
ความสามารถและทักษะที่สาคัญสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 ในระดับห้องเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
การจัดการศึกษาในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศปัจจุบันที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง
ตลอดเวลา กระบวนการจัดการศึกษาจึงต้องปรับและรับการเปลี่ยนแปลงขององค์ความรู้ให้เท่าทัน
ด้วยการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยสร้างองค์ความรู้ ถ่ายทอดความรู้ จัดเก็บความรู้และ
สื่อสารความรู้ไว้ให้ผู้อื่นศึกษาค้นคว้า ไพพรรณ เกียรติโชติชัย (2545 : 47) ได้กล่าวไว้ว่าการจัดการ
เรียนการสอนควรเป็นไปเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ค้นคว้าหาข้อมูลและสาระที่มีอยู่เป็นจานวนมากได้
อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองเข้ารับบริการการศึกษาได้
อย่างทั่วถึงตลอดเวลา การจัดการศึกษาในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงสูงนั้นมีความจาเป็นต้องตามกระแส
กระบวนทัศน์ที่มีการเปลี่ยนแปลงให้ทัน โดยเฉพาะในยุคโลกาภิวัตน์ที่โลกทั้งใบเป็นหนึ่งเดียว โดย
การพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ด้วยตนเอง ถือเป็น
ความสอดคล้องกับบริบทของโลกในยุคปัจจุบันที่กาลังเปลี่ยนแปลงไปได้อย่างชัดเจน
จากการสังเกตและสอบถามนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนวัดถ้าปลา
วิทยาคม ในปีการศึกษา 2557 พบว่ามีนักเรียนร้อยละ 95 ที่มีการงานโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน
( Smart Phone ) มีพฤติกรรมใช้บริการสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ Facebook, Line และ Twitter
เพื่อเข้าไปพบปะพูดคุยกับเพื่อน หรือเล่นเกม ซึ่งอาจจะส่งผลทาให้ไม่มีเวลาทาการบ้านหรือทบทวน
บทเรียน และเป็นผลให้ผลการเรียนของนักเรียนตกต่าลง โดยข้อมูลผลการทดสอบระดับชาติขั้น
พื้นฐาน (O-net) ของโรงเรียนวัดถ้าปลาวิทยาคมในปีการศึกษา 2556-2557 พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยใน
เกือบทุกรายวิชาอยู่ในระดับต่ากว่าค่าเฉลี่ยของระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับประเทศโดยเฉพาะ
ในรายวิชาสังคมศึกษา ซึ่งสาเหตุที่ทาให้ผลการเรียนของนักเรียนตกต่าลง สาเหตุหนึ่งอาจเป็นเพราะ
ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีและสื่อสังคมออนไลน์ที่ทาให้นักเรียนใช้เวลากับสื่อสังคม
ออนไลน์เหล่านั้นมากจนเกินไป ไม่รู้จักควบคุมตนเอง และใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษา แต่หาก
นักเรียนสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้งาน โดยใช้งานในเชิงที่สร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ เช่น ใช้
ในการปรึกษา สอบถามปัญหาข้อสงสัยกับครูผู้สอนหรือผู้รู้ หรือแนะนาเกี่ยวกับการเรียนและแหล่ง
เรียนรู้ที่ได้ค้นพบมาให้กับเพื่อน หรือใช้เป็นแหล่งในการบันทึก เก็บรวบรวมความรู้ ข้อมูลที่นักเรียน
ได้ศึกษาเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน โดยสรุปเป็นใจความหรือเนื้อหาสาคัญไว้ เพื่อใช้เป็น
แหล่งทบทวนบทเรียนและเผยแพร่ความรู้ให้เพื่อนหรือผู้ที่สนใจได้เข้ามาศึกษา เครื่องมือเหล่านี้ก็จะ
เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์อย่างมากต่อการเรียนรู้ของนักเรียนเอง และจะช่วยให้นักเรียนสามารถ
ร่วมกันเรียนรู้ ปรึกษา แก้ปัญหา และหาคาตอบได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นการนาสื่อสังคมออนไลน์
มาใช้ในทางที่เกิดประโยชน์ต่อการเรียนของตนเอง จากประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอนที่
3
ผ่านมา และจากการวิจัยของทวิพงศ์ ศรีสุวรรณ (2553) และ ทัดนิดา คุณสนอง (2553) เป็นสิ่งที่
ยืนยันได้อย่างชัดเจนว่าการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์
ความรู้ด้วยตนเองทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วย
วิธีนี้ในระดับมากที่สุด นอกจากนี้การนาสื่อสังคมออนไลน์มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการ
สอนจะเป็นการผลักดันบุคลากรครูให้ก้าวทันเทคโนโลยีในยุคปัจจุบัน สามารถเข้าถึงเยาวชนยุคใหม่
ได้อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้เกิดเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่มีปฏิสัมพันธ์กัน
ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน ที่มีการแบ่งปันความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
รวมทั้งส่งเสริมให้มีการศึกษาตามอัธยาศัยสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ (สานักเทคโนโลยี
เพื่อการเรียนการสอน กระทรวงศึกษาธิการ, 2553)
ในปัจจุบันองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนได้นาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
ทางาน ระบบการศึกษาไทยก็เช่นกันการเรียนรู้ไม่ได้มีแต่เฉพาะในห้องเรียนเหมือนสมัยก่อนอีกต่อไป
การใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยเสริมให้การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น หนึ่งในเทคโนโลยี
นั้นคือการใช้ QR CODE เพื่อการเก็บข้อมูล และสามารถนา QR CODE มาประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย
รูปแบบ เช่น เก็บข้อมูล Uniform Resource Locator (URL) ของเว็บไซต์, ข้อความ, บทเรียน
ออนไลน์ ข้อสอบออนไลน์ และข้อมูลที่เป็นตัวอักษรได้อีกมากมาย ปัจจุบัน QR CODE ถูกนาไปใช้
ในหลายๆ ด้าน เนื่องจากความง่ายและสะดวก
ด้วยเหตุผลที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้สอนจึงมีแนวคิดที่จะจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนโดยใช้ OR
code มาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของวิชาสังคมศึกษา
อีกทั้งยังเป็นการเสริมสร้างสมรรถนะให้กับนักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถตามทักษะที่สาคัญ
สาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 อีกด้วย
2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน
จุดประสงค์ของการดาเนินงาน
1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในวิชาสังคมศึกษา
2. เพื่อส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่21
เป้าหมายของการดาเนินงาน
เชิงปริมาณ
1. ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของโรงเรียนวัดถ้าปลาวิทยาคม
วิชาสังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 3 จากปี
การศึกษา 2556
2. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วย QR CODE ในระดับดีมาก
4
เชิงคุณภาพ
ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ความสามารถ และทักษะที่สาคัญสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21
3. ขั้นตอนการดาเนินงาน
แผนผัง : ขั้นตอนการดาเนินงาน
3.1 การศึกษาและรวบรวมข้อมูล
ผู้สอนได้ศึกษางานวิจัยและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และ รวบรวมข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับ
คุณลักษณะ ความสามารถ และทักษะที่สาคัญสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 และการใช้งาน QR CODE
ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ในวิชาสังคมศึกษา
กาหนดจุดประสงค์ และเป้าหมายของการเรียนรู้
ศึกษาเอกสาร ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
วิเคราะห์ปัจจัยในการจัดการเรียนรู้
ออกแบบนวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้
จัดกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้
ประเมินผลการจัดกระบวนการเรียนรู้
ปรับปรุงและแก้ไข
5
3.2 ประชากร
ประชากรคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557
จานวน 57 คน
3.3 รูปแบบการจัดการเรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครั้งนี้เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
มุ่งเน้นการสร้างสรรค์วิธีการขึ้นใหม่เพื่อใช้ในการจัดการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
3.4 การสร้างเครื่องมือ (QR CODE ) ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
3.4.1 สร้างเนื้อหาของการเรียนรู้
ดาเนินการสร้างเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ หรือ ข้อสอบ แบบออนไลน์ รวมไปถึง
การหาเนื้อหาในเว็บไซต์ เพื่อใช้ในการสร้าง QR CODE
3.4.2 สร้างฐานข้อมูล
ดาเนินการรวบรวมข้อมูลเอกสารเก็บไว้ใน Google drive เพื่อสะดวกต่อการ
ประเมินผล ดังภาพ
ภาพที่ 1 : การจัดทาเอกสารออนไลน์ใน Google drive
6
3.4.3 วิธีการสร้าง QR CODE มีวิธีการดังนี้
(กรณีตัวอย่างการสร้างข้อสอบออนไลน์)
1. สร้างข้อสอบออนไลน์ใน Google forms
ภาพที่ 2 : ข้อสอบออนไลน์ ในGoogle forms
7
2. นา LINK ของข้อสอบออนไลน์มาใส่ในเว็บ www.the-qrcode-generator.com
เพื่อสร้าง QR CODE
ภาพที่ 3 : การสร้าง QR CODE
3. ได้ QR CODE ข้อสอบออนไลน์ในการสอบนักเรียน
ภาพที่ 4 : QR CODE สาหรับการจัดการเรียนรู้
8
3.5 การใช้งาน QR CODE
ครูแนะนาถึงความสาคัญของการใช้งาน QR CODE และวิธีการใช้งาน ดังนี้
1. เข้าใช้งานแอพพลิเคชั่น Line
2. คลิกเลือกเพิ่มเพื่อน
9
3. คลิกเลือกคิวอาร์โค้ด
4. สแกนคิวอาร์โค้ด
10
5. คลิกเปิดข้อมูล
6. ปรากฎข้อมูลของเนื้อหาในการศึกษา
11
รูปแบบการดาเนินงาน
การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้นี้ได้ดาเนินการตามวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA)
ดังนี้
1. ขั้นวางแผนงาน (P = Plan) ได้แก่
1. กาหนดวัตถุประสงค์ของการพัฒนานวัตกรรมที่ชัดเจน
2. กาหนดเป้าหมายที่ต้องการ
3. กาหนดวิธีการที่จะปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนด
2. ขั้นการปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงาน (D = Do) ได้แก่
1. ศึกษาขั้นตอนการปฏิบัติงานและวิธีการตามที่แผนงานกาหนด
2. ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนดไว้
3. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อใช้ในการตัดสินใจ
3. ขั้นการตรวจสอบผลการดาเนินงาน (C = Check) ได้แก่
1. ตรวจสอบผลในขณะที่การดาเนินงานตามขั้นตอนที่จัดตั้งไว้
2. ตรวจสอบผลโดยการวัดความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากผลการดาเนินงาน
3. ตรวจสอบผลคุณลักษณะด้านคุณภาพเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่จัดตั้งไว้
4. ขั้นการปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา (A = Action) ได้แก่
1. ดาเนินการแก้ไขปัญหาจุดบกพร่อง
2. จัดทาเป็นมาตรฐานการทางาน เพื่อป้องกันการเกิดซ้าข้อนปัญหา
3. ปรับปรุงระบบและวิธีการทางาน
เมื่อได้วางแผนงาน (P) นาไปปฏิบัติ (D) ระหว่างการปฏิบัติก็ดาเนินการตรวจสอบ (C) พบ
ปัญหาก็ทาการแก้ไขหรือปรับปรุง (A) การปรับปรุงก็เริ่มจากการวางแผนก่อน วนไปได้เรื่อยๆ ซึ่งมี
การพัฒนานวัตกรรมคู่ขนานไปกับด้านวิชาการ ด้านคุณธรรมจริยธรรม และด้านสิ่งแวดล้อม โดยมี
เป้าหมายสาคัญคือ “คุณภาพผู้เรียน”
ทรัพยากรในการพัฒนานวัตกรรม
การพัฒนานวัตกรรมได้ใช้ทรัพยากร โดยการประยุกต์และบูรณาการองค์ความรู้จากแหล่ง
ต่างๆ ไว้อย่างหลากหลาย ได้แก่
1. แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ห้องปฏิบัติการต่างๆ ของโรงเรียน แหล่ง
เรียนรู้ในท้องถิ่น
2. การใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หาได้จากโรงเรียน และตามแหล่งชุมชนอย่างเต็มประสิทธิภาพ
3. แหล่งความรู้จากวิทยากร ปราชญ์ชาวบ้านในด้านต่างๆ ที่หลากหลาย
4. การเก็บข้อมูลเพื่อพัฒนานวัตกรรมจากนักเรียน โดยยึดหลักการความแตกต่างของผู้เรียน
12
4. ผลการดาเนินงาน
1. ครูมีกระบวนการเรียนจัดการเรียนรู้ที่ใช้นวัตกรรมทางการศึกษาที่สอดคล้องกับ
คุณลักษณะ ความสามารถ และทักษะที่สาคัญสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 ในการจัดการเรียนรู้กับ
นักเรียน
2. ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของโรงเรียนวัดถ้าปลาวิทยาคม วิชาสังคม
ศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จากปีการศึกษา 2556 คือ 4.33 %
3. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วย QR CODE มีผล
การประเมินระดับดีมาก
4. นักเรียนมีคุณลักษณะ ความสามารถ และทักษะที่สาคัญสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 คือ
(ความสามารถในการสื่อสาร) นักเรียนสามารถรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
รวมทั้งเลือกใช้และบูรณาการสื่อหรือเครี่องมือที่หลากหลายเพื่อถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความคิด
ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี) นักเรียนรู้จักการวิเคราะห์ เลือกใช้ จัดการสื่อและ
เทคโนโลยีในรูปแบบต่างๆ เช่น ตัวอักษร รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง ในการสร้างชิ้นงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
(ความสามารถในการคิด) นักเรียนเกิดความคิดวางแผนการทางานอย่างเป็นระบบ คิด
วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์แนวทางในการสร้างชิ้นงานได้อย่างมีขั้นตอน สามารถใช้ความคิดในการ
ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน รวมถึงการแสวงหาแนวทางหลากหลายในการแก้ปัญหาใหม่ๆ ที่ไม่เคย
ประสบมาก่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ความสามารถในการแก้ปัญหา) นักเรียนเกิดความคิดวิเคราะห์ปัญหาถึงสาเหตุและวิธีการ
แก้ไข รวมถึงคิดแยกแยะประเด็นปัญหาในแง่มุมต่างๆ ในระหว่างการสร้างชิ้นงานได้
(ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต) นักเรียนมีทักษะในการติดต่อสื่อสารและสร้าง
ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในเชิงบวก รวมถึงสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มี
ความเชื่อมั่น กล้าตัดสินใจ แสดงความคิดในการออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถเผชิญหน้ากับ
สถานการณ์ที่เป็นปัญหาได้มีความรับผิดชอบในหน้าที่ในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มและสามารถนา
ชิ้นงานไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับกลุ่มอื่นที่เป็นสมาชิกในสังคม
5. ปัจจัยความสาเร็จ
1. การสนับสนุนจากโรงเรียน ผู้บริหารสถานศึกษาคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาที่
เกี่ยวข้อง เช่น การจัดทาหลักสูตรที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ
ทั้งทางตรงและทางอ้อมในการพัฒนานวัตกรรม
2. ครูมีความเข้าใจต่อการใช้งาน QR CODE ทาให้สามารถอธิบายและถ่ายทอดองค์ความรู้
กับนักเรียนได้เป็นอย่างดี
3. นักเรียนความพร้อมในการเรียน เนื่องจากมีทักษะในการใช้งานแอพพคิเคชั่นสมัยใหม่
4. นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้โดยการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยมีครูเป็นผู้ให้
คาปรึกษา และจัดทาผลงานในรูปแบบนิทรรศการ
13
6. บทเรียนที่ได้รับ
การจัดการเรียนรู้ด้วย QR CODE เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อพฤติกรรมการเรียนรู้
ของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 ทาให้นักเรียนมีความสนใจต่อการเรียน ลดการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่
แบบเปล่าประโยชน์ของนักเรียนได้ และวิธีการจัดการเรียนรู้นี้ยังทาให้นักเรียนมีคุณลักษณะ
ความสามารถ และทักษะที่สาคัญสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 และสามารถใช้นวัตกรรมนี้เป็นแนวทาง
เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาได้
ข้อเสนอแนะสาหรับครูผู้สอน
1. ครูควรบูรณาการการเรียนการสอนกับรายวิชาอื่น เพื่อทาให้นักเรียนเกิดความรู้ที่
หลากหลาย สามารถนาความรู้ไปใช้งานที่รอบด้าน
2. ครูควรดูแลและคอยให้คาแนะนาแก่นักเรียนในการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศที่มี
ความน่าเชื่อถือ
ข้อแนะนาสาหรับสถานศึกษา
สถานศึกษาควรเพิ่มจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตให้เพียงพอต่อจานวน
นักเรียนในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้
แนวทางการพัฒนา
1. การจัดทาการวิจัยเกี่ยวกับการใช้ QR CODE นี้ในวิชาอื่น
2. การศึกษาเปรียบเทียบการสอนแบบใช้ QR CODE กับวิธีการสอนแบบปกติ
3. การศึกษาบทบาทของครูผู้สอนกับการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
14
ภาคผนวก
15
ตัวอย่างการใช้ QR CODE ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การจัดการเรียนรู้ “เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วย QR CODE”
16
ผลงานนักเรียน “เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วย QR CODE”
17
ภาพนักเรียนขณะใช้งาน QR CODE
18
เกียรติบัตรการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลให้โรงเรียนมีผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน(O-NET)ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่6เพิ่มขึ้นร้อยละ3
19
การแสดงผลงานของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เรื่องการใช้ ICT ในรูปแบบ QR CODE เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ในการประเมินความยั่งยืนของโรงเรียนในฝันฯ ปี 2557 ณ โรงเรียนวัดถ้าปลาวิทยาคม
20
การเผยแพร่นวัตกรรมในสื่อสังคมออนไลน์ (Facebook)
21
ตัวอย่างการส่งคาตอบของนักเรียนในการใช้ QR CODE ทาข้อสอบแบบออนไลน์
ตัวอย่างการส่งคาตอบของนักเรียนในการใช้ QR CODE ทาเพื่อประเมินการเรียนการสอน
22
ตัวอย่าง QR CODE ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ข้อสอบกฎบัตรอาเซียน ข้อสอบกฎหมายในชีวิตประจาวัน
ข้อสอบวัฒนธรรมไทย ข้อสอบสิทธิมนุษยชน
เนื้อหาสิทธิมนุษยชน แบบประเมินการจัดการเรียน
การสอน

More Related Content

What's hot

หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวsingha_koy
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 

What's hot (20)

หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 

Viewers also liked

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2supphawan
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2KruPa Jggdd
 

Viewers also liked (10)

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 

Similar to นวัตกรรม

รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทองรายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทองเทวัญ ภูพานทอง
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Kittipun Udomseth
 
แนวคิดการใช้ไอซีทีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
แนวคิดการใช้ไอซีทีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้แนวคิดการใช้ไอซีทีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
แนวคิดการใช้ไอซีทีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้Prachyanun Nilsook
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมAratchaporn Julla
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดarisara
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 
กิจกรรมที่ 234เสร็จจ้าาาาาาาาาาาาาาาา
กิจกรรมที่ 234เสร็จจ้าาาาาาาาาาาาาาาากิจกรรมที่ 234เสร็จจ้าาาาาาาาาาาาาาาา
กิจกรรมที่ 234เสร็จจ้าาาาาาาาาาาาาาาาkkkkkkamonnat
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1krupornpana55
 

Similar to นวัตกรรม (20)

รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทองรายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4
 
แนวคิดการใช้ไอซีทีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
แนวคิดการใช้ไอซีทีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้แนวคิดการใช้ไอซีทีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
แนวคิดการใช้ไอซีทีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัด
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ปก
ปกปก
ปก
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ปก
ปกปก
ปก
 
เอ4bestp59
เอ4bestp59เอ4bestp59
เอ4bestp59
 
Port_Folio_YORDYING
Port_Folio_YORDYINGPort_Folio_YORDYING
Port_Folio_YORDYING
 
กิจกรรมที่ 234เสร็จจ้าาาาาาาาาาาาาาาา
กิจกรรมที่ 234เสร็จจ้าาาาาาาาาาาาาาาากิจกรรมที่ 234เสร็จจ้าาาาาาาาาาาาาาาา
กิจกรรมที่ 234เสร็จจ้าาาาาาาาาาาาาาาา
 
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
 

นวัตกรรม

  • 1. 1 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 “การจัดการเรียนรู้ด้วย QR CODE” ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดทาโดย นายนาชัย หอมแก่นจัน ตาแหน่ง ครู โรงเรียนวัดถ้าปลาวิทยาคม อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 เชียงราย- พะเยา
  • 2. 2 นวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) การพัฒนาผู้เรียนด้านคุณลักษณะ ความสามารถและทักษะที่สาคัญสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 ในระดับห้องเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา การจัดการศึกษาในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศปัจจุบันที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ตลอดเวลา กระบวนการจัดการศึกษาจึงต้องปรับและรับการเปลี่ยนแปลงขององค์ความรู้ให้เท่าทัน ด้วยการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยสร้างองค์ความรู้ ถ่ายทอดความรู้ จัดเก็บความรู้และ สื่อสารความรู้ไว้ให้ผู้อื่นศึกษาค้นคว้า ไพพรรณ เกียรติโชติชัย (2545 : 47) ได้กล่าวไว้ว่าการจัดการ เรียนการสอนควรเป็นไปเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ค้นคว้าหาข้อมูลและสาระที่มีอยู่เป็นจานวนมากได้ อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองเข้ารับบริการการศึกษาได้ อย่างทั่วถึงตลอดเวลา การจัดการศึกษาในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงสูงนั้นมีความจาเป็นต้องตามกระแส กระบวนทัศน์ที่มีการเปลี่ยนแปลงให้ทัน โดยเฉพาะในยุคโลกาภิวัตน์ที่โลกทั้งใบเป็นหนึ่งเดียว โดย การพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ด้วยตนเอง ถือเป็น ความสอดคล้องกับบริบทของโลกในยุคปัจจุบันที่กาลังเปลี่ยนแปลงไปได้อย่างชัดเจน จากการสังเกตและสอบถามนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนวัดถ้าปลา วิทยาคม ในปีการศึกษา 2557 พบว่ามีนักเรียนร้อยละ 95 ที่มีการงานโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน ( Smart Phone ) มีพฤติกรรมใช้บริการสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ Facebook, Line และ Twitter เพื่อเข้าไปพบปะพูดคุยกับเพื่อน หรือเล่นเกม ซึ่งอาจจะส่งผลทาให้ไม่มีเวลาทาการบ้านหรือทบทวน บทเรียน และเป็นผลให้ผลการเรียนของนักเรียนตกต่าลง โดยข้อมูลผลการทดสอบระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-net) ของโรงเรียนวัดถ้าปลาวิทยาคมในปีการศึกษา 2556-2557 พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยใน เกือบทุกรายวิชาอยู่ในระดับต่ากว่าค่าเฉลี่ยของระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับประเทศโดยเฉพาะ ในรายวิชาสังคมศึกษา ซึ่งสาเหตุที่ทาให้ผลการเรียนของนักเรียนตกต่าลง สาเหตุหนึ่งอาจเป็นเพราะ ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีและสื่อสังคมออนไลน์ที่ทาให้นักเรียนใช้เวลากับสื่อสังคม ออนไลน์เหล่านั้นมากจนเกินไป ไม่รู้จักควบคุมตนเอง และใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษา แต่หาก นักเรียนสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้งาน โดยใช้งานในเชิงที่สร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ เช่น ใช้ ในการปรึกษา สอบถามปัญหาข้อสงสัยกับครูผู้สอนหรือผู้รู้ หรือแนะนาเกี่ยวกับการเรียนและแหล่ง เรียนรู้ที่ได้ค้นพบมาให้กับเพื่อน หรือใช้เป็นแหล่งในการบันทึก เก็บรวบรวมความรู้ ข้อมูลที่นักเรียน ได้ศึกษาเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน โดยสรุปเป็นใจความหรือเนื้อหาสาคัญไว้ เพื่อใช้เป็น แหล่งทบทวนบทเรียนและเผยแพร่ความรู้ให้เพื่อนหรือผู้ที่สนใจได้เข้ามาศึกษา เครื่องมือเหล่านี้ก็จะ เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์อย่างมากต่อการเรียนรู้ของนักเรียนเอง และจะช่วยให้นักเรียนสามารถ ร่วมกันเรียนรู้ ปรึกษา แก้ปัญหา และหาคาตอบได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นการนาสื่อสังคมออนไลน์ มาใช้ในทางที่เกิดประโยชน์ต่อการเรียนของตนเอง จากประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอนที่
  • 3. 3 ผ่านมา และจากการวิจัยของทวิพงศ์ ศรีสุวรรณ (2553) และ ทัดนิดา คุณสนอง (2553) เป็นสิ่งที่ ยืนยันได้อย่างชัดเจนว่าการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ ความรู้ด้วยตนเองทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วย วิธีนี้ในระดับมากที่สุด นอกจากนี้การนาสื่อสังคมออนไลน์มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการ สอนจะเป็นการผลักดันบุคลากรครูให้ก้าวทันเทคโนโลยีในยุคปัจจุบัน สามารถเข้าถึงเยาวชนยุคใหม่ ได้อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้เกิดเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน ที่มีการแบ่งปันความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมทั้งส่งเสริมให้มีการศึกษาตามอัธยาศัยสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ (สานักเทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอน กระทรวงศึกษาธิการ, 2553) ในปัจจุบันองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนได้นาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ทางาน ระบบการศึกษาไทยก็เช่นกันการเรียนรู้ไม่ได้มีแต่เฉพาะในห้องเรียนเหมือนสมัยก่อนอีกต่อไป การใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยเสริมให้การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น หนึ่งในเทคโนโลยี นั้นคือการใช้ QR CODE เพื่อการเก็บข้อมูล และสามารถนา QR CODE มาประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย รูปแบบ เช่น เก็บข้อมูล Uniform Resource Locator (URL) ของเว็บไซต์, ข้อความ, บทเรียน ออนไลน์ ข้อสอบออนไลน์ และข้อมูลที่เป็นตัวอักษรได้อีกมากมาย ปัจจุบัน QR CODE ถูกนาไปใช้ ในหลายๆ ด้าน เนื่องจากความง่ายและสะดวก ด้วยเหตุผลที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้สอนจึงมีแนวคิดที่จะจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนโดยใช้ OR code มาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของวิชาสังคมศึกษา อีกทั้งยังเป็นการเสริมสร้างสมรรถนะให้กับนักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถตามทักษะที่สาคัญ สาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 อีกด้วย 2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน จุดประสงค์ของการดาเนินงาน 1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในวิชาสังคมศึกษา 2. เพื่อส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่21 เป้าหมายของการดาเนินงาน เชิงปริมาณ 1. ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของโรงเรียนวัดถ้าปลาวิทยาคม วิชาสังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 3 จากปี การศึกษา 2556 2. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วย QR CODE ในระดับดีมาก
  • 4. 4 เชิงคุณภาพ ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ความสามารถ และทักษะที่สาคัญสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 3. ขั้นตอนการดาเนินงาน แผนผัง : ขั้นตอนการดาเนินงาน 3.1 การศึกษาและรวบรวมข้อมูล ผู้สอนได้ศึกษางานวิจัยและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และ รวบรวมข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับ คุณลักษณะ ความสามารถ และทักษะที่สาคัญสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 และการใช้งาน QR CODE ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ในวิชาสังคมศึกษา กาหนดจุดประสงค์ และเป้าหมายของการเรียนรู้ ศึกษาเอกสาร ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัจจัยในการจัดการเรียนรู้ ออกแบบนวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้ จัดกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ ประเมินผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ ปรับปรุงและแก้ไข
  • 5. 5 3.2 ประชากร ประชากรคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 จานวน 57 คน 3.3 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครั้งนี้เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มุ่งเน้นการสร้างสรรค์วิธีการขึ้นใหม่เพื่อใช้ในการจัดการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน 3.4 การสร้างเครื่องมือ (QR CODE ) ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.4.1 สร้างเนื้อหาของการเรียนรู้ ดาเนินการสร้างเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ หรือ ข้อสอบ แบบออนไลน์ รวมไปถึง การหาเนื้อหาในเว็บไซต์ เพื่อใช้ในการสร้าง QR CODE 3.4.2 สร้างฐานข้อมูล ดาเนินการรวบรวมข้อมูลเอกสารเก็บไว้ใน Google drive เพื่อสะดวกต่อการ ประเมินผล ดังภาพ ภาพที่ 1 : การจัดทาเอกสารออนไลน์ใน Google drive
  • 6. 6 3.4.3 วิธีการสร้าง QR CODE มีวิธีการดังนี้ (กรณีตัวอย่างการสร้างข้อสอบออนไลน์) 1. สร้างข้อสอบออนไลน์ใน Google forms ภาพที่ 2 : ข้อสอบออนไลน์ ในGoogle forms
  • 7. 7 2. นา LINK ของข้อสอบออนไลน์มาใส่ในเว็บ www.the-qrcode-generator.com เพื่อสร้าง QR CODE ภาพที่ 3 : การสร้าง QR CODE 3. ได้ QR CODE ข้อสอบออนไลน์ในการสอบนักเรียน ภาพที่ 4 : QR CODE สาหรับการจัดการเรียนรู้
  • 8. 8 3.5 การใช้งาน QR CODE ครูแนะนาถึงความสาคัญของการใช้งาน QR CODE และวิธีการใช้งาน ดังนี้ 1. เข้าใช้งานแอพพลิเคชั่น Line 2. คลิกเลือกเพิ่มเพื่อน
  • 11. 11 รูปแบบการดาเนินงาน การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้นี้ได้ดาเนินการตามวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) ดังนี้ 1. ขั้นวางแผนงาน (P = Plan) ได้แก่ 1. กาหนดวัตถุประสงค์ของการพัฒนานวัตกรรมที่ชัดเจน 2. กาหนดเป้าหมายที่ต้องการ 3. กาหนดวิธีการที่จะปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนด 2. ขั้นการปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงาน (D = Do) ได้แก่ 1. ศึกษาขั้นตอนการปฏิบัติงานและวิธีการตามที่แผนงานกาหนด 2. ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ 3. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อใช้ในการตัดสินใจ 3. ขั้นการตรวจสอบผลการดาเนินงาน (C = Check) ได้แก่ 1. ตรวจสอบผลในขณะที่การดาเนินงานตามขั้นตอนที่จัดตั้งไว้ 2. ตรวจสอบผลโดยการวัดความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากผลการดาเนินงาน 3. ตรวจสอบผลคุณลักษณะด้านคุณภาพเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่จัดตั้งไว้ 4. ขั้นการปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา (A = Action) ได้แก่ 1. ดาเนินการแก้ไขปัญหาจุดบกพร่อง 2. จัดทาเป็นมาตรฐานการทางาน เพื่อป้องกันการเกิดซ้าข้อนปัญหา 3. ปรับปรุงระบบและวิธีการทางาน เมื่อได้วางแผนงาน (P) นาไปปฏิบัติ (D) ระหว่างการปฏิบัติก็ดาเนินการตรวจสอบ (C) พบ ปัญหาก็ทาการแก้ไขหรือปรับปรุง (A) การปรับปรุงก็เริ่มจากการวางแผนก่อน วนไปได้เรื่อยๆ ซึ่งมี การพัฒนานวัตกรรมคู่ขนานไปกับด้านวิชาการ ด้านคุณธรรมจริยธรรม และด้านสิ่งแวดล้อม โดยมี เป้าหมายสาคัญคือ “คุณภาพผู้เรียน” ทรัพยากรในการพัฒนานวัตกรรม การพัฒนานวัตกรรมได้ใช้ทรัพยากร โดยการประยุกต์และบูรณาการองค์ความรู้จากแหล่ง ต่างๆ ไว้อย่างหลากหลาย ได้แก่ 1. แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ห้องปฏิบัติการต่างๆ ของโรงเรียน แหล่ง เรียนรู้ในท้องถิ่น 2. การใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หาได้จากโรงเรียน และตามแหล่งชุมชนอย่างเต็มประสิทธิภาพ 3. แหล่งความรู้จากวิทยากร ปราชญ์ชาวบ้านในด้านต่างๆ ที่หลากหลาย 4. การเก็บข้อมูลเพื่อพัฒนานวัตกรรมจากนักเรียน โดยยึดหลักการความแตกต่างของผู้เรียน
  • 12. 12 4. ผลการดาเนินงาน 1. ครูมีกระบวนการเรียนจัดการเรียนรู้ที่ใช้นวัตกรรมทางการศึกษาที่สอดคล้องกับ คุณลักษณะ ความสามารถ และทักษะที่สาคัญสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 ในการจัดการเรียนรู้กับ นักเรียน 2. ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของโรงเรียนวัดถ้าปลาวิทยาคม วิชาสังคม ศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จากปีการศึกษา 2556 คือ 4.33 % 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วย QR CODE มีผล การประเมินระดับดีมาก 4. นักเรียนมีคุณลักษณะ ความสามารถ และทักษะที่สาคัญสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 คือ (ความสามารถในการสื่อสาร) นักเรียนสามารถรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา รวมทั้งเลือกใช้และบูรณาการสื่อหรือเครี่องมือที่หลากหลายเพื่อถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี) นักเรียนรู้จักการวิเคราะห์ เลือกใช้ จัดการสื่อและ เทคโนโลยีในรูปแบบต่างๆ เช่น ตัวอักษร รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง ในการสร้างชิ้นงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (ความสามารถในการคิด) นักเรียนเกิดความคิดวางแผนการทางานอย่างเป็นระบบ คิด วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์แนวทางในการสร้างชิ้นงานได้อย่างมีขั้นตอน สามารถใช้ความคิดในการ ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน รวมถึงการแสวงหาแนวทางหลากหลายในการแก้ปัญหาใหม่ๆ ที่ไม่เคย ประสบมาก่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ความสามารถในการแก้ปัญหา) นักเรียนเกิดความคิดวิเคราะห์ปัญหาถึงสาเหตุและวิธีการ แก้ไข รวมถึงคิดแยกแยะประเด็นปัญหาในแง่มุมต่างๆ ในระหว่างการสร้างชิ้นงานได้ (ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต) นักเรียนมีทักษะในการติดต่อสื่อสารและสร้าง ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในเชิงบวก รวมถึงสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มี ความเชื่อมั่น กล้าตัดสินใจ แสดงความคิดในการออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถเผชิญหน้ากับ สถานการณ์ที่เป็นปัญหาได้มีความรับผิดชอบในหน้าที่ในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มและสามารถนา ชิ้นงานไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับกลุ่มอื่นที่เป็นสมาชิกในสังคม 5. ปัจจัยความสาเร็จ 1. การสนับสนุนจากโรงเรียน ผู้บริหารสถานศึกษาคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ เกี่ยวข้อง เช่น การจัดทาหลักสูตรที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ ทั้งทางตรงและทางอ้อมในการพัฒนานวัตกรรม 2. ครูมีความเข้าใจต่อการใช้งาน QR CODE ทาให้สามารถอธิบายและถ่ายทอดองค์ความรู้ กับนักเรียนได้เป็นอย่างดี 3. นักเรียนความพร้อมในการเรียน เนื่องจากมีทักษะในการใช้งานแอพพคิเคชั่นสมัยใหม่ 4. นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้โดยการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยมีครูเป็นผู้ให้ คาปรึกษา และจัดทาผลงานในรูปแบบนิทรรศการ
  • 13. 13 6. บทเรียนที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้ด้วย QR CODE เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ ของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 ทาให้นักเรียนมีความสนใจต่อการเรียน ลดการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ แบบเปล่าประโยชน์ของนักเรียนได้ และวิธีการจัดการเรียนรู้นี้ยังทาให้นักเรียนมีคุณลักษณะ ความสามารถ และทักษะที่สาคัญสาหรับโลกในศตวรรษที่ 21 และสามารถใช้นวัตกรรมนี้เป็นแนวทาง เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาได้ ข้อเสนอแนะสาหรับครูผู้สอน 1. ครูควรบูรณาการการเรียนการสอนกับรายวิชาอื่น เพื่อทาให้นักเรียนเกิดความรู้ที่ หลากหลาย สามารถนาความรู้ไปใช้งานที่รอบด้าน 2. ครูควรดูแลและคอยให้คาแนะนาแก่นักเรียนในการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศที่มี ความน่าเชื่อถือ ข้อแนะนาสาหรับสถานศึกษา สถานศึกษาควรเพิ่มจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตให้เพียงพอต่อจานวน นักเรียนในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ แนวทางการพัฒนา 1. การจัดทาการวิจัยเกี่ยวกับการใช้ QR CODE นี้ในวิชาอื่น 2. การศึกษาเปรียบเทียบการสอนแบบใช้ QR CODE กับวิธีการสอนแบบปกติ 3. การศึกษาบทบาทของครูผู้สอนกับการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 15. 15 ตัวอย่างการใช้ QR CODE ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดการเรียนรู้ “เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วย QR CODE”
  • 19. 19 การแสดงผลงานของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องการใช้ ICT ในรูปแบบ QR CODE เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ในการประเมินความยั่งยืนของโรงเรียนในฝันฯ ปี 2557 ณ โรงเรียนวัดถ้าปลาวิทยาคม
  • 21. 21 ตัวอย่างการส่งคาตอบของนักเรียนในการใช้ QR CODE ทาข้อสอบแบบออนไลน์ ตัวอย่างการส่งคาตอบของนักเรียนในการใช้ QR CODE ทาเพื่อประเมินการเรียนการสอน
  • 22. 22 ตัวอย่าง QR CODE ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ข้อสอบกฎบัตรอาเซียน ข้อสอบกฎหมายในชีวิตประจาวัน ข้อสอบวัฒนธรรมไทย ข้อสอบสิทธิมนุษยชน เนื้อหาสิทธิมนุษยชน แบบประเมินการจัดการเรียน การสอน