SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดของ Tyler
Tyler (1949 : 1) เสนอแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตร ในรูปแบบคาถาม 4 ข้อ คือ
1. จุดมุ่งหมายทางการศึกษามีอะไรบ้าง
2. ประสบการณ์ทางการศึกษาอย่างไร
3. จัดประสบการณ์ให้มีประสิทธิผลได้อย่างไร
4. จะประเมินการบรรลุจุดมุ่งหมายที่กาหนดนั้นอย่างไร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดของ Tyler ได้ดังนี้
แหล่ง : ผู้เรียน แหล่ง : สังคม แหล่ง : วิชา
จุดประสงค์ทั่วไปชั่วคราว
กรองเชิงปรัชญาทางการศึกษา กรองเชิงปรัชญาทางการศึกษา
จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ถูกต ้อง
คัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้
จัดโครงสร้างประสบการณ์การเรียนรู้
ควบคุมประสบการณ์การเรียนรู้
ประเมินผลของประสบการณ์การเรียนรู้
2
ส่วน Wiles นาเสนอวงจรหลักสูตรตามแนวคิดของ Tyler
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดของ Tabaอ้างถึงในทัศนีย์ บุญเติม (2551 : 37-38)
1. การวินิจฉัยความต้องการจาเป็น (Diagnosis of needs)
2. การกาหนดวัตถุประสงค์ของหลักสูตร (Formulation of objectives)
3. การคัดเลือกเนื้อหาสาระ (Selection of content)
4. การกาหนดโครงสร้างวินิจฉัยความต้องการจาเป็น (Organization of content)
5. การคัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ (Selection of learning experiences)
6. การกาหนดโครงสร้างของประสบการณ์การเรียนรู้ (Organization of learning
experiences)
7. การกาหนดสิ่งที่จะประเมินและวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ (Determination of
evaluate and of the ways and means of doing it)
เมื่อพิจารณาจากกระบวนการพัฒนาหลักสูตรของ Taba เห็นได้ว่า กระบวนการทั้ง
7 ขั้นนี้ยีงอยู่ในขั้นตอนแรกของระบบพัฒนาหลักสูตร คือ การเตรียมการใช้หลักสูตรเท่านั้น
จากแนวคิดดังกล่าว จึงนาเสนอรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรที่ปรับขยายแนวคิดการพัฒนา
หลักสูตรของ Tyler และ Taba ให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยเน้นด้านพื้นฐานของหลักสูตร เพื่อ
สนองความต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคลมากขึ้น
ขั้นที่ 1 กาหนดเป้ าหมาย จุดมุ่งหมาย และขอบเขต (Goals, Objectives, and
Domains)
วิเคราะห์
(Analyze)
ประเมิน
(Evaluate)
ออกแบบ
(Design)
นาไปใช ้
(Implement)
3
ขั้นที่ 2 การออกแบบหลักสูตร (Curriculum Design)
ขั้นที่ 3 การใช้หลักสูตร (Curriculum Implementation)
ขั้นที่ 4 การประเมินหลักสูตร (Curriculum Evaluation)
การพัฒนาหลักสูตรเน้นหนักในด้านพื้นฐานของหลักสูตร การเลือกกิจกรรมให้กับผู้เรียน
ความละเอียด รอบคอบในการเชื่อมโยงหลักสูตรสู่การจัดการเรียนการสอน การใช้วิธีการสอน
การใช้ทรัพยากร สื่อ และวัสดุ ที่มีความสาคัญต่อความสาเร็จของการเรียนการสอน
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของทัศนีย์ บุญเติมและคณะ
ทัศนีย์ บุญเติม (2551 : 11) ได้สรุปการพัฒนาหลักสูตรจากการรวบรวมนักวิชาการที่ให้
ความหมายการพัฒนาหลักสูตรไว้ว่า
๑) การสร้างหลักสูตร หรือ ร่างวางแผนหลักสูตร หรือ การทาหลักสูตรขึ้นมาใหม่จาก
ภาวะที่ไม่ภาวะที่ไม่เคยมีหลักสูตรนี้อยู่เลย
๒) การปรับปรุงหลักสูตร (Curriculum development) หรือ การทบทวนหลักสูตร
(curriculum revision) ที่มีอยู่ก่อนแล้วให้ดีขึ้น
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของทัศนีย์ บุญเติม และคณะ ซึ่งได้กล่าวถึงขั้นตอนและ
วิธีการเชิงบรรยาย เพื่อให้เข้าใจง่ายผู้รวบรวมกระบวนการพัฒนาหลักสูตรเป็น ๕ ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ ๑ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานที่คาดว่าจะเกี่ยวข้องในทุกๆด้าน เช่น ประวัติหรือปรัชญา
การศึกษาสังคมวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง ผู้เรียน จิตวิทยาพัฒนาการ ทฤษฎีการเรียนรู้
ธรรมชาติของเนื้อหา เป็นต้น รวมทั้งการประเมินความต้องการจาเป็น เพื่อให้รู้ข้อมูลต่างๆ
ขั้นที่ ๒ ต่อจากนั้นจึงดาเนินการร่างหลักสูตร สาเร็จเอกสารหลักสูตรหรือหลักสูตร
แม่บท ซึ่งผลจากการร่างหลักสูตรนี้อาจจะได้เอกสารและวัสดุประกอบหลักสูตรอีกด้วย
ขั้นที่ ๓ ประเมินผลระบบการร่างหลักสูตร คือ ประเมินปริบท
ขั้นที่ ๔ การใช้หลักสูตร ซึ่งเป็นกระบวนการที่สาคัญเป็นขั้นตอนของการแปลง
หลักสูตรไปสู่การสอนเพื่อให้การใช้หลักสูตรมีประสิทธิผล คือ ผลผลิตของหลักสูตรหรือผู้ผ่าน
หลักสูตร ต้องมีคุณลักษณะตามที่หลักสูตรมุ่งหวัง ยังมีการประเมินระบบการใช้หลักสูตรอีกด้วย
โดยพิจารณาจากปัจจัยนาเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์
ขั้นที่ ๕ การประเมินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร ซึ่งอาจจะจะต้องมีการประเมินทันที
เช่น ความพึงพอใจของผู้ใช้ผลผลิตของหลักสูตร ประเมินผลกระทบที่มีต่อสังคม
4
ทัศนีย์ บุญเติม ( 2551:49)
การประเมินหลักสูตร
การชาสัมพันธ์ / เผยแพร่หลักสูตร
การประเมิน
ความต้องการจาเป็ น
ข้อมูลพื้นฐาน
ประวัติ / ปรัชญาการศึกษา
สังคม / วัฒนธรรม /
เศรษฐกิจ / การเมือง /
เทคโนโลยี
ผู้เรียน
จิตวิทยาพัฒนาการ /
ทฤษฎีการเรียนรู้
ธรรมชาติของเนื้อหาวิชา
ฯลฯ
การประเมิน
ระบบการร่างหลักสูตร
ระบบการร่างหลักสูตร
ข ้อมูล
ทรัพยากร
ฯลฯ
กระบวน
การร่าง
หลักสูตร
เอก
สาร
หลัก
สูตร
การประเมิน
ระบบการร่างหลักสูตร
ระบบการร่างหลักสูตร
หลัก
สูตร
บุคลากร
การ
สนับ
สนุน
กระบวน
การใช้
หลักสูตร
ผลที่เกิดขึ้น
กับผู้เรียน
(ผลการเรียน)
ทักษะของ
ครู ฯลฯ
การประเมิน
ผลสัมฤทธิ์
ของหลักสูตร
ความพอใจของ
ผู้เรียน
การติดตามผลผู้สาเร็จ
การศึกษา
ความพอใจของผู้ใช ้
ผลผลิตของหลักสูตร
ประสิทธิภาพ /
ประสิทธิผล /
ค่าใช ้จ่าย / ฯลฯ
ผลกระทบต่อสังคม
กระบวนการพัฒนาการเอกสาร /
วัสดุ / สื่อ ประกอบหลักสูตร
การประเมินโครงการ/ประเมินหลักสูตร
5
โมเดลการพัฒนาหลักสูตรของ Oliva อ้างถึงใน ทัศนีย์บุญเติม
I II III IV V VI II
VIII IXA X IXB XI XII
จัดโครงสร้าง
และใช ้หลักสูตร
กาหนดความ
ต ้องการจาเป็น
ของผู้เรียน
โดยทั่วไป
กาหนดความ
ต ้องการจาเป็น
ของสังคม
ข ้อความแสดง
จุดมุ่งหมาย
และปรัชญาของ
การศึกษารวมทั้งความ
เชื่อเกี่ยวกับ
การเรียนรู้
กาหนด
ความต ้องการ
จาเป็นผู้เรียน
เฉพาะ
กาหนด
ความต ้องการ
จาเป็นของ
ชุมชนเฉพาะ
กาหนดความ
ต ้องการจาเป็น
ของวิชา
กาหนด
เป้าหมายของ
หลักสูตร
กาหนด
เป้าหมาย
การเรียน
การสอน
กาหนด
วัตถุประสงค์
การเรียน
การสอน
I – IV และ VI – IX ระยะการวางแผน
V ระยะการวางแผนและปฏิบัติการ
X – XII ระยะปฏิบัติการ
การคัดเลือก
ยุทธศาสตร์
การคัดเลือกเทคนิค
การประเมินเบื้องต ้น
กาหนด
วัตถุประสงค์
ของหลักสูตร
การใช ้
ยุทธศาสตร์
การคัดเลือกเทคนิค
การประเมิน
ขั้นสุดท ้าย
การประเมินการ
เขียนการสอน การประเมิน
หลักสูตร
6
ลักษณะเด่นของกระบวนการ
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของทัศนีย์ บุญเติมและคณะ มีลักษณะที่คล้ายคลึงกันกับการ
รวมโมเดลหลายๆ โมเดลเข้าด้วยกัน กล่าวคือ
ในขั้นที่ ๑ เป็นการนาแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรจาก Tyler ในเรื่องของการกาหนด
วัตถุประสงค์เพื่อมุ่งไปสู่วัตถุประสงค์ที่ต้องการ ซึ่งนักวิชาการบางท่าน อย่างเช่น Henson เรียก
วิธีการอย่างนี้ว่า End Means Model และ Posner เรียนในลักษณะทานองเดียวกันว่า The
Means-End Reasoning Process ข้อมูลที่ได้จึงนาไปสู่ขั้นตอนที่ ๒ คือ การร่างหลักสูตร
ส่วนการนาไปใช้นั้นลักษณะที่คล้ายคลึงกันกับโมเดลของ Teba ที่ให้ความสาคัญกับครู
ผู้นาหลักสูตรไปใช้พร้อมกับมีการประเมินการนาหลักสูตรไปใช้อย่างชัดเจน เกี่ยวกับเรื่องผลการ
เรียนของผู้เรียนและการสอนของครูผู้สอน
ส่วนในเรื่องของการประเมินผล มีลักษณะที่คล้ายคลึงกันกับโมเดลของ Oliva ที่เน้น
กระบวนการประเมินผลขั้นตอน ซึ่งโมเดลของทัศนีย์ บุญเติมและคณะจะเขียนการประเมินไว้ที่
กระบวนการทุกขั้นตอน
แสดงให้เห็นว่าโมเดลของทัศนีย์ บุญเติม เป็นการนาเอาจุดแข็งหลายๆ โมเดลเข้าด้วย ด้วย
รูปแบบการนาเสนอที่ชัดเจนและเรียบง่าย ซึ่งจุดเน้นก็คงจะอยู่ที่การประเมินหลักสูตรทุกขั้นตอน
นั่นเอง
Reflection :
ในการพัฒนาหลักสูตรมีหลายรูปแบบ นักการศึกษา ผู้บริหารจะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
สภาพขององค์กร และขั้นตอนแรกที่จะต้องมีคือความจาเป็นและความต้องการของนักเรียน ชุมชน
เพราะคนที่ใช้หลักสูตรคือ นักเรียน หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมานั้นต้องมีการประเมินทั้งก่อน ระหว่าง
และ หลังการใช้หลักสูตร อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าหลักสูตรได้รับการพัฒนาในช่วงแรก แต่ในช่วงที่
นาหลักสูตรไปใช้นั้นนอกจากครูเป็นผู้นาหลักสูตรไปใช้ ก็ยังมีองค์ประกอบอื่นๆที่จะทาให้
หลักสูตรมีประโยชน์กับผู้เรียนอย่างสูงสุดเช่น ฝ่ายบริหารมีการส่งเสริม สนับสนุนการสอน
ครูผู้สอน หรือไม่ นอกจากนั้นครูผูสอนต้องทาความเข้าใจหลักสูตรอย่างแท้จริงเพื่อที่จะบรรลุตาม
จุดประสงค์ที่ตั้งไว้
เนื้อหาสาระ
7
Taba จัดประเภทของหลักสูตร ดังนี้
1. หลักสูตรรายวิชา กาหนดเนื้อหาในรูปเรื่องต่างๆ เนื้อหาที่ยึดวิชา รายวิชา
หรือสาขาวิชา เป็นหลัก
2. หลักสูตรสัมพันธ์วิชา (The Broad Field Curriculum) รวมวิชาเพื่อให้
สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของกิจกรรมในประจาวันของมนุษย์ จุดบกพร่อง บางเนื้อหามี
สาระลักษณะเฉพาะไม่ครอบคลุมทุกเนื้อหา
3. หลักสูตรที่ยึดกระบวนทางสังคมและหน้าที่ของชีวิตพิจารณาเหมาะสมที่สุด
ด้านสังคมและหน้าที่เป็นหลัก กิจกรรมของมนุษย์ เนื้อหาหลักสูตรกับชีวิตเน้นหน้าที่ทางสังคม
แก้ปัญหาสังคมในปัจจุบัน
4. หลักสูตรกิจกรรมหรือหลักสูตรประสบการณ์ (The Activity or Experience
Curriculum)คนเราเรียนรู้เกิดจากประสบการณ์ กระตุ้นให้ผู้เรียนใช้วิธีการแก้ปัญหาและ
กาหนดการทางานเน้นสนใจเรียน ประสบการณ์
5. หลักสูตรวิชาแกน (The Core Curriculum) หลักสูตรจัดไว้อย่างมีเหตุผล
แต่สาระจัดสอนกันอย่างมีสาร- วิชาหรือสาขาวิชาความรู้ที่จัดเอาไว้ให้มีความสัมพันธ์กัน- จัด
เลือกหาวิชาแกน ดังเนื้อหาออกมาสอนโดยจัดเสียใหม่ ตารางชี้วัดในชุมชน ผสมผสาน
ปัญหากว้าง เน้นปัญหา เช่น หลักสูตร ปี 1-2 เน้นปัญหาสุขภาพ- การเตรียมกิจกรรมในรูป
ความต้องการที่เกิดจากกลุ่ม

More Related Content

What's hot

สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
Mod DW
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
Guntima NaLove
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
guestabb00
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
thitinanmim115
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
everadaq
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
krupornpana55
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
dnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
pronprom11
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
wannaphakdee
 

What's hot (20)

ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
 

Similar to การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา

Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum Planning
Chompri Ch
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Iaon Srichiangsa
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
looktao
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
noiiso_M2
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
Fh Fatihah
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
kruskru
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
Jiraprapa Suwannajak
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
นู๋หนึ่ง nooneung
 

Similar to การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา (20)

Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum Planning
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
 
ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 

More from nattawad147 (20)

บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
 
ปรัชญา
ปรัชญาปรัชญา
ปรัชญา
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 

การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา

  • 1. 1 กระบวนการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดของ Tyler Tyler (1949 : 1) เสนอแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตร ในรูปแบบคาถาม 4 ข้อ คือ 1. จุดมุ่งหมายทางการศึกษามีอะไรบ้าง 2. ประสบการณ์ทางการศึกษาอย่างไร 3. จัดประสบการณ์ให้มีประสิทธิผลได้อย่างไร 4. จะประเมินการบรรลุจุดมุ่งหมายที่กาหนดนั้นอย่างไร กระบวนการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดของ Tyler ได้ดังนี้ แหล่ง : ผู้เรียน แหล่ง : สังคม แหล่ง : วิชา จุดประสงค์ทั่วไปชั่วคราว กรองเชิงปรัชญาทางการศึกษา กรองเชิงปรัชญาทางการศึกษา จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ถูกต ้อง คัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ จัดโครงสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ควบคุมประสบการณ์การเรียนรู้ ประเมินผลของประสบการณ์การเรียนรู้
  • 2. 2 ส่วน Wiles นาเสนอวงจรหลักสูตรตามแนวคิดของ Tyler กระบวนการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดของ Tabaอ้างถึงในทัศนีย์ บุญเติม (2551 : 37-38) 1. การวินิจฉัยความต้องการจาเป็น (Diagnosis of needs) 2. การกาหนดวัตถุประสงค์ของหลักสูตร (Formulation of objectives) 3. การคัดเลือกเนื้อหาสาระ (Selection of content) 4. การกาหนดโครงสร้างวินิจฉัยความต้องการจาเป็น (Organization of content) 5. การคัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ (Selection of learning experiences) 6. การกาหนดโครงสร้างของประสบการณ์การเรียนรู้ (Organization of learning experiences) 7. การกาหนดสิ่งที่จะประเมินและวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ (Determination of evaluate and of the ways and means of doing it) เมื่อพิจารณาจากกระบวนการพัฒนาหลักสูตรของ Taba เห็นได้ว่า กระบวนการทั้ง 7 ขั้นนี้ยีงอยู่ในขั้นตอนแรกของระบบพัฒนาหลักสูตร คือ การเตรียมการใช้หลักสูตรเท่านั้น จากแนวคิดดังกล่าว จึงนาเสนอรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรที่ปรับขยายแนวคิดการพัฒนา หลักสูตรของ Tyler และ Taba ให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยเน้นด้านพื้นฐานของหลักสูตร เพื่อ สนองความต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคลมากขึ้น ขั้นที่ 1 กาหนดเป้ าหมาย จุดมุ่งหมาย และขอบเขต (Goals, Objectives, and Domains) วิเคราะห์ (Analyze) ประเมิน (Evaluate) ออกแบบ (Design) นาไปใช ้ (Implement)
  • 3. 3 ขั้นที่ 2 การออกแบบหลักสูตร (Curriculum Design) ขั้นที่ 3 การใช้หลักสูตร (Curriculum Implementation) ขั้นที่ 4 การประเมินหลักสูตร (Curriculum Evaluation) การพัฒนาหลักสูตรเน้นหนักในด้านพื้นฐานของหลักสูตร การเลือกกิจกรรมให้กับผู้เรียน ความละเอียด รอบคอบในการเชื่อมโยงหลักสูตรสู่การจัดการเรียนการสอน การใช้วิธีการสอน การใช้ทรัพยากร สื่อ และวัสดุ ที่มีความสาคัญต่อความสาเร็จของการเรียนการสอน กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของทัศนีย์ บุญเติมและคณะ ทัศนีย์ บุญเติม (2551 : 11) ได้สรุปการพัฒนาหลักสูตรจากการรวบรวมนักวิชาการที่ให้ ความหมายการพัฒนาหลักสูตรไว้ว่า ๑) การสร้างหลักสูตร หรือ ร่างวางแผนหลักสูตร หรือ การทาหลักสูตรขึ้นมาใหม่จาก ภาวะที่ไม่ภาวะที่ไม่เคยมีหลักสูตรนี้อยู่เลย ๒) การปรับปรุงหลักสูตร (Curriculum development) หรือ การทบทวนหลักสูตร (curriculum revision) ที่มีอยู่ก่อนแล้วให้ดีขึ้น กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของทัศนีย์ บุญเติม และคณะ ซึ่งได้กล่าวถึงขั้นตอนและ วิธีการเชิงบรรยาย เพื่อให้เข้าใจง่ายผู้รวบรวมกระบวนการพัฒนาหลักสูตรเป็น ๕ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ ๑ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานที่คาดว่าจะเกี่ยวข้องในทุกๆด้าน เช่น ประวัติหรือปรัชญา การศึกษาสังคมวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง ผู้เรียน จิตวิทยาพัฒนาการ ทฤษฎีการเรียนรู้ ธรรมชาติของเนื้อหา เป็นต้น รวมทั้งการประเมินความต้องการจาเป็น เพื่อให้รู้ข้อมูลต่างๆ ขั้นที่ ๒ ต่อจากนั้นจึงดาเนินการร่างหลักสูตร สาเร็จเอกสารหลักสูตรหรือหลักสูตร แม่บท ซึ่งผลจากการร่างหลักสูตรนี้อาจจะได้เอกสารและวัสดุประกอบหลักสูตรอีกด้วย ขั้นที่ ๓ ประเมินผลระบบการร่างหลักสูตร คือ ประเมินปริบท ขั้นที่ ๔ การใช้หลักสูตร ซึ่งเป็นกระบวนการที่สาคัญเป็นขั้นตอนของการแปลง หลักสูตรไปสู่การสอนเพื่อให้การใช้หลักสูตรมีประสิทธิผล คือ ผลผลิตของหลักสูตรหรือผู้ผ่าน หลักสูตร ต้องมีคุณลักษณะตามที่หลักสูตรมุ่งหวัง ยังมีการประเมินระบบการใช้หลักสูตรอีกด้วย โดยพิจารณาจากปัจจัยนาเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์ ขั้นที่ ๕ การประเมินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร ซึ่งอาจจะจะต้องมีการประเมินทันที เช่น ความพึงพอใจของผู้ใช้ผลผลิตของหลักสูตร ประเมินผลกระทบที่มีต่อสังคม
  • 4. 4 ทัศนีย์ บุญเติม ( 2551:49) การประเมินหลักสูตร การชาสัมพันธ์ / เผยแพร่หลักสูตร การประเมิน ความต้องการจาเป็ น ข้อมูลพื้นฐาน ประวัติ / ปรัชญาการศึกษา สังคม / วัฒนธรรม / เศรษฐกิจ / การเมือง / เทคโนโลยี ผู้เรียน จิตวิทยาพัฒนาการ / ทฤษฎีการเรียนรู้ ธรรมชาติของเนื้อหาวิชา ฯลฯ การประเมิน ระบบการร่างหลักสูตร ระบบการร่างหลักสูตร ข ้อมูล ทรัพยากร ฯลฯ กระบวน การร่าง หลักสูตร เอก สาร หลัก สูตร การประเมิน ระบบการร่างหลักสูตร ระบบการร่างหลักสูตร หลัก สูตร บุคลากร การ สนับ สนุน กระบวน การใช้ หลักสูตร ผลที่เกิดขึ้น กับผู้เรียน (ผลการเรียน) ทักษะของ ครู ฯลฯ การประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ของหลักสูตร ความพอใจของ ผู้เรียน การติดตามผลผู้สาเร็จ การศึกษา ความพอใจของผู้ใช ้ ผลผลิตของหลักสูตร ประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล / ค่าใช ้จ่าย / ฯลฯ ผลกระทบต่อสังคม กระบวนการพัฒนาการเอกสาร / วัสดุ / สื่อ ประกอบหลักสูตร การประเมินโครงการ/ประเมินหลักสูตร
  • 5. 5 โมเดลการพัฒนาหลักสูตรของ Oliva อ้างถึงใน ทัศนีย์บุญเติม I II III IV V VI II VIII IXA X IXB XI XII จัดโครงสร้าง และใช ้หลักสูตร กาหนดความ ต ้องการจาเป็น ของผู้เรียน โดยทั่วไป กาหนดความ ต ้องการจาเป็น ของสังคม ข ้อความแสดง จุดมุ่งหมาย และปรัชญาของ การศึกษารวมทั้งความ เชื่อเกี่ยวกับ การเรียนรู้ กาหนด ความต ้องการ จาเป็นผู้เรียน เฉพาะ กาหนด ความต ้องการ จาเป็นของ ชุมชนเฉพาะ กาหนดความ ต ้องการจาเป็น ของวิชา กาหนด เป้าหมายของ หลักสูตร กาหนด เป้าหมาย การเรียน การสอน กาหนด วัตถุประสงค์ การเรียน การสอน I – IV และ VI – IX ระยะการวางแผน V ระยะการวางแผนและปฏิบัติการ X – XII ระยะปฏิบัติการ การคัดเลือก ยุทธศาสตร์ การคัดเลือกเทคนิค การประเมินเบื้องต ้น กาหนด วัตถุประสงค์ ของหลักสูตร การใช ้ ยุทธศาสตร์ การคัดเลือกเทคนิค การประเมิน ขั้นสุดท ้าย การประเมินการ เขียนการสอน การประเมิน หลักสูตร
  • 6. 6 ลักษณะเด่นของกระบวนการ กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของทัศนีย์ บุญเติมและคณะ มีลักษณะที่คล้ายคลึงกันกับการ รวมโมเดลหลายๆ โมเดลเข้าด้วยกัน กล่าวคือ ในขั้นที่ ๑ เป็นการนาแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรจาก Tyler ในเรื่องของการกาหนด วัตถุประสงค์เพื่อมุ่งไปสู่วัตถุประสงค์ที่ต้องการ ซึ่งนักวิชาการบางท่าน อย่างเช่น Henson เรียก วิธีการอย่างนี้ว่า End Means Model และ Posner เรียนในลักษณะทานองเดียวกันว่า The Means-End Reasoning Process ข้อมูลที่ได้จึงนาไปสู่ขั้นตอนที่ ๒ คือ การร่างหลักสูตร ส่วนการนาไปใช้นั้นลักษณะที่คล้ายคลึงกันกับโมเดลของ Teba ที่ให้ความสาคัญกับครู ผู้นาหลักสูตรไปใช้พร้อมกับมีการประเมินการนาหลักสูตรไปใช้อย่างชัดเจน เกี่ยวกับเรื่องผลการ เรียนของผู้เรียนและการสอนของครูผู้สอน ส่วนในเรื่องของการประเมินผล มีลักษณะที่คล้ายคลึงกันกับโมเดลของ Oliva ที่เน้น กระบวนการประเมินผลขั้นตอน ซึ่งโมเดลของทัศนีย์ บุญเติมและคณะจะเขียนการประเมินไว้ที่ กระบวนการทุกขั้นตอน แสดงให้เห็นว่าโมเดลของทัศนีย์ บุญเติม เป็นการนาเอาจุดแข็งหลายๆ โมเดลเข้าด้วย ด้วย รูปแบบการนาเสนอที่ชัดเจนและเรียบง่าย ซึ่งจุดเน้นก็คงจะอยู่ที่การประเมินหลักสูตรทุกขั้นตอน นั่นเอง Reflection : ในการพัฒนาหลักสูตรมีหลายรูปแบบ นักการศึกษา ผู้บริหารจะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ สภาพขององค์กร และขั้นตอนแรกที่จะต้องมีคือความจาเป็นและความต้องการของนักเรียน ชุมชน เพราะคนที่ใช้หลักสูตรคือ นักเรียน หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมานั้นต้องมีการประเมินทั้งก่อน ระหว่าง และ หลังการใช้หลักสูตร อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าหลักสูตรได้รับการพัฒนาในช่วงแรก แต่ในช่วงที่ นาหลักสูตรไปใช้นั้นนอกจากครูเป็นผู้นาหลักสูตรไปใช้ ก็ยังมีองค์ประกอบอื่นๆที่จะทาให้ หลักสูตรมีประโยชน์กับผู้เรียนอย่างสูงสุดเช่น ฝ่ายบริหารมีการส่งเสริม สนับสนุนการสอน ครูผู้สอน หรือไม่ นอกจากนั้นครูผูสอนต้องทาความเข้าใจหลักสูตรอย่างแท้จริงเพื่อที่จะบรรลุตาม จุดประสงค์ที่ตั้งไว้ เนื้อหาสาระ
  • 7. 7 Taba จัดประเภทของหลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรรายวิชา กาหนดเนื้อหาในรูปเรื่องต่างๆ เนื้อหาที่ยึดวิชา รายวิชา หรือสาขาวิชา เป็นหลัก 2. หลักสูตรสัมพันธ์วิชา (The Broad Field Curriculum) รวมวิชาเพื่อให้ สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของกิจกรรมในประจาวันของมนุษย์ จุดบกพร่อง บางเนื้อหามี สาระลักษณะเฉพาะไม่ครอบคลุมทุกเนื้อหา 3. หลักสูตรที่ยึดกระบวนทางสังคมและหน้าที่ของชีวิตพิจารณาเหมาะสมที่สุด ด้านสังคมและหน้าที่เป็นหลัก กิจกรรมของมนุษย์ เนื้อหาหลักสูตรกับชีวิตเน้นหน้าที่ทางสังคม แก้ปัญหาสังคมในปัจจุบัน 4. หลักสูตรกิจกรรมหรือหลักสูตรประสบการณ์ (The Activity or Experience Curriculum)คนเราเรียนรู้เกิดจากประสบการณ์ กระตุ้นให้ผู้เรียนใช้วิธีการแก้ปัญหาและ กาหนดการทางานเน้นสนใจเรียน ประสบการณ์ 5. หลักสูตรวิชาแกน (The Core Curriculum) หลักสูตรจัดไว้อย่างมีเหตุผล แต่สาระจัดสอนกันอย่างมีสาร- วิชาหรือสาขาวิชาความรู้ที่จัดเอาไว้ให้มีความสัมพันธ์กัน- จัด เลือกหาวิชาแกน ดังเนื้อหาออกมาสอนโดยจัดเสียใหม่ ตารางชี้วัดในชุมชน ผสมผสาน ปัญหากว้าง เน้นปัญหา เช่น หลักสูตร ปี 1-2 เน้นปัญหาสุขภาพ- การเตรียมกิจกรรมในรูป ความต้องการที่เกิดจากกลุ่ม