SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
ตอนที่ 5
การใช้รูปแบบการสอน
5.1 กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” จานวน 60 คน โดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จานวน 30 คนเป็นกลุ่ม
ทดลอง และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 จานวน 30 คน เป็นกลุ่มควบคุม การสุ่มตัวอย่างเป็นการสุ่มตัวอย่าง
โดยใช้วิธีจับฉลาก
5.2 วิธีดาเนินการใช้รูปแบบการสอน
ขั้นตอนการดาเนินการใช้รูปแบบการสอน
1. แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ได้รับการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL กลุ่มควบคุม เป็ นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 2/3
โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบปกติ
2. ทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) โดยใช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ทวีปยุโรป
เป็นจานวน 20 ข้อ ตรวจและเก็บคะแนนเพื่อนาไปวิเคราะห์ข้อมูล
3. ดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ทวีปยุโรป ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จานวน
10 ชั่วโมง โดยใช้รูปแบบการสอน CBL และรูปแบบปกติ
4. สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมและบันทึกผลการปฏิบัติงาน
ในแบบประเมินทักษะการวิเคราะห์วิชาสังคมศึกษา
5. เมื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครบตามแผนการจัดการเรียนรู้เรียบร้อยแล้วทาาการทดสอบหลังเรียน
(Post-Test) โดยใช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ทวีปยุโรป จานวน 20 ข้อ ตรวจเก็บคะแนน
เพื่อนาไปวิเคราะห์ข้อมูล
6. ให้นักเรียนทาแบบวัดเจตคติต่อกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง
สาหรับนักเรียนกลุ่มทดลองให้ทาแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา เรื่อง
ทวีปยุโรป โดยใช้รูปแบบการสอน CBL
5.3 ระยะเวลาในการใช้รูปแบบการสอน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ระหว่างวันที่ 1 – 30 มกราคม 2562 จานวน 10 ชั่วโมง
ตอนที่ 6
ผลการใช้รูปแบบการสอน
6.1 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้รูปแบบการสอน CBL เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการ
ค้นคว้า วิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร”
ผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูล 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านเจตคติและด้านทักษะกระบวนการ ดังนี้
1. การวิเคราะห์ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลอง
กับกลุ่มควบคุม โดยทดสอบค่าที (t-test) ดังนี้
- การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
- การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้หลังเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
- การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลอง
- การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มควบคุม
2. การวิเคราะห์ข้อมูลทักษะการค้นคว้าวิชาสังคมศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (M)
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมแล้วแปลผลตามเกณฑ์
ที่กาหนด
3. การวิเคราะห์เจตคติที่มีต่อวิชาสังคมศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (M) และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมแล้วแปลผลตามเกณฑ์ที่กาหนด
4. วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ CBL
วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (M) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วแปลผลตามเกณฑ์
ที่กาหนด
สูตรที่ใช้ในการคานวณ
1. การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ใช้สูตรในการคานวณ (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ไทย และ
สมจิตรา เรืองศรี, 2557, หน้า 146) ดังนี้
𝑀 =
Σ𝑋
𝑁
เมื่อ M แทน คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง
Σ𝑋 แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่มตัวอย่าง
N แทน จานวนนักเรียนทั้งหมดในกลุ่มตัวอย่าง
2. การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สูตรในการคานวณ (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ไทย
และ สมจิตรา เรืองศรี, 2557, หน้า 167) ดังนี้
S.D. =
√𝑛Σ𝑋2+(Σ𝑋)2
𝑛
เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
X แทน คะแนนแต่ละตัว
n แทน จานวนกลุ่มตัวอย่าง
∑ แทน ผลรวม
3. การวิเคราะห์ผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของคะแนนซึ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ไม่อิสระ จากกัน
หรือการคานวณค่า (t-test dependent) ใช้สูตรในการคานวณ (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ ไทย และ
สมจิตรา เรืองศรี 2557, หน้า 204) ดังนี้
t =
𝑑
̅
𝑆
𝑑
√𝑛
⁄
, df = n – 1
เมื่อ n คือ จานวนคู่ของการทดลอง
𝑑̅ คือ
Σ𝑑𝑖
𝑛
𝑆𝑑 คือ √
𝑛Σ𝑑𝑖
2
−(Σ𝑑𝑖)2
𝑛(𝑛−1)
𝑑𝑖 คือ ผลต่างของคะแนนของกลุ่มตัวอย่างคู่ที่ i
4. การวิเคราะห์ผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของคะแนนซึ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่อิสระจากกัน หรือ
การคานวณค่า (t-test independent) ใช้สูตรในการคานวณ (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ไทย และ
สมจิตรา เรืองศรี 2557, หน้า 203) ดังนี้
t =
𝑋
̅1 − 𝑋
̅2
√
𝑠1
2
𝑛1
+
𝑠2
2
𝑛2
df =
(
𝑠1
2
𝑛1
+
𝑠2
2
𝑛2
)2
(
𝑠1
2
𝑛
1−1
+
𝑠2
2
𝑛
2−1
)2
เมื่อ t คือ ค่าที่ได้จากการวิเคราะห์ผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ย
𝑥̅̅1 คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของของนักเรียนกลุ่มทดลอง
𝑥̅̅2 คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของนักเรียนกลุ่มควบคุม
𝑠1
2
คือ ค่าความแปรปรวนของคะแนนของนักเรียนกลุ่มทดลอง
𝑠2
2
คือ ค่าความแปรปรวนของคะแนนของนักเรียนกลุ่มควบคุม
𝑛1 คือ จานวนนักเรียนกลุ่มทดลอง
𝑛2 คือ จานวนนักเรียนกลุ่มควบคุม
df คือ ชั้นแห่งความอิสระ
5. การหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) โดยใช้สูตร (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ไทย และ สมจิตรา เรืองศรี,
2557, หน้า 328 - 330)
IOC =
∑𝑅
𝑁
เมื่อ IOC คือ ค่าดัชนีความสอดคล้อง
R คือ คะแนนความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละท่าน
N คือ จานวนผู้ทรงคุณวุฒิ
6. ค่าความยากง่าย (Difficulty) หาค่าความยากง่าย (p) และค่าอ านาจจ าแนก (r) ของแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน โดยใช้สูตร K-R 20 ของคูเดอร์ริชาร์ดสัน (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ไทย และ
สมจิตรา เรืองศรี, 2557, หน้า333 –340)
1) หาค่าความยากง่าย (p) จากสูตร
p =
R𝐻+R𝐿
𝑛
และหาค่าอานาจจาแนก (r) จากสูตร
r =
R𝐻−R𝐿
𝑛
เมื่อ R𝐻 แทน จานวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มสูง
R𝐿 แทน จานวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มต่า
n แทน จานวนคนทั้งหมดในกลุ่มสูงและกลุ่มต่า
2) ค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรKR 20 ของคูเดอร์ริชาร์ดสัน (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ไทย
และ สมจิตรา เรืองศรี, 2557, หน้า 321 -324) โดยใช้สูตร
KR 20 =
𝑘
𝑘−1
[1 −
Σ𝑝𝑞
𝑠𝑥
2 ]
เมื่อ k แทน จานวนข้อสอบ
P แทน สัดส่วนของคนที่ตอบถูก
q แทน สัดส่วนของคนที่ถูกผิด
𝑠𝑥
2
แทน ความแปรปรวนของคะแนน
7. วิธีการวัดคะแนนสัมพัทธ์ (relative gain score) เป็นการวัดคะแนนพัฒนาการโดย ศิริชัย กาญจนวาสี ในปี
2532 โดยคะแนนพัฒนาการเกิดจากค่าอัตราส่วนร้อยละระหว่างผลต่างของคะแนนสอบหลังเรียน กับคะแนน
สอบก่อนเรียน กับผลต่างของคะแนนเต็มกับคะแนนสอบก่อนเรียน
RG =
𝑌2 – 𝑌1
𝐹−𝑌1
× 100
เมื่อ RG แทน คะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์
F แทน คะแนนเต็มในการวัด
Y2 แทน คะแนนสอบก่อนเรียน
Y1 แทน คะแนนสอบหลังเรียน
6.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
1. การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
ตารางที่ 12 การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียน วิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป ระหว่างการ
เรียนรู้แบบ CBL ของกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมซึ่งสอนด้วยรูปแบบการสอนแบบปกติ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2
นักเรียน จานวน ค่าเฉลี่ย S.D. ค่า t Sig
กลุ่มทดลอง 30 5.10 1.213 3.225 .002
กลุ่มควบคุม 30 4.13 1.106
* P < .05
จากตารางที่ 12 พบว่า ผลการเรียนรู้ทางการเรียนก่อนเรียน วิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป มีความ
แตกต่างของค่าเฉลี่ยทั้งสองกลุ่มของผู้เรียน กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5.10 คะแนน กลุ่มควบคุมมี
คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบแล้ว มีความแตกต่างกันเท่ากับ 0.97 คะแนน ดังนั้นจากการ
ทดสอบสถิติ t พบว่า คะแนนเฉลี่ยระหว่างผู้เรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05
2.การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มทดลอง
ตารางที่ 13 การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป ซึ่ง
สอนด้วยรูปแบบการสอนแบบ CBL ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
นักเรียน จานวน ค่าเฉลี่ย S.D. ค่า t Sig
ก่อนเรียน 30 5.10 1.213 15.333 .000
หลังเรียน 30 8.40 .894
* P < .05
จากตารางที่ 13 พบว่าผลการเรียนรู้ทางการเรียนก่อนเรียน กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5.10
คะแนน และหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.40 คะแนน ตามลาดับ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนน
ก่อนและหลังเรียน พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้นกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ .05
3. การเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มควบคุม
ตารางที่ 14 การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป
ซึ่งสอนด้วยรูปแบบการสอนแบบปกติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
นักเรียน จานวน ค่าเฉลี่ย S.D. ค่า t Sig
ก่อนเรียน 30 4.13 1.106 12.970 .000
หลังเรียน 30 6.50 .777
* P < .05
จากตารางที่ 14 พบว่า ผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนกลุ่มควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.13
คะแนน และ 6.50 คะแนนตามลาดับ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียน พบว่า คะแนน
สอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4. การเปรียบเทียบคะแนนหลังเรียนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
ตารางที่ 15 การเปรียบเทียบคะแนนหลังเรียนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
นักเรียน จานวน ค่าเฉลี่ย S.D. ค่า t Sig
กลุ่มทดลอง 30 8.40 .894 8.784 .000
กลุ่มควบคุม 30 6.50 .777
* P < .05
จากตารางที่ 15 พบว่า ผลการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยทั้งสองกลุ่มของผู้เรียนกลุ่มทดลอง
มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.40 คะแนน กลุ่มควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 6.50 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบแล้ว
มี ความแตกต่างกันเท่ากับ 1.9 คะแนน ดังนั้นจากการทดสอบสถิติ t พบว่า คะแนนเฉลี่ยระหว่างผู้เรียน
กลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ตารางที่ 16 ตารางวิเคราะห์ผลสอบคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ของวิชาสังคมศึกษาด้านทักษะการค้นคว้า
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คน
ที่
กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม
ม.2/1
ก่อนเรียน
ม. 2/1
หลังเรียน
คะแนนพัฒนาการ
สัมพัทธ์
ม.2/3
ก่อนเรียน
ม.2/3
หลังเรียน
คะแนนพัฒนาการ
สัมพัทธ์
1 4 8 66.67 2 7 62.50
2 5 8 60.00 3 6 42.86
3 5 8 60.00 4 6 33.33
4 5 9 80.00 4 7 50.00
5 5 9 80.00 4 6 33.33
6 3 8 71.43 3 6 42.86
7 4 7 50.00 2 5 37.50
8 6 9 75.00 5 8 60.00
9 5 9 80.00 4 7 50.00
10 4 9 83.33 3 6 42.86
11 4 7 50.00 4 7 50.00
12 6 8 50.00 4 7 50.00
13 6 8 50.00 3 8 71.43
14 7 10 100.00 4 6 33.33
15 6 7 25.00 5 7 40.00
16 7 10 100.00 4 7 50.00
17 5 8 60.00 4 6 33.33
18 6 9 75.00 4 6 33.33
19 5 7 40.00 7 8 33.33
20 6 9 75.00 3 5 28.57
21 3 9 85.71 6 7 25.00
22 7 9 66.67 4 6 33.33
23 2 8 75.00 5 7 40.00
คน
ที่
กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม
ม.2/1
ก่อนเรียน
ม. 2/1
หลังเรียน
คะแนนพัฒนาการ
สัมพัทธ์
ม.2/1
ก่อนเรียน
ม. 2/1
หลังเรียน
คะแนนพัฒนาการ
สัมพัทธ์
24 5 7 40.00 5 6 20.00
25 6 9 75.00 6 7 25.00
26 6 8 50.00 5 6 20.00
27 5 8 60.00 4 6 33.33
28 5 9 80.00 4 6 33.33
29 6 10 100.00 5 7 40.00
30 4 8 66.67 4 6 33.33
เฉลี่ย 67.68 เฉลี่ย 39.40
จากตารางที่ 16 แสดงผลการวิเคราะห์คะแนนพัฒนาการทักษะการค้นคว้าข้อมูลของวิชาสังคมศึกษา
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนพัฒนาการทักษะการค้นคว้าข้อมูล มีระดับ
คุณภาพเฉลี่ยเท่ากับ 67.68 สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่มีคะแนนพัฒนาการทักษะการค้นคว้าข้อมูล ระดับคุณภาพ
เฉลี่ยเท่ากับ 39.40 แสดงว่ากลุ่มทดลองมีทักษะการค้นคว้าข้อมูลสูงกว่ากลุ่มควบคุม
ตารางที่ 17 การเปรียบเทียบทักษะการค้นคว้าข้อมูล ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
เลขที่ ครั้งที่ กลุ่มทดลอง ครั้งที่ กลุ่มควบคุม
1 2 3 4 M S.D. แปลผล 1 2 3 4 M S.D. แปลผล
1 14 15 15 17 15.25 5.90 ดีมาก 12 11 12 13 12.00 0.71 ดี
2 14 15 16 16 15.25 5.46 ดีมาก 10 10 11 11 10.50 0.50 ดี
3 14 15 15 17 15.25 5.10 ดีมาก 10 10 10 11 10.25 0.43 ดี
4 14 15 16 16 15.25 4.65 ดีมาก 14 14 15 15 14.50 0.50 ดี
5 14 15 15 17 15.25 4.30 ดีมาก 12 13 14 14 13.25 0.83 ดี
6 14 15 16 16 15.25 3.85 ดีมาก 12 15 15 14 14.00 1.22 ดี
7 15 17 16 17 16.25 3.85 ดีมาก 14 14 14 13 13.75 0.43 ดี
8 14 15 16 16 15.25 3.05 ดีมาก 14 13 14 15 14.00 0.71 ดี
9 14 15 15 15 14.75 2.38 ดี 13 15 14 15 14.25 0.83 ดี
10 14 15 16 16 15.25 2.27 ดีมาก 13 15 14 16 14.50 1.12 ดี
11 14 15 16 16 15.25 1.89 ดีมาก 13 12 15 15 13.75 1.30 ดี
12 14 15 16 16 15.25 1.52 ดีมาก 13 14 12 15 13.50 1.12 ดี
13 14 15 15 17 15.25 1.34 ดีมาก 14 14 14 15 14.25 0.43 ดี
14 14 15 16 16 15.25 0.90 ดีมาก 12 12 13 13 12.50 0.50 ดี
15 14 15 15 15 14.75 0.40 ดี 12 15 14 12 13.25 1.30 ดี
16 15 15 16 15 15.25 0.49 ดีมาก 12 15 15 14 14.00 1.22 ดี
17 14 15 15 17 15.25 1.21 ดีมาก 14 13 15 13 13.75 0.83 ดี
18 14 15 15 17 15.25 1.49 ดีมาก 13 15 15 15 14.50 0.87 ดี
19 14 15 15 15 14.75 1.78 ดี 13 15 15 15 14.50 0.87 ดี
20 14 15 16 16 15.25 2.08 ดีมาก 13 12 13 13 12.75 0.43 ดี
21 14 15 16 16 15.25 2.46 ดีมาก 12 11 13 12 12.00 0.71 ดี
22 14 15 16 16 15.25 2.85 ดีมาก 14 13 13 14 13.50 0.50 ดี
23 14 14 15 15 14.50 3.50 ดี 14 13 14 12 13.25 0.83 ดี
24 14 15 15 17 15.25 3.70 ดีมาก 12 12 14 14 13.00 1.00 ดี
25 14 15 16 16 15.25 4.05 ดีมาก 12 13 14 13 13.00 0.71 ดี
26 14 15 16 16 15.25 4.45 ดีมาก 12 13 14 14 13.25 0.83 ดี
เลขที่ ครั้งที่ กลุ่มทดลอง ครั้งที่ กลุ่มทดลอง
1 2 3 4 M S.D. แปลผล 1 2 3 4 M S.D. แปลผล
27 14 15 16 16 15.25 4.85 ดีมาก 12 14 15 15 14.00 1.22 ดี
28 14 15 16 16 15.25 5.26 ดี 13 14 15 13 13.75 0.83 ดี
29 14 15 16 16 15.25 5.66 ดีมาก 13 14 14 15 14.00 0.71 ดี
30 14 15 16 16 15.25 6.07 ดีมาก 13 14 13 14 13.50 0.50 ดี
รวม 15.21 ดีมาก รวม 13.37 ดี
จากตารางที่ 16 จะเห็นได้ว่ากลุ่มทดลองมีทักษะการค้นคว้าข้อมูลอยู่ในระดับดีมาก มีระดับคุณภาพเฉลี่ย
เท่ากับ 15.21 สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่มีทักษะการค้นคว้าอยู่ในระดับดี มีระดับคุณภาพเฉลี่ยเท่ากับ 13.37
ตารางที่ 17 การเปรียบเทียบเจตคติที่มีต่อวิชาสังคมศึกษาระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
ข้อ ประเด็นการประเมิน กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม
M S.D. แปลผล M S.D. แปลผล
1 นักเรียนมีความตั้งใจอย่างมากขณะที่เรียนวิชาสังคมศึกษา 4.37 0.87 มาก 4.13 0.92 มาก
2 นักเรียนได้ฝึกการคิดและการตัดสินใจเมื่อได้ทากิจกรรม
ในวิชาสังคมศึกษา
4.47 0.67 มาก 3.93 1.06 มาก
3 นักเรียนชอบซักถามข้อสงสัยในขณะเรียนวิชาสังคมศึกษา 4.60 0.61 มากที่สุด 4.30 0.86 มาก
4 นักเรียนมีความสนุกและความเพลิดเพลินที่ได้แลกเปลี่ยน
ความรู้กับเพื่อนๆในชั่วโมงเรียนวิชาสังคมศึกษา
4.37 0.87 มาก 4.40 0.66 มาก
5 นักเรียนประสบผลสาเร็จเมื่อทากิจกรรมในวิชาสังคมศึกษา 4.53 0.67 มากที่สุด 4.17 0.86 มาก
6 การเรียนวิชาสังคมศึกษาทาให้นักเรียนเรียนรู้สิ่งที่อยู่ใกล้ตัว
และไกลตัวมากยิ่งขึ้น
4.77 0.42 มากที่สุด 4.07 0.93 มาก
7 เมื่อเรียนวิชาสังคมศึกษาแล้วทาให้นักเรียนฝึกทักษะการคิด
วิเคราะห์
4.33 0.79 มาก 3.60 0.88 มาก
8 มีการยอมรับฟังความคิดเห็นเมื่อทากิจกรรมในวิชาสังคมศึกษา 4.67 0.60 มากที่สุด 3.87 1.06 มาก
9 นักเรียนมีความซื่อสัตย์และเป็นกลางในการตัดสินใจแก้ปัญหา
ในกิจการต่าง ๆ ในเวลาเรียนสังคมศึกษา
4.50 0.67 มาก 4.17 1.07 มาก
10 นักเรียนมีความพยายามที่จะเสาะแสวงหาความรู้ใน
สถานการณ์ใหม่ๆเมื่อเรียนวิชาสังคมศึกษา
4.77 0.42 มากที่สุด 4.47 0.72 มาก
11 นักเรียนมีความขยันและพยายามที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ในขณะ
เรียนวิชาสังคมศึกษา
4.50 0.62 มาก 4.50 0.56 มาก
12 นักเรียนให้ความสนใจปัญหาในสังคมมากขึ้นเมื่อเรียนวิชา
สังคมศึกษา
4.47 0.72 มาก 4.40 0.76 มาก
13 นักเรียนนาความรู้ที่ได้เรียนในวิชาสังคมศึกษาไปเผยแพร่ ให้
ผู้อื่นได้รู้
4.50 0.72 มาก 4.33 0.83 มาก
14 นักเรียนมีความรู้สึกที่ดีต่อวิชาสังคมศึกษา 4.57 0.56 มากที่สุด 4.47 0.62 มาก
15 ขณะเรียนวิชาสังคมศึกษามีการบูรณาการกับรายวิชาอื่นๆ 4.30 0.74 มาก 4.13 1.06 มาก
เฉลี่ยรวม 4.51 0.66 มากที่สุด 4.20 0.86 มาก
จากตารางที่ 19 แสดงให้เห็นว่าในภาพรวมนักเรียนกลุ่มทดลองมีเจตคติต่อวิชาสังคมศึกษาอยู่ใน ระดับมากที่สุด
โดยมีค่าความคิดเห็นเฉลี่ยอยู่ที่ 4.51 สูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่มีเจตคติต่อวิชาสังคมศึกษา อยู่ในระดับมาก
โดยมีค่าความคิดเห็นเฉลี่ยอยู่ที่ 4.20
6.3 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL
วิธีสร้างเครื่องมือและลักษณะเครื่องมือ
แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL รายวิชา
สังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” มีลักษณะ
เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จานวน 12 ข้อ มีขั้นตอนการสร้างดังนี้
1. ศึกษาเอกสาร ตารา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ เพื่อใช้เป็นแนวทาง
ในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ
2. กาหนดประเด็นและรูปแบบ ในการสร้างแบบสอบถามครั้งนี้เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating
Scale) 5 ระดับ ดังนี้
5 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด
4 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก
3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง
4 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย
1 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด
และกาหนดเกณฑ์ในการแปลความหมาย ดังนี้
4.51-5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด
3.51–4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับมาก
2.51–3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับปานกลาง
1.51–2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับน้อย
1.00–1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับน้อยที่สุด
3. นาแบบสอบถามความพึงพอใจเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม
4. ปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา
5. นาแบบสอบถามความพึงพอใจไปสอบถามนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโรงเรียนบ้านนา
“นายกพิทยากร” ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL ในรายวิชาสังคมศึกษา เรื่องทวีปยุโรป
ตารางที่ 18 ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” ที่ได้รับ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL ในรายวิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป
ข้อ รายการประเมิน M S.D. แปลผล
1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ มีลาดับขั้นตอนเข้าใจได้ง่าย 4.27 0.73 มาก
2 กิจกรรมการเรียนรู้ฯ ส่งเสริมกระบวนการคิด วิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา 4.33 0.75 มาก
3 กิจกรรมการเรียนรู้ฯ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม 4.47 0.62 มาก
4 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติมากขึ้น 4.40 0.71 มาก
5 ผู้เรียนได้รับความรู้ความเข้าใจเนื้อหาจากกระบวนการจัดการ เรียนรู้ฯมากขึ้น 4.53 0.62 มาก
ที่สุด
6 ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ 4.67 0.47 มาก
ที่สุด
7 ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาได้ถูกต้อง 4.60 0.49 มาก
ที่สุด
8 การได้รับความช่วยเหลือในการทากิจกรรมระหว่างผู้เรียนและ ผู้สอน 4.67 0.47 มาก
ที่สุด
9 สภาพแวดล้อมในการจัดการเรียนการสอนมีความเหมาะสม 4.60 0.61 มาก
ที่สุด
10 ทรัพยากรการเรียนรู้และสื่อเทคโนโลยีทันสมัยและเพียงพอต่อการเรียนรู้ 4.60 0.49 มาก
ที่สุด
11 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนให้แก่ผู้เรียน 4.70 0.46 มาก
ที่สุด
12 ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานอย่าง
สร้างสรรค์
4.70 0.53 มาก
ที่สุด
เฉลี่ยรวม 4.54 0.58 มาก
ที่สุด
จากตารางที่ 18 จะเห็นได้ว่านักเรียนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” ที่
ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL ในรายวิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป มี ความพึงพอใจต่อ
รูปแบบการสอน CBL ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.54 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
พบว่า ข้อที่นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ด้านการจัดการเรียนรู้ ข้อที่ 11 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้แก่ผู้เรียน และข้อที่ 12 ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้
ปัญหาเป็นฐานอย่างสร้างสรรค์ มีค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.70 นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด ด้านผู้เรียน
ข้อที่ 6 ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และด้านครูผู้สอน ข้อที่ 8 การได้รับ
ความช่วยเหลือในการทากิจกรรมระหว่างผู้เรียนและผู้สอน มีค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.67 นักเรียนมีความพึง
พอใจมากที่สุด ด้านผู้เรียน ข้อที่ 7 ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาได้ถูกต้อง และด้านสื่อและแหล่ง
เรียนรู้ ข้อที่ 9 สภาพแวดล้อมในการจัดการเรียนการสอนมีความเหมาะสม และข้อที่ 10 ทรัพยากรการเรียนรู้
และสื่อเทคโนโลยีทันสมัยและเพียงพอต่อการเรียนรู้ มีค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.60 และด้านเนื้อหา
ข้อที่ 5 ผู้เรียนได้รับความรู้ความเข้าใจเนื้อหาจากกระบวนการจัดการเรียนรู้ฯมากขึ้น มีค่าความพึงพอใจ
เฉลี่ยที่ 4.53 นักเรียนมีความพึงพอใจมาก ด้านครูผู้สอน ข้อที่ 3 กิจกรรมการเรียนรู้ฯ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
ของสมาชิกในกลุ่ม ค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.47 ข้อที่ 4 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติมากขึ้น
ค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.40 ข้อที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ฯ ส่งเสริมกระบวนการคิด วิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา
ค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.33 และข้อที่ 1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ มีลาดับขั้นตอนเข้าใจได้ง่าย ค่าความ
พึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.27 ตามลาดับ
6.4 สรุปผลการใช้รูปแบบการสอนและอภิปรายผล
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้หลังเรียน เรื่องทวีปยุโรป ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของนักเรียนกลุ่ม ทดลองสูง
กว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบการสอน CBL
ทาให้นักเรียนกลุ่มทดลองมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง ทวีปยุโรป สูงกว่าก่อนกลุ่มควบคุม
2. คะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ทวีปยุโรป ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมสูงกว่า คะแนน
การสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. ผลการเปรียบเทียบทักษะการวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่าง นักเรียนกลุ่ม
ทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL
มีคะแนนทักษะการค้นคว้าสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธีปกติ
4. ผลการเปรียบเทียบเจตคติที่มีต่อวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างนักเรียน
กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL
มีคะแนนเจตคติที่มีต่อวิชาสังคมศึกษาสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธีปกติ
5. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้
โดยใช้รูปแบบการสอน CBL ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด จากผลการวิจัยพบว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้
รูปแบบการสอน CBL วิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านนา
“นายกพิทยากร” ส่งผลให้นักเรียนกลุ่มทดลองมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง ทวีปยุโรป มีทักษะการค้นคว้า
และมีเจตคติต่อวิชาสังคมศึกษาสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีปกติ และนักเรียนกลุ่ม
ทดลองมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบการ สอน CBL ในระดับมากที่สุด
6.5 ปัญหาและอุปสรรคที่พบและข้อเสนอแนะแก้ไข ปัญหาและอุปสรรคที่พบ
1. ลักษณะการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอน CBL มีลักษณะที่แตกต่างไปจากการสอน โดยทั่วไป
เป็นเหตุให้ในการดาเนินการในคาบต้น ๆ ต้องอธิบายลักษณะและแนวทางการทากิจกรรมในห้องเรียน
พอสมควร
2. บางคาบนักเรียนแต่ละกลุ่มใช้เวลาในศึกษาค้นคว้าข้อมูล สรุปและนาเสนอค่อนข้างนาน ทาให้เวลา
ไม่เพียงพอ ครูต้องแก้ปัญหาโดยการปรับกิจกรรมในขั้นตอนอื่น ๆ
ข้อเสนอแนะแก้ไข
1. ควรมีการศึกษาผลของการใช้รูปแบบการสอน CBL กับเนื้อหาอื่น ๆ ในรายวิชาสังคมศึกษา
2. ควรมีการศึกษาผลของการใช้รูปแบบการสอน CBL กับเนื้อหาอื่น ๆ ในระดับชั้นอื่น ๆ

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นแบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นทับทิม เจริญตา
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...Teacher Sophonnawit
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แผนนิเทศ.pdf
แผนนิเทศ.pdfแผนนิเทศ.pdf
แผนนิเทศ.pdfssuser639c13
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56krupornpana55
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพKamolthip Boonpo
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 

What's hot (20)

ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นแบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560 - 2579
แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560 - 2579แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560 - 2579
แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560 - 2579
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แผนนิเทศ.pdf
แผนนิเทศ.pdfแผนนิเทศ.pdf
แผนนิเทศ.pdf
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 

Similar to ตอนที่ 5 สรุปผลวิจัยรูปแบบ cbl

How-to-write-your-Research-Methodology.pptx
How-to-write-your-Research-Methodology.pptxHow-to-write-your-Research-Methodology.pptx
How-to-write-your-Research-Methodology.pptxJemmaRoseTegio
 
Effectiveness of Using Circle Geometry (CG-Board) Strategy in Learning Circle...
Effectiveness of Using Circle Geometry (CG-Board) Strategy in Learning Circle...Effectiveness of Using Circle Geometry (CG-Board) Strategy in Learning Circle...
Effectiveness of Using Circle Geometry (CG-Board) Strategy in Learning Circle...AJHSSR Journal
 
CHAPTER-III.pptx
CHAPTER-III.pptxCHAPTER-III.pptx
CHAPTER-III.pptxJunaisaOrab
 
PPT FOR DISTRICT RESEARCH CONGRESS - ver 2-1.pptx
PPT FOR DISTRICT RESEARCH CONGRESS - ver 2-1.pptxPPT FOR DISTRICT RESEARCH CONGRESS - ver 2-1.pptx
PPT FOR DISTRICT RESEARCH CONGRESS - ver 2-1.pptxIvanhoeBalarote
 
Comparison statisticalsignificancetestir
Comparison statisticalsignificancetestirComparison statisticalsignificancetestir
Comparison statisticalsignificancetestirClaudia Ribeiro
 
Week 6 DQ1. What is your research questionIs there a differen.docx
Week 6 DQ1. What is your research questionIs there a differen.docxWeek 6 DQ1. What is your research questionIs there a differen.docx
Week 6 DQ1. What is your research questionIs there a differen.docxcockekeshia
 
Self learning modules for students and teachers
Self learning modules for students and teachersSelf learning modules for students and teachers
Self learning modules for students and teachersDr. Sushma N Jogan
 
Sampling and sampling distributions
Sampling and sampling distributionsSampling and sampling distributions
Sampling and sampling distributionsStephan Jade Navarro
 
A Study of Thinking Styles and its Impact on Life Skills among Secondary Scho...
A Study of Thinking Styles and its Impact on Life Skills among Secondary Scho...A Study of Thinking Styles and its Impact on Life Skills among Secondary Scho...
A Study of Thinking Styles and its Impact on Life Skills among Secondary Scho...ijtsrd
 
skripsi chapter 3
skripsi chapter 3skripsi chapter 3
skripsi chapter 3vahn10
 
Methodology semestre 3
Methodology semestre 3Methodology semestre 3
Methodology semestre 3Ḟiftŷ ßōx
 

Similar to ตอนที่ 5 สรุปผลวิจัยรูปแบบ cbl (20)

Himani
HimaniHimani
Himani
 
How-to-write-your-Research-Methodology.pptx
How-to-write-your-Research-Methodology.pptxHow-to-write-your-Research-Methodology.pptx
How-to-write-your-Research-Methodology.pptx
 
Effectiveness of Using Circle Geometry (CG-Board) Strategy in Learning Circle...
Effectiveness of Using Circle Geometry (CG-Board) Strategy in Learning Circle...Effectiveness of Using Circle Geometry (CG-Board) Strategy in Learning Circle...
Effectiveness of Using Circle Geometry (CG-Board) Strategy in Learning Circle...
 
CHAPTER-III.pptx
CHAPTER-III.pptxCHAPTER-III.pptx
CHAPTER-III.pptx
 
LAMAO ELEM.pptx
LAMAO ELEM.pptxLAMAO ELEM.pptx
LAMAO ELEM.pptx
 
PPT FOR DISTRICT RESEARCH CONGRESS - ver 2-1.pptx
PPT FOR DISTRICT RESEARCH CONGRESS - ver 2-1.pptxPPT FOR DISTRICT RESEARCH CONGRESS - ver 2-1.pptx
PPT FOR DISTRICT RESEARCH CONGRESS - ver 2-1.pptx
 
Bab 3
Bab 3Bab 3
Bab 3
 
Writing chapter 3
Writing chapter 3Writing chapter 3
Writing chapter 3
 
Chapter iii
Chapter iiiChapter iii
Chapter iii
 
Mountain Climbing Analogy
Mountain Climbing AnalogyMountain Climbing Analogy
Mountain Climbing Analogy
 
Comparison statisticalsignificancetestir
Comparison statisticalsignificancetestirComparison statisticalsignificancetestir
Comparison statisticalsignificancetestir
 
Week 6 DQ1. What is your research questionIs there a differen.docx
Week 6 DQ1. What is your research questionIs there a differen.docxWeek 6 DQ1. What is your research questionIs there a differen.docx
Week 6 DQ1. What is your research questionIs there a differen.docx
 
Self learning modules for students and teachers
Self learning modules for students and teachersSelf learning modules for students and teachers
Self learning modules for students and teachers
 
Sampling and sampling distributions
Sampling and sampling distributionsSampling and sampling distributions
Sampling and sampling distributions
 
16 17
16 1716 17
16 17
 
5. Hypothesis.pptx
5. Hypothesis.pptx5. Hypothesis.pptx
5. Hypothesis.pptx
 
A Study of Thinking Styles and its Impact on Life Skills among Secondary Scho...
A Study of Thinking Styles and its Impact on Life Skills among Secondary Scho...A Study of Thinking Styles and its Impact on Life Skills among Secondary Scho...
A Study of Thinking Styles and its Impact on Life Skills among Secondary Scho...
 
skripsi chapter 3
skripsi chapter 3skripsi chapter 3
skripsi chapter 3
 
Methodology semestre 3
Methodology semestre 3Methodology semestre 3
Methodology semestre 3
 
50 51
50 5150 51
50 51
 

Recently uploaded

Measures of Central Tendency: Mean, Median and Mode
Measures of Central Tendency: Mean, Median and ModeMeasures of Central Tendency: Mean, Median and Mode
Measures of Central Tendency: Mean, Median and ModeThiyagu K
 
The byproduct of sericulture in different industries.pptx
The byproduct of sericulture in different industries.pptxThe byproduct of sericulture in different industries.pptx
The byproduct of sericulture in different industries.pptxShobhayan Kirtania
 
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...EduSkills OECD
 
A Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy ReformA Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy ReformChameera Dedduwage
 
Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3
Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3
Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3JemimahLaneBuaron
 
Mastering the Unannounced Regulatory Inspection
Mastering the Unannounced Regulatory InspectionMastering the Unannounced Regulatory Inspection
Mastering the Unannounced Regulatory InspectionSafetyChain Software
 
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdfWeb & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdfJayanti Pande
 
Accessible design: Minimum effort, maximum impact
Accessible design: Minimum effort, maximum impactAccessible design: Minimum effort, maximum impact
Accessible design: Minimum effort, maximum impactdawncurless
 
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactBeyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactPECB
 
Arihant handbook biology for class 11 .pdf
Arihant handbook biology for class 11 .pdfArihant handbook biology for class 11 .pdf
Arihant handbook biology for class 11 .pdfchloefrazer622
 
Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...
Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...
Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...fonyou31
 
BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...
BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...
BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...Sapna Thakur
 
social pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajan
social pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajansocial pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajan
social pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajanpragatimahajan3
 
9548086042 for call girls in Indira Nagar with room service
9548086042  for call girls in Indira Nagar  with room service9548086042  for call girls in Indira Nagar  with room service
9548086042 for call girls in Indira Nagar with room servicediscovermytutordmt
 
1029 - Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf
1029 -  Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf1029 -  Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf
1029 - Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdfQucHHunhnh
 
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17Celine George
 
Software Engineering Methodologies (overview)
Software Engineering Methodologies (overview)Software Engineering Methodologies (overview)
Software Engineering Methodologies (overview)eniolaolutunde
 

Recently uploaded (20)

Measures of Central Tendency: Mean, Median and Mode
Measures of Central Tendency: Mean, Median and ModeMeasures of Central Tendency: Mean, Median and Mode
Measures of Central Tendency: Mean, Median and Mode
 
The byproduct of sericulture in different industries.pptx
The byproduct of sericulture in different industries.pptxThe byproduct of sericulture in different industries.pptx
The byproduct of sericulture in different industries.pptx
 
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
 
A Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy ReformA Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy Reform
 
Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3
Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3
Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3
 
Mastering the Unannounced Regulatory Inspection
Mastering the Unannounced Regulatory InspectionMastering the Unannounced Regulatory Inspection
Mastering the Unannounced Regulatory Inspection
 
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdfWeb & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
 
Accessible design: Minimum effort, maximum impact
Accessible design: Minimum effort, maximum impactAccessible design: Minimum effort, maximum impact
Accessible design: Minimum effort, maximum impact
 
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactBeyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
 
Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1
Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1
Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1
 
Arihant handbook biology for class 11 .pdf
Arihant handbook biology for class 11 .pdfArihant handbook biology for class 11 .pdf
Arihant handbook biology for class 11 .pdf
 
Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...
Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...
Ecosystem Interactions Class Discussion Presentation in Blue Green Lined Styl...
 
BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...
BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...
BAG TECHNIQUE Bag technique-a tool making use of public health bag through wh...
 
social pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajan
social pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajansocial pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajan
social pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajan
 
Mattingly "AI & Prompt Design: Structured Data, Assistants, & RAG"
Mattingly "AI & Prompt Design: Structured Data, Assistants, & RAG"Mattingly "AI & Prompt Design: Structured Data, Assistants, & RAG"
Mattingly "AI & Prompt Design: Structured Data, Assistants, & RAG"
 
9548086042 for call girls in Indira Nagar with room service
9548086042  for call girls in Indira Nagar  with room service9548086042  for call girls in Indira Nagar  with room service
9548086042 for call girls in Indira Nagar with room service
 
1029 - Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf
1029 -  Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf1029 -  Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf
1029 - Danh muc Sach Giao Khoa 10 . pdf
 
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
 
Advance Mobile Application Development class 07
Advance Mobile Application Development class 07Advance Mobile Application Development class 07
Advance Mobile Application Development class 07
 
Software Engineering Methodologies (overview)
Software Engineering Methodologies (overview)Software Engineering Methodologies (overview)
Software Engineering Methodologies (overview)
 

ตอนที่ 5 สรุปผลวิจัยรูปแบบ cbl

  • 1. ตอนที่ 5 การใช้รูปแบบการสอน 5.1 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” จานวน 60 คน โดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จานวน 30 คนเป็นกลุ่ม ทดลอง และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 จานวน 30 คน เป็นกลุ่มควบคุม การสุ่มตัวอย่างเป็นการสุ่มตัวอย่าง โดยใช้วิธีจับฉลาก 5.2 วิธีดาเนินการใช้รูปแบบการสอน ขั้นตอนการดาเนินการใช้รูปแบบการสอน 1. แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ได้รับการจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL กลุ่มควบคุม เป็ นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 2/3 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบปกติ 2. ทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) โดยใช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ทวีปยุโรป เป็นจานวน 20 ข้อ ตรวจและเก็บคะแนนเพื่อนาไปวิเคราะห์ข้อมูล 3. ดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ทวีปยุโรป ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จานวน 10 ชั่วโมง โดยใช้รูปแบบการสอน CBL และรูปแบบปกติ 4. สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมและบันทึกผลการปฏิบัติงาน ในแบบประเมินทักษะการวิเคราะห์วิชาสังคมศึกษา 5. เมื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครบตามแผนการจัดการเรียนรู้เรียบร้อยแล้วทาาการทดสอบหลังเรียน (Post-Test) โดยใช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ทวีปยุโรป จานวน 20 ข้อ ตรวจเก็บคะแนน เพื่อนาไปวิเคราะห์ข้อมูล 6. ให้นักเรียนทาแบบวัดเจตคติต่อกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง สาหรับนักเรียนกลุ่มทดลองให้ทาแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป โดยใช้รูปแบบการสอน CBL 5.3 ระยะเวลาในการใช้รูปแบบการสอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ระหว่างวันที่ 1 – 30 มกราคม 2562 จานวน 10 ชั่วโมง
  • 2. ตอนที่ 6 ผลการใช้รูปแบบการสอน 6.1 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้รูปแบบการสอน CBL เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการ ค้นคว้า วิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” ผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูล 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านเจตคติและด้านทักษะกระบวนการ ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลอง กับกลุ่มควบคุม โดยทดสอบค่าที (t-test) ดังนี้ - การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม - การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้หลังเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม - การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลอง - การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มควบคุม 2. การวิเคราะห์ข้อมูลทักษะการค้นคว้าวิชาสังคมศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (M) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมแล้วแปลผลตามเกณฑ์ ที่กาหนด 3. การวิเคราะห์เจตคติที่มีต่อวิชาสังคมศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (M) และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมแล้วแปลผลตามเกณฑ์ที่กาหนด 4. วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ CBL วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (M) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วแปลผลตามเกณฑ์ ที่กาหนด
  • 3. สูตรที่ใช้ในการคานวณ 1. การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ใช้สูตรในการคานวณ (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ไทย และ สมจิตรา เรืองศรี, 2557, หน้า 146) ดังนี้ 𝑀 = Σ𝑋 𝑁 เมื่อ M แทน คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง Σ𝑋 แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่มตัวอย่าง N แทน จานวนนักเรียนทั้งหมดในกลุ่มตัวอย่าง 2. การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สูตรในการคานวณ (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ไทย และ สมจิตรา เรืองศรี, 2557, หน้า 167) ดังนี้ S.D. = √𝑛Σ𝑋2+(Σ𝑋)2 𝑛 เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละตัว n แทน จานวนกลุ่มตัวอย่าง ∑ แทน ผลรวม 3. การวิเคราะห์ผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของคะแนนซึ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ไม่อิสระ จากกัน หรือการคานวณค่า (t-test dependent) ใช้สูตรในการคานวณ (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ ไทย และ สมจิตรา เรืองศรี 2557, หน้า 204) ดังนี้ t = 𝑑 ̅ 𝑆 𝑑 √𝑛 ⁄ , df = n – 1 เมื่อ n คือ จานวนคู่ของการทดลอง 𝑑̅ คือ Σ𝑑𝑖 𝑛 𝑆𝑑 คือ √ 𝑛Σ𝑑𝑖 2 −(Σ𝑑𝑖)2 𝑛(𝑛−1) 𝑑𝑖 คือ ผลต่างของคะแนนของกลุ่มตัวอย่างคู่ที่ i
  • 4. 4. การวิเคราะห์ผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของคะแนนซึ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่อิสระจากกัน หรือ การคานวณค่า (t-test independent) ใช้สูตรในการคานวณ (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ไทย และ สมจิตรา เรืองศรี 2557, หน้า 203) ดังนี้ t = 𝑋 ̅1 − 𝑋 ̅2 √ 𝑠1 2 𝑛1 + 𝑠2 2 𝑛2 df = ( 𝑠1 2 𝑛1 + 𝑠2 2 𝑛2 )2 ( 𝑠1 2 𝑛 1−1 + 𝑠2 2 𝑛 2−1 )2 เมื่อ t คือ ค่าที่ได้จากการวิเคราะห์ผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 𝑥̅̅1 คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของของนักเรียนกลุ่มทดลอง 𝑥̅̅2 คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของนักเรียนกลุ่มควบคุม 𝑠1 2 คือ ค่าความแปรปรวนของคะแนนของนักเรียนกลุ่มทดลอง 𝑠2 2 คือ ค่าความแปรปรวนของคะแนนของนักเรียนกลุ่มควบคุม 𝑛1 คือ จานวนนักเรียนกลุ่มทดลอง 𝑛2 คือ จานวนนักเรียนกลุ่มควบคุม df คือ ชั้นแห่งความอิสระ 5. การหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) โดยใช้สูตร (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ไทย และ สมจิตรา เรืองศรี, 2557, หน้า 328 - 330) IOC = ∑𝑅 𝑁 เมื่อ IOC คือ ค่าดัชนีความสอดคล้อง R คือ คะแนนความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละท่าน N คือ จานวนผู้ทรงคุณวุฒิ
  • 5. 6. ค่าความยากง่าย (Difficulty) หาค่าความยากง่าย (p) และค่าอ านาจจ าแนก (r) ของแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน โดยใช้สูตร K-R 20 ของคูเดอร์ริชาร์ดสัน (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ไทย และ สมจิตรา เรืองศรี, 2557, หน้า333 –340) 1) หาค่าความยากง่าย (p) จากสูตร p = R𝐻+R𝐿 𝑛 และหาค่าอานาจจาแนก (r) จากสูตร r = R𝐻−R𝐿 𝑛 เมื่อ R𝐻 แทน จานวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มสูง R𝐿 แทน จานวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มต่า n แทน จานวนคนทั้งหมดในกลุ่มสูงและกลุ่มต่า 2) ค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรKR 20 ของคูเดอร์ริชาร์ดสัน (สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์, บุญมี พันธุ์ไทย และ สมจิตรา เรืองศรี, 2557, หน้า 321 -324) โดยใช้สูตร KR 20 = 𝑘 𝑘−1 [1 − Σ𝑝𝑞 𝑠𝑥 2 ] เมื่อ k แทน จานวนข้อสอบ P แทน สัดส่วนของคนที่ตอบถูก q แทน สัดส่วนของคนที่ถูกผิด 𝑠𝑥 2 แทน ความแปรปรวนของคะแนน 7. วิธีการวัดคะแนนสัมพัทธ์ (relative gain score) เป็นการวัดคะแนนพัฒนาการโดย ศิริชัย กาญจนวาสี ในปี 2532 โดยคะแนนพัฒนาการเกิดจากค่าอัตราส่วนร้อยละระหว่างผลต่างของคะแนนสอบหลังเรียน กับคะแนน สอบก่อนเรียน กับผลต่างของคะแนนเต็มกับคะแนนสอบก่อนเรียน RG = 𝑌2 – 𝑌1 𝐹−𝑌1 × 100 เมื่อ RG แทน คะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ F แทน คะแนนเต็มในการวัด Y2 แทน คะแนนสอบก่อนเรียน Y1 แทน คะแนนสอบหลังเรียน
  • 6. 6.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ตารางที่ 12 การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียน วิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป ระหว่างการ เรียนรู้แบบ CBL ของกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมซึ่งสอนด้วยรูปแบบการสอนแบบปกติ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 นักเรียน จานวน ค่าเฉลี่ย S.D. ค่า t Sig กลุ่มทดลอง 30 5.10 1.213 3.225 .002 กลุ่มควบคุม 30 4.13 1.106 * P < .05 จากตารางที่ 12 พบว่า ผลการเรียนรู้ทางการเรียนก่อนเรียน วิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป มีความ แตกต่างของค่าเฉลี่ยทั้งสองกลุ่มของผู้เรียน กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5.10 คะแนน กลุ่มควบคุมมี คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบแล้ว มีความแตกต่างกันเท่ากับ 0.97 คะแนน ดังนั้นจากการ ทดสอบสถิติ t พบว่า คะแนนเฉลี่ยระหว่างผู้เรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 2.การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มทดลอง ตารางที่ 13 การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป ซึ่ง สอนด้วยรูปแบบการสอนแบบ CBL ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นักเรียน จานวน ค่าเฉลี่ย S.D. ค่า t Sig ก่อนเรียน 30 5.10 1.213 15.333 .000 หลังเรียน 30 8.40 .894 * P < .05 จากตารางที่ 13 พบว่าผลการเรียนรู้ทางการเรียนก่อนเรียน กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5.10 คะแนน และหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.40 คะแนน ตามลาดับ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนน ก่อนและหลังเรียน พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้นกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05
  • 7. 3. การเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มควบคุม ตารางที่ 14 การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป ซึ่งสอนด้วยรูปแบบการสอนแบบปกติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นักเรียน จานวน ค่าเฉลี่ย S.D. ค่า t Sig ก่อนเรียน 30 4.13 1.106 12.970 .000 หลังเรียน 30 6.50 .777 * P < .05 จากตารางที่ 14 พบว่า ผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนกลุ่มควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 คะแนน และ 6.50 คะแนนตามลาดับ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียน พบว่า คะแนน สอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. การเปรียบเทียบคะแนนหลังเรียนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ตารางที่ 15 การเปรียบเทียบคะแนนหลังเรียนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม นักเรียน จานวน ค่าเฉลี่ย S.D. ค่า t Sig กลุ่มทดลอง 30 8.40 .894 8.784 .000 กลุ่มควบคุม 30 6.50 .777 * P < .05 จากตารางที่ 15 พบว่า ผลการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยทั้งสองกลุ่มของผู้เรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.40 คะแนน กลุ่มควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 6.50 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบแล้ว มี ความแตกต่างกันเท่ากับ 1.9 คะแนน ดังนั้นจากการทดสอบสถิติ t พบว่า คะแนนเฉลี่ยระหว่างผู้เรียน กลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
  • 8. ตารางที่ 16 ตารางวิเคราะห์ผลสอบคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ของวิชาสังคมศึกษาด้านทักษะการค้นคว้า ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คน ที่ กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม ม.2/1 ก่อนเรียน ม. 2/1 หลังเรียน คะแนนพัฒนาการ สัมพัทธ์ ม.2/3 ก่อนเรียน ม.2/3 หลังเรียน คะแนนพัฒนาการ สัมพัทธ์ 1 4 8 66.67 2 7 62.50 2 5 8 60.00 3 6 42.86 3 5 8 60.00 4 6 33.33 4 5 9 80.00 4 7 50.00 5 5 9 80.00 4 6 33.33 6 3 8 71.43 3 6 42.86 7 4 7 50.00 2 5 37.50 8 6 9 75.00 5 8 60.00 9 5 9 80.00 4 7 50.00 10 4 9 83.33 3 6 42.86 11 4 7 50.00 4 7 50.00 12 6 8 50.00 4 7 50.00 13 6 8 50.00 3 8 71.43 14 7 10 100.00 4 6 33.33 15 6 7 25.00 5 7 40.00 16 7 10 100.00 4 7 50.00 17 5 8 60.00 4 6 33.33 18 6 9 75.00 4 6 33.33 19 5 7 40.00 7 8 33.33 20 6 9 75.00 3 5 28.57 21 3 9 85.71 6 7 25.00 22 7 9 66.67 4 6 33.33 23 2 8 75.00 5 7 40.00
  • 9. คน ที่ กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม ม.2/1 ก่อนเรียน ม. 2/1 หลังเรียน คะแนนพัฒนาการ สัมพัทธ์ ม.2/1 ก่อนเรียน ม. 2/1 หลังเรียน คะแนนพัฒนาการ สัมพัทธ์ 24 5 7 40.00 5 6 20.00 25 6 9 75.00 6 7 25.00 26 6 8 50.00 5 6 20.00 27 5 8 60.00 4 6 33.33 28 5 9 80.00 4 6 33.33 29 6 10 100.00 5 7 40.00 30 4 8 66.67 4 6 33.33 เฉลี่ย 67.68 เฉลี่ย 39.40 จากตารางที่ 16 แสดงผลการวิเคราะห์คะแนนพัฒนาการทักษะการค้นคว้าข้อมูลของวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนพัฒนาการทักษะการค้นคว้าข้อมูล มีระดับ คุณภาพเฉลี่ยเท่ากับ 67.68 สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่มีคะแนนพัฒนาการทักษะการค้นคว้าข้อมูล ระดับคุณภาพ เฉลี่ยเท่ากับ 39.40 แสดงว่ากลุ่มทดลองมีทักษะการค้นคว้าข้อมูลสูงกว่ากลุ่มควบคุม
  • 10. ตารางที่ 17 การเปรียบเทียบทักษะการค้นคว้าข้อมูล ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เลขที่ ครั้งที่ กลุ่มทดลอง ครั้งที่ กลุ่มควบคุม 1 2 3 4 M S.D. แปลผล 1 2 3 4 M S.D. แปลผล 1 14 15 15 17 15.25 5.90 ดีมาก 12 11 12 13 12.00 0.71 ดี 2 14 15 16 16 15.25 5.46 ดีมาก 10 10 11 11 10.50 0.50 ดี 3 14 15 15 17 15.25 5.10 ดีมาก 10 10 10 11 10.25 0.43 ดี 4 14 15 16 16 15.25 4.65 ดีมาก 14 14 15 15 14.50 0.50 ดี 5 14 15 15 17 15.25 4.30 ดีมาก 12 13 14 14 13.25 0.83 ดี 6 14 15 16 16 15.25 3.85 ดีมาก 12 15 15 14 14.00 1.22 ดี 7 15 17 16 17 16.25 3.85 ดีมาก 14 14 14 13 13.75 0.43 ดี 8 14 15 16 16 15.25 3.05 ดีมาก 14 13 14 15 14.00 0.71 ดี 9 14 15 15 15 14.75 2.38 ดี 13 15 14 15 14.25 0.83 ดี 10 14 15 16 16 15.25 2.27 ดีมาก 13 15 14 16 14.50 1.12 ดี 11 14 15 16 16 15.25 1.89 ดีมาก 13 12 15 15 13.75 1.30 ดี 12 14 15 16 16 15.25 1.52 ดีมาก 13 14 12 15 13.50 1.12 ดี 13 14 15 15 17 15.25 1.34 ดีมาก 14 14 14 15 14.25 0.43 ดี 14 14 15 16 16 15.25 0.90 ดีมาก 12 12 13 13 12.50 0.50 ดี 15 14 15 15 15 14.75 0.40 ดี 12 15 14 12 13.25 1.30 ดี 16 15 15 16 15 15.25 0.49 ดีมาก 12 15 15 14 14.00 1.22 ดี 17 14 15 15 17 15.25 1.21 ดีมาก 14 13 15 13 13.75 0.83 ดี 18 14 15 15 17 15.25 1.49 ดีมาก 13 15 15 15 14.50 0.87 ดี 19 14 15 15 15 14.75 1.78 ดี 13 15 15 15 14.50 0.87 ดี 20 14 15 16 16 15.25 2.08 ดีมาก 13 12 13 13 12.75 0.43 ดี 21 14 15 16 16 15.25 2.46 ดีมาก 12 11 13 12 12.00 0.71 ดี 22 14 15 16 16 15.25 2.85 ดีมาก 14 13 13 14 13.50 0.50 ดี 23 14 14 15 15 14.50 3.50 ดี 14 13 14 12 13.25 0.83 ดี
  • 11. 24 14 15 15 17 15.25 3.70 ดีมาก 12 12 14 14 13.00 1.00 ดี 25 14 15 16 16 15.25 4.05 ดีมาก 12 13 14 13 13.00 0.71 ดี 26 14 15 16 16 15.25 4.45 ดีมาก 12 13 14 14 13.25 0.83 ดี เลขที่ ครั้งที่ กลุ่มทดลอง ครั้งที่ กลุ่มทดลอง 1 2 3 4 M S.D. แปลผล 1 2 3 4 M S.D. แปลผล 27 14 15 16 16 15.25 4.85 ดีมาก 12 14 15 15 14.00 1.22 ดี 28 14 15 16 16 15.25 5.26 ดี 13 14 15 13 13.75 0.83 ดี 29 14 15 16 16 15.25 5.66 ดีมาก 13 14 14 15 14.00 0.71 ดี 30 14 15 16 16 15.25 6.07 ดีมาก 13 14 13 14 13.50 0.50 ดี รวม 15.21 ดีมาก รวม 13.37 ดี จากตารางที่ 16 จะเห็นได้ว่ากลุ่มทดลองมีทักษะการค้นคว้าข้อมูลอยู่ในระดับดีมาก มีระดับคุณภาพเฉลี่ย เท่ากับ 15.21 สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่มีทักษะการค้นคว้าอยู่ในระดับดี มีระดับคุณภาพเฉลี่ยเท่ากับ 13.37
  • 12. ตารางที่ 17 การเปรียบเทียบเจตคติที่มีต่อวิชาสังคมศึกษาระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ข้อ ประเด็นการประเมิน กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม M S.D. แปลผล M S.D. แปลผล 1 นักเรียนมีความตั้งใจอย่างมากขณะที่เรียนวิชาสังคมศึกษา 4.37 0.87 มาก 4.13 0.92 มาก 2 นักเรียนได้ฝึกการคิดและการตัดสินใจเมื่อได้ทากิจกรรม ในวิชาสังคมศึกษา 4.47 0.67 มาก 3.93 1.06 มาก 3 นักเรียนชอบซักถามข้อสงสัยในขณะเรียนวิชาสังคมศึกษา 4.60 0.61 มากที่สุด 4.30 0.86 มาก 4 นักเรียนมีความสนุกและความเพลิดเพลินที่ได้แลกเปลี่ยน ความรู้กับเพื่อนๆในชั่วโมงเรียนวิชาสังคมศึกษา 4.37 0.87 มาก 4.40 0.66 มาก 5 นักเรียนประสบผลสาเร็จเมื่อทากิจกรรมในวิชาสังคมศึกษา 4.53 0.67 มากที่สุด 4.17 0.86 มาก 6 การเรียนวิชาสังคมศึกษาทาให้นักเรียนเรียนรู้สิ่งที่อยู่ใกล้ตัว และไกลตัวมากยิ่งขึ้น 4.77 0.42 มากที่สุด 4.07 0.93 มาก 7 เมื่อเรียนวิชาสังคมศึกษาแล้วทาให้นักเรียนฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์ 4.33 0.79 มาก 3.60 0.88 มาก 8 มีการยอมรับฟังความคิดเห็นเมื่อทากิจกรรมในวิชาสังคมศึกษา 4.67 0.60 มากที่สุด 3.87 1.06 มาก 9 นักเรียนมีความซื่อสัตย์และเป็นกลางในการตัดสินใจแก้ปัญหา ในกิจการต่าง ๆ ในเวลาเรียนสังคมศึกษา 4.50 0.67 มาก 4.17 1.07 มาก 10 นักเรียนมีความพยายามที่จะเสาะแสวงหาความรู้ใน สถานการณ์ใหม่ๆเมื่อเรียนวิชาสังคมศึกษา 4.77 0.42 มากที่สุด 4.47 0.72 มาก 11 นักเรียนมีความขยันและพยายามที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ในขณะ เรียนวิชาสังคมศึกษา 4.50 0.62 มาก 4.50 0.56 มาก 12 นักเรียนให้ความสนใจปัญหาในสังคมมากขึ้นเมื่อเรียนวิชา สังคมศึกษา 4.47 0.72 มาก 4.40 0.76 มาก 13 นักเรียนนาความรู้ที่ได้เรียนในวิชาสังคมศึกษาไปเผยแพร่ ให้ ผู้อื่นได้รู้ 4.50 0.72 มาก 4.33 0.83 มาก 14 นักเรียนมีความรู้สึกที่ดีต่อวิชาสังคมศึกษา 4.57 0.56 มากที่สุด 4.47 0.62 มาก 15 ขณะเรียนวิชาสังคมศึกษามีการบูรณาการกับรายวิชาอื่นๆ 4.30 0.74 มาก 4.13 1.06 มาก เฉลี่ยรวม 4.51 0.66 มากที่สุด 4.20 0.86 มาก
  • 13. จากตารางที่ 19 แสดงให้เห็นว่าในภาพรวมนักเรียนกลุ่มทดลองมีเจตคติต่อวิชาสังคมศึกษาอยู่ใน ระดับมากที่สุด โดยมีค่าความคิดเห็นเฉลี่ยอยู่ที่ 4.51 สูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่มีเจตคติต่อวิชาสังคมศึกษา อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าความคิดเห็นเฉลี่ยอยู่ที่ 4.20 6.3 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL วิธีสร้างเครื่องมือและลักษณะเครื่องมือ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL รายวิชา สังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” มีลักษณะ เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จานวน 12 ข้อ มีขั้นตอนการสร้างดังนี้ 1. ศึกษาเอกสาร ตารา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ 2. กาหนดประเด็นและรูปแบบ ในการสร้างแบบสอบถามครั้งนี้เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ดังนี้ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด 4 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก 3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง 4 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย 1 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด และกาหนดเกณฑ์ในการแปลความหมาย ดังนี้ 4.51-5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด 3.51–4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับมาก 2.51–3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับปานกลาง 1.51–2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับน้อย 1.00–1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับน้อยที่สุด 3. นาแบบสอบถามความพึงพอใจเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม 4. ปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา 5. นาแบบสอบถามความพึงพอใจไปสอบถามนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL ในรายวิชาสังคมศึกษา เรื่องทวีปยุโรป
  • 14. ตารางที่ 18 ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” ที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL ในรายวิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป ข้อ รายการประเมิน M S.D. แปลผล 1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ มีลาดับขั้นตอนเข้าใจได้ง่าย 4.27 0.73 มาก 2 กิจกรรมการเรียนรู้ฯ ส่งเสริมกระบวนการคิด วิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา 4.33 0.75 มาก 3 กิจกรรมการเรียนรู้ฯ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม 4.47 0.62 มาก 4 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติมากขึ้น 4.40 0.71 มาก 5 ผู้เรียนได้รับความรู้ความเข้าใจเนื้อหาจากกระบวนการจัดการ เรียนรู้ฯมากขึ้น 4.53 0.62 มาก ที่สุด 6 ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ 4.67 0.47 มาก ที่สุด 7 ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาได้ถูกต้อง 4.60 0.49 มาก ที่สุด 8 การได้รับความช่วยเหลือในการทากิจกรรมระหว่างผู้เรียนและ ผู้สอน 4.67 0.47 มาก ที่สุด 9 สภาพแวดล้อมในการจัดการเรียนการสอนมีความเหมาะสม 4.60 0.61 มาก ที่สุด 10 ทรัพยากรการเรียนรู้และสื่อเทคโนโลยีทันสมัยและเพียงพอต่อการเรียนรู้ 4.60 0.49 มาก ที่สุด 11 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนให้แก่ผู้เรียน 4.70 0.46 มาก ที่สุด 12 ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานอย่าง สร้างสรรค์ 4.70 0.53 มาก ที่สุด เฉลี่ยรวม 4.54 0.58 มาก ที่สุด
  • 15. จากตารางที่ 18 จะเห็นได้ว่านักเรียนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” ที่ ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL ในรายวิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป มี ความพึงพอใจต่อ รูปแบบการสอน CBL ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.54 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ด้านการจัดการเรียนรู้ ข้อที่ 11 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้แก่ผู้เรียน และข้อที่ 12 ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นฐานอย่างสร้างสรรค์ มีค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.70 นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด ด้านผู้เรียน ข้อที่ 6 ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และด้านครูผู้สอน ข้อที่ 8 การได้รับ ความช่วยเหลือในการทากิจกรรมระหว่างผู้เรียนและผู้สอน มีค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.67 นักเรียนมีความพึง พอใจมากที่สุด ด้านผู้เรียน ข้อที่ 7 ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาได้ถูกต้อง และด้านสื่อและแหล่ง เรียนรู้ ข้อที่ 9 สภาพแวดล้อมในการจัดการเรียนการสอนมีความเหมาะสม และข้อที่ 10 ทรัพยากรการเรียนรู้ และสื่อเทคโนโลยีทันสมัยและเพียงพอต่อการเรียนรู้ มีค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.60 และด้านเนื้อหา ข้อที่ 5 ผู้เรียนได้รับความรู้ความเข้าใจเนื้อหาจากกระบวนการจัดการเรียนรู้ฯมากขึ้น มีค่าความพึงพอใจ เฉลี่ยที่ 4.53 นักเรียนมีความพึงพอใจมาก ด้านครูผู้สอน ข้อที่ 3 กิจกรรมการเรียนรู้ฯ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของสมาชิกในกลุ่ม ค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.47 ข้อที่ 4 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติมากขึ้น ค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.40 ข้อที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ฯ ส่งเสริมกระบวนการคิด วิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา ค่าความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.33 และข้อที่ 1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ มีลาดับขั้นตอนเข้าใจได้ง่าย ค่าความ พึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.27 ตามลาดับ 6.4 สรุปผลการใช้รูปแบบการสอนและอภิปรายผล 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้หลังเรียน เรื่องทวีปยุโรป ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของนักเรียนกลุ่ม ทดลองสูง กว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบการสอน CBL ทาให้นักเรียนกลุ่มทดลองมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง ทวีปยุโรป สูงกว่าก่อนกลุ่มควบคุม 2. คะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ทวีปยุโรป ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมสูงกว่า คะแนน การสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการเปรียบเทียบทักษะการวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่าง นักเรียนกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL มีคะแนนทักษะการค้นคว้าสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธีปกติ
  • 16. 4. ผลการเปรียบเทียบเจตคติที่มีต่อวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างนักเรียน กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL มีคะแนนเจตคติที่มีต่อวิชาสังคมศึกษาสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธีปกติ 5. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน CBL มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการสอน CBL ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด จากผลการวิจัยพบว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบการสอน CBL วิชาสังคมศึกษา เรื่อง ทวีปยุโรป สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” ส่งผลให้นักเรียนกลุ่มทดลองมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง ทวีปยุโรป มีทักษะการค้นคว้า และมีเจตคติต่อวิชาสังคมศึกษาสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีปกติ และนักเรียนกลุ่ม ทดลองมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบการ สอน CBL ในระดับมากที่สุด 6.5 ปัญหาและอุปสรรคที่พบและข้อเสนอแนะแก้ไข ปัญหาและอุปสรรคที่พบ 1. ลักษณะการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอน CBL มีลักษณะที่แตกต่างไปจากการสอน โดยทั่วไป เป็นเหตุให้ในการดาเนินการในคาบต้น ๆ ต้องอธิบายลักษณะและแนวทางการทากิจกรรมในห้องเรียน พอสมควร 2. บางคาบนักเรียนแต่ละกลุ่มใช้เวลาในศึกษาค้นคว้าข้อมูล สรุปและนาเสนอค่อนข้างนาน ทาให้เวลา ไม่เพียงพอ ครูต้องแก้ปัญหาโดยการปรับกิจกรรมในขั้นตอนอื่น ๆ ข้อเสนอแนะแก้ไข 1. ควรมีการศึกษาผลของการใช้รูปแบบการสอน CBL กับเนื้อหาอื่น ๆ ในรายวิชาสังคมศึกษา 2. ควรมีการศึกษาผลของการใช้รูปแบบการสอน CBL กับเนื้อหาอื่น ๆ ในระดับชั้นอื่น ๆ