SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3
ประเภทของหลักสูตร
มโนทัศน์(Concept)
การจัดประเภทของหลักสูตรว่าเป็นประเภทใดนั้นขึ้นอยู่กับการตอบสนอง
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนและสถานการณ์ต่างๆ ที่เหมาะสมแต่ละประเภทและแต่
ละระดับการศึกษาเป็นสาคัญ ประเภทของหลักสูตรสามารถแบ่งได้เป็นหลักสูตรบูรณาการ
หลักสูตรกว้าง หลักสูตรเสริมประสบการณ์ หลักสูตรรายวิชา หลักสูตรแกน หลักสูตรแฝง
หลักสูตรสัมพันธ์วิชา หลักสูตรเกลียวสว่าน และหลักสูตรสูญ เป็นต้น
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
บทเรียนนี้ออกแบบไว้ให้เรียนรู้ร่วมกันเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถ ดังนี้
1.มีความรู้ในการจัดจาแนกประเภทของหลักสูตร
2.สามารถบอกลักษณะสาคัญของหลักสูตรแต่ละประเภทได้
สาระเนื้อหา(Content)
1. หลักสูตรบูรณาการ
เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรหลายวิชาเท่านั้นมีเหตุผลและความคิด
พื้นฐานซึ่งสนับสนุนอยู่ด้วยจะขออธิบายให้ทราบโดยสังเขปดังต่อไปนี้
1. เหตุผลและพื้นฐานความคิด
1.1 เหตุผลทางจิตวิทยาและวิชาการ
โดยธรรมชาติเด็กหรือผู้เรียนจะมีความสนใจ ฉงนสนเทห์และมี
ความกระตือรือร้นในการที่จะแสวงหาความรู้และสร้างความเข้าใจในสิ่งต่างๆ อยู่เสมอ
สมองของเด็กจะไม่จากัดอยู่กับการเรียนรู้วิชาใดวิชาหนึ่งเป็นส่วนๆ
1.2 เหตุผลทางสังคมวิทยา
เป็นที่ยอมรับกันแล้วว่า การศึกษาจะเกิดผลดีที่สุดก็ต่อเมื่อให้ผู้เรียนสามารถ
ตอบปัญหาในชีวิตประจาวันได้ด้วยเหตุนี้หลักสูตรจึงต้องเป็นหลักสูตรสนับสนุนสิ่ง
ดังกล่าวซึ่งคุณสมบัตินี้มีอยู่ในหลักสูตรบูรณาการ
1.3 เหตุผลทางการบริหาร
หลักสูตรบูรณาการช่วยให้ลดตาราเรียนได้ คือแทนที่จะแยกเป็นตาราสาหรับ
แต่ละวิชา ซึ่งทาให้ต้องใช้ตาราหลายเล่ม ก็อาจรวมเนื้อหาของหลายวิชาไว้ในตาราเล่ม
เดียวกันและยังสามารถทาให้เป็นที่น่าสนใจมากขึ้นด้วย
2. ลักษณะของหลักสูตรบูรณาการที่ดี
ในการผสมผสานวิชาหรือสาขาวิชาต่างๆ เพื่อให้ได้หลักสูตรบูรณาการนั้น
ถ้าจะให้ดีจริงๆนักพัฒนาหลักสูตรจะต้องพยายามให้เกิดบูรณาการในลักษณะต่อไปนี้
โดยครบถ้วนคือ
1. บูรณาการระหว่างความรู้และกระบวนการเรียนรู้
2. บูรณาการระหว่างพัฒนาการทางความรู้และพัฒนาการทางจิตใจ
3. บูรณาการระหว่างความรู้และการกระทา
4. บูรณาการระหว่างสิ่งที่เรียนในโรงเรียนกับสิ่งที่เป็นอยู่ในชีวิตประจาวัน
ของผู้เรียน
5. บูรณาการระหว่างวิชาต่างๆ
3. รูปแบบของบูรณาการ
หลักสูตรบูรณาการเท่าที่มีอยู่ในเวลานี้มี 3 รูปแบบ
1. บูรณาการภายในหมวดวิชา
เราได้ทราบแล้วว่าหลักสูตรกว้างนั้นเป็นหลักสูตรที่ได้มี การนาเอาวิชาหลายๆ
วิชามารวมกันในลักษณะที่ผสมกลมกลืน แทนที่จะนาเอาเนื้อวิชามาเรียงลาดับกันเฉยๆ
2. บูรณาการ ภายในหัวข้อ และโครงการ หลายประเทศในเอเชียนิยมใช้
วิธีการแบบนี้คือการนาเอาความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ของวิชาหรือหมวดวิชาตั้งแต่
สองวิชาหรือหมวดวิชาขึ้นไป มาผสมผสานกันในลักษณะที่เป็นหัวข้อหรือโครงการ
3. บูรณาการโดยการผสมผสานปัญหาและความต้องการของผู้เรียนและของ
สังคม หลักสูตรที่ใช้การผสมผสานแบบนี้ ความจริงก็มีรูปแบบเหมือนอย่างสองแบบ
แรกที่ได้กล่าวมาแล้วคืออาจผสมผสานภายในหมวดวิชาหรือภายในหัวข้อและโครงการ
ก็ได้
2. หลักสูตรกว้าง
หลักสูตรกว้าง (The Broad-Field Curriculum) เป็นหลักสูตรอีก
แบบหนึ่งที่พยายามแก้ไขจุดอ่อนของหลักสูตรรายวิชา โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะ
ส่งเสริมการเรียนการสอนให้เป็นที่น่าสนใจและเร้าใจ ช่วยให้ผู้เรียนมีความ
เข้าใจและสามารถปรับตนให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมได้เป็นอย่างดี รวมทั้งให้
มีพัฒนาการในด้านต่างๆ ทุกด้าน กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือพยายามจะหนีจาก
หลักสูตรที่ยึดวิชาเป็นพื้นฐาน มีครูหรือผู้สอนเป็นผู้สั่งการแต่เพียงผู้เดี
3. หลักสูตรประสบการณ์
หลักสูตรประสบการณ์ (The Experience Curriculum) เกิดขึ้นเพื่อ
แก้ปัญหาที่ว่าหลักสูตรเดิมที่ใช้อยู่ ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรรายวิชาหรือหลักสูตรกว้าง
ล้วนไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนเท่าที่ควร พื้นฐาน
ความคิดของหลักสูตรนี้มีมาตั้งแต่สมัยรุซโซ (Rousseau) และเพลโต (Plato)
แต่ได้นามาปฏิบัติจริงเมื่อต้นศตวรรษที่ 20 นี้เองนับเป็นก้าวแรกที่ยึดเด็กหรือผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง
4. หลักสูตรรายวิชา
หลักสูตรรายวิชา (The Subject Curriculum) เป็นหลักสูตรที่ใช้กันมา
แต่ดั้งเดิมไม่เฉพาะแต่ในยุโรปหรือสหรัฐอเมริกาเท่านั้น ประเทศในเอเชียรวมทั้ง
ประเทศไทยก็ได้ใช้หลักสูตรแบบนี้มาแต่ต้น การที่เรียนกว่าหลักสูตรรายวิชาก็
เนื่องจากโครงสร้างของเนื้อหาวิชาในหลักสูตร จะถูกแยกออกจากกันเป็นรายวิชา
โดยไม่จาเป็นต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกันไม่ว่าในด้านเนื้อหาหรือการสอน สาหรับ
เนื้อหาที่คัดมาถือว่าเป็นเนื้อหาที่สาคัญและจาเป็นต่อการเรียนรู้ หลักสูตรของไทย
เราที่ยังเป็นหลักสูตรรายวิชา ได้แก่ หลักสูตรมัธยมและอุดมศึกษา แต่มีการ
ปรับปรุงโครงสร้าง โดยนาเอาระบบหน่วยกิตมาใช้
5. หลักสูตรแกน
หลักสูตรแกน (The Core Curriculum) ถือกาเนิดขึ้นที่สหรัฐอเมริกาเมื่อ
ประมาณปี ค.ศ. 1900 ด้วยเหตุผลสองประการ คือ ความพยายามที่จะปลีกตัวออก
จากการเรียนที่ต้องแบ่งแยกวิชาออกเป็นรายวิชาย่อยๆ หรือพูดง่ายๆ ก็คือความ
พยายามที่จะให้หลุดพ้นจากการเป็นหลักสูตรรายวิชา ประการหนึ่ง และความพยายาม
ที่จะดึงเอาความต้องการและปัญหาของสังคมมาเป็นศูนย์กลางของหลักสูตร อีก
ประการหนึ่ง
แรกทีเดียวได้มีการนาเอาเนื้อหาของวิชาต่างๆ มารวมกันเข้าเป็นวิชา
กว้างๆ เรียกว่าหมวดวิชา ทาให้เกิดหลักสูตรแบบกว้างขึ้น แต่หลักสูตรนี้มิได้มีส่วน
สัมพันธ์กับปัญหาและความต้องการของสังคมมากนัก ดังนั้นจึงมีผู้คิดหลักสูตรแกน
เพื่อสนองจุดหมายที่ต้องการ
6. หลักสูตรแฝง (Hidden Curriculum)
โรงเรียนโดยทั่วไปจะมีความสามารถและประสบความสาเร็จอย่างมาก
ในการสอนให้นักเรียนอ่านออก เขียนได้คิดเลขเป็นและมีความรู้อย่างดียิ่งใน
สาขาวิชาต่างๆ แต่สิ่งหนึ่งที่โรงเรียนได้ตระหนักและพยายามอย่างมาก แต่ไม่ค่อย
ประสบความสาเร็จหรืออาจจะเรียกได้ว่าล้มเหลวมาตลอดก็คือ การสอนคุณธรรม
จริยธรรม และความเป็นพลเมืองดีให้แก่นักเรียน เด็กเหล่านี้ได้รับการปลูกฝัง และ
อบรมสั่งสอนจากครูอย่างจริงจัง แต่พวกเขาก็ไม่ค่อยปฏิบัติตามสิ่งที่ครูสอนมากนัก
แม้จะมีนักเรียนบางคนประพฤติตนตามคาสอนของครูอย่างเคร่งครัด แต่เมื่อเขาออก
จากโรงเรียนไปแล้วก็เปลี่ยนพฤติกรรมและค่านิยมไปตามสังคมที่เรามองกันว่าไม่
เหมาะสม
7. หลักสูตรสัมพันธ์วิชา
หลักสูตรสัมพันธ์วิชา (The CorrelatedCurriculum) เป็น
หลักสูตรรายวิชาที่ได้รับการปรับปรุงเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ แรกทีเดียว
การแก้ไขข้อบกพร่องทาโดยการนาเอาเทคนิคการสอนใหม่ๆ มาใช้ เช่น ให้
ผู้เรียนร่วมในการวางแผนการเรียน และให้ผู้เรียนทากิจกรรมต่างๆ
นอกเหนือจากการท่องจา เพื่อให้ผู้เรียนรู้เนื้อหาที่ต้องการ ทั้งนี้เพื่อแก้
ข้อบกพร่องของหลักสูตรที่เน้นเรื่องผู้สอนเป็นผู้สั่งการหรือจุดศูนย์กลาง
ของการเรียนการสอน แต่การปรับปรุงด้านเทคนิคการสอนไม่ได้ช่วยแก้ไข
ข้อบกพร่องที่ว่า หลักสูตรรายวิชามีขอบเขตแคบเฉพาะวิชา และยังมี
ลักษณะแบ่งแยกเป็นส่วนย่อยๆ อีกด้วย
8. หลักสูตรเกลียวสว่าน (Spiral Curriculum)
ปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นเสมอในระหว่างผู้จัดทาหลักสูตรด้วยกันเอง
ได้แก่ ข้อสงสัยที่ว่าทาไมจึงต้องจัดหัวข้อเนื้อหาในเรื่องเดียวกันซ้าๆ กันอยู่เสมอ
ในเกือบทุกระดับชั้น แม้จะได้มีผู้พยายามกระทาตามความคิดที่จะจัดสรรเนื้อหา
ในแต่ละเรื่องหรือแต่ละหัวข้อให้จบในแต่ละระดับชั้น แต่ในทางปฏิบัติและใน
ข้อเท็จจริงยังกระทาไม่ได้ เนื่องจากว่าเนื้อหาหรือหัวข้อต่างๆ จะประกอบด้วย
ความกว้างและความลึก ซึ่งมีความยากง่ายไปตามเรื่องรายละเอียดของเนื้อหา
นักพัฒนาหลักสูตรยอมรับในปรากฏการณ์นี้และเรียกการจัดเนื้อหาเรื่องเดียวกัน
ไว้ในทุกระดับชั้นหรือหลายๆ ระดับชั้น แต่มีรายละเอียดและความยากง่าย
แตกต่างกันไปตามวัยของผู้เรียนว่า หลักสูตรเกลียวสว่าน
9. หลักสูตรสูญ ( Null Curriculum)
หลักสูตรสูญหรือ Null Curriculum เป็นความคิดและคาที่บัญญัติขึ้นโดย
ไอส์เนอร์ (Eisner,1979)แห่งมหาวิทยาลัยแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา หลักสูตรสูญ
เป็นชื่อประเภทของสูตรที่ไม่แพร่หลาย และไม่เป็นที่รู้จักกันมากนักในระหว่างนัก
การศึกษา และนักพัฒนาหลักสูตรด้วยกัน
เขาได้นิยามหลักสูตรสูญว่า เป็นหลักสูตรที่ไม่ได้มีปรากฏอยู่ให้เห็นใน
แผนการเรียนรู้ และเป็นสิ่งที่โรงเรียนไม่ได้สอน
เขาได้อธิบายถึงความเชื่อของเขาในเรื่องนี้ว่าสิ่งที่ไม่ปรากฏอยู่ในตัว
หลักสูตรและสิ่งที่ครูไม่ได้โดยให้เหตุผลว่า ความรู้หรือการขาดสิ่งที่ควรจากรู้ไม่ได้
เป็นแต่เพียงความว่างเปล่าที่หลายคนอาจคิดว่าไม่ได้สร้างความเดือดร้อนให้แก่ผู้ใด
แต่โดยความเป็นจริงแล้ว การขาดความรู้ดังกล่าวย่อมมีผลกระทบที่สาคัญมาก
ในแง่ที่ทาให้ผู้เรียนขาดทางเลือกที่เขาอาจนาไปใช้แก้ปัญหาและพัฒนาชีวิต
ของเขาได้นั้นก็คือ การขาดความรู้บางอย่างไปอาจทาให้ชีวิตของคนๆ หนึ่งขาดความ
สมบูรณ์ได้
นอกจากนี้ยังอธิบายเพิ่มเติมได้ว่า หลักสูตรสูญได้แก่ ทางเลือกที่ไม่ได้
จัดเตรียมไว้ให้ผู้เรียน ความคิดและทรรศนะที่ผู้เรียนไม่เคยสัมผัสและเรียนรู้สิ่งที่ผู้เรียน
จะนาไปประยุกต์ใช้ได้แต่มีไว้ไม่พอ รวมทั้งความคิดและทักษะที่ไม่ได้รวมไว้ใน
กิจกรรมทางปัญญา

More Related Content

What's hot

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Pateemoh254
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Pateemoh254
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
kanwan0429
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
NuchanatJaroensree
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
kruskru
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
kanwan0429
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
kanwan0429
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
Piyapong Chaichana
 
บทที่11
บทที่11บทที่11
บทที่11
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
Piyapong Chaichana
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
Sunisa199444
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
Pateemoh254
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
Noawanit Songkram
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรFh Fatihah
 
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาjintana_pai
 

What's hot (20)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่11
บทที่11บทที่11
บทที่11
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
 
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
 

Similar to บทที่ 3

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Naruephon
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Naruephon
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Pateemoh254
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
parkpoom11z
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Dook dik
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
katay sineenart
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
teerayut123
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
fernfielook
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
wanitchaya001
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
wanneemayss
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Theerayut Ponman
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
benty2443
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
nattawad147
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
nattapong147
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Piyapong Chaichana
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
poppai041507094142
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
gam030
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
kanwan0429
 

Similar to บทที่ 3 (20)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 

More from nattawad147

บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
nattawad147
 
ปรัชญา
ปรัชญาปรัชญา
ปรัชญา
nattawad147
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
nattawad147
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
nattawad147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
nattawad147
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
nattawad147
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
nattawad147
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
nattawad147
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
nattawad147
 
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวาการพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
nattawad147
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
nattawad147
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
nattawad147
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
nattawad147
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
nattawad147
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
nattawad147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
nattawad147
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nattawad147
 

More from nattawad147 (20)

บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
 
ปรัชญา
ปรัชญาปรัชญา
ปรัชญา
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวาการพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

บทที่ 3

  • 2. มโนทัศน์(Concept) การจัดประเภทของหลักสูตรว่าเป็นประเภทใดนั้นขึ้นอยู่กับการตอบสนอง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนและสถานการณ์ต่างๆ ที่เหมาะสมแต่ละประเภทและแต่ ละระดับการศึกษาเป็นสาคัญ ประเภทของหลักสูตรสามารถแบ่งได้เป็นหลักสูตรบูรณาการ หลักสูตรกว้าง หลักสูตรเสริมประสบการณ์ หลักสูตรรายวิชา หลักสูตรแกน หลักสูตรแฝง หลักสูตรสัมพันธ์วิชา หลักสูตรเกลียวสว่าน และหลักสูตรสูญ เป็นต้น ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) บทเรียนนี้ออกแบบไว้ให้เรียนรู้ร่วมกันเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถ ดังนี้ 1.มีความรู้ในการจัดจาแนกประเภทของหลักสูตร 2.สามารถบอกลักษณะสาคัญของหลักสูตรแต่ละประเภทได้
  • 3. สาระเนื้อหา(Content) 1. หลักสูตรบูรณาการ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรหลายวิชาเท่านั้นมีเหตุผลและความคิด พื้นฐานซึ่งสนับสนุนอยู่ด้วยจะขออธิบายให้ทราบโดยสังเขปดังต่อไปนี้ 1. เหตุผลและพื้นฐานความคิด 1.1 เหตุผลทางจิตวิทยาและวิชาการ โดยธรรมชาติเด็กหรือผู้เรียนจะมีความสนใจ ฉงนสนเทห์และมี ความกระตือรือร้นในการที่จะแสวงหาความรู้และสร้างความเข้าใจในสิ่งต่างๆ อยู่เสมอ สมองของเด็กจะไม่จากัดอยู่กับการเรียนรู้วิชาใดวิชาหนึ่งเป็นส่วนๆ
  • 4. 1.2 เหตุผลทางสังคมวิทยา เป็นที่ยอมรับกันแล้วว่า การศึกษาจะเกิดผลดีที่สุดก็ต่อเมื่อให้ผู้เรียนสามารถ ตอบปัญหาในชีวิตประจาวันได้ด้วยเหตุนี้หลักสูตรจึงต้องเป็นหลักสูตรสนับสนุนสิ่ง ดังกล่าวซึ่งคุณสมบัตินี้มีอยู่ในหลักสูตรบูรณาการ 1.3 เหตุผลทางการบริหาร หลักสูตรบูรณาการช่วยให้ลดตาราเรียนได้ คือแทนที่จะแยกเป็นตาราสาหรับ แต่ละวิชา ซึ่งทาให้ต้องใช้ตาราหลายเล่ม ก็อาจรวมเนื้อหาของหลายวิชาไว้ในตาราเล่ม เดียวกันและยังสามารถทาให้เป็นที่น่าสนใจมากขึ้นด้วย
  • 5. 2. ลักษณะของหลักสูตรบูรณาการที่ดี ในการผสมผสานวิชาหรือสาขาวิชาต่างๆ เพื่อให้ได้หลักสูตรบูรณาการนั้น ถ้าจะให้ดีจริงๆนักพัฒนาหลักสูตรจะต้องพยายามให้เกิดบูรณาการในลักษณะต่อไปนี้ โดยครบถ้วนคือ 1. บูรณาการระหว่างความรู้และกระบวนการเรียนรู้ 2. บูรณาการระหว่างพัฒนาการทางความรู้และพัฒนาการทางจิตใจ 3. บูรณาการระหว่างความรู้และการกระทา 4. บูรณาการระหว่างสิ่งที่เรียนในโรงเรียนกับสิ่งที่เป็นอยู่ในชีวิตประจาวัน ของผู้เรียน 5. บูรณาการระหว่างวิชาต่างๆ
  • 6. 3. รูปแบบของบูรณาการ หลักสูตรบูรณาการเท่าที่มีอยู่ในเวลานี้มี 3 รูปแบบ 1. บูรณาการภายในหมวดวิชา เราได้ทราบแล้วว่าหลักสูตรกว้างนั้นเป็นหลักสูตรที่ได้มี การนาเอาวิชาหลายๆ วิชามารวมกันในลักษณะที่ผสมกลมกลืน แทนที่จะนาเอาเนื้อวิชามาเรียงลาดับกันเฉยๆ 2. บูรณาการ ภายในหัวข้อ และโครงการ หลายประเทศในเอเชียนิยมใช้ วิธีการแบบนี้คือการนาเอาความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ของวิชาหรือหมวดวิชาตั้งแต่ สองวิชาหรือหมวดวิชาขึ้นไป มาผสมผสานกันในลักษณะที่เป็นหัวข้อหรือโครงการ 3. บูรณาการโดยการผสมผสานปัญหาและความต้องการของผู้เรียนและของ สังคม หลักสูตรที่ใช้การผสมผสานแบบนี้ ความจริงก็มีรูปแบบเหมือนอย่างสองแบบ แรกที่ได้กล่าวมาแล้วคืออาจผสมผสานภายในหมวดวิชาหรือภายในหัวข้อและโครงการ ก็ได้
  • 7. 2. หลักสูตรกว้าง หลักสูตรกว้าง (The Broad-Field Curriculum) เป็นหลักสูตรอีก แบบหนึ่งที่พยายามแก้ไขจุดอ่อนของหลักสูตรรายวิชา โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะ ส่งเสริมการเรียนการสอนให้เป็นที่น่าสนใจและเร้าใจ ช่วยให้ผู้เรียนมีความ เข้าใจและสามารถปรับตนให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมได้เป็นอย่างดี รวมทั้งให้ มีพัฒนาการในด้านต่างๆ ทุกด้าน กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือพยายามจะหนีจาก หลักสูตรที่ยึดวิชาเป็นพื้นฐาน มีครูหรือผู้สอนเป็นผู้สั่งการแต่เพียงผู้เดี
  • 8. 3. หลักสูตรประสบการณ์ หลักสูตรประสบการณ์ (The Experience Curriculum) เกิดขึ้นเพื่อ แก้ปัญหาที่ว่าหลักสูตรเดิมที่ใช้อยู่ ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรรายวิชาหรือหลักสูตรกว้าง ล้วนไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนเท่าที่ควร พื้นฐาน ความคิดของหลักสูตรนี้มีมาตั้งแต่สมัยรุซโซ (Rousseau) และเพลโต (Plato) แต่ได้นามาปฏิบัติจริงเมื่อต้นศตวรรษที่ 20 นี้เองนับเป็นก้าวแรกที่ยึดเด็กหรือผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง
  • 9. 4. หลักสูตรรายวิชา หลักสูตรรายวิชา (The Subject Curriculum) เป็นหลักสูตรที่ใช้กันมา แต่ดั้งเดิมไม่เฉพาะแต่ในยุโรปหรือสหรัฐอเมริกาเท่านั้น ประเทศในเอเชียรวมทั้ง ประเทศไทยก็ได้ใช้หลักสูตรแบบนี้มาแต่ต้น การที่เรียนกว่าหลักสูตรรายวิชาก็ เนื่องจากโครงสร้างของเนื้อหาวิชาในหลักสูตร จะถูกแยกออกจากกันเป็นรายวิชา โดยไม่จาเป็นต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกันไม่ว่าในด้านเนื้อหาหรือการสอน สาหรับ เนื้อหาที่คัดมาถือว่าเป็นเนื้อหาที่สาคัญและจาเป็นต่อการเรียนรู้ หลักสูตรของไทย เราที่ยังเป็นหลักสูตรรายวิชา ได้แก่ หลักสูตรมัธยมและอุดมศึกษา แต่มีการ ปรับปรุงโครงสร้าง โดยนาเอาระบบหน่วยกิตมาใช้
  • 10. 5. หลักสูตรแกน หลักสูตรแกน (The Core Curriculum) ถือกาเนิดขึ้นที่สหรัฐอเมริกาเมื่อ ประมาณปี ค.ศ. 1900 ด้วยเหตุผลสองประการ คือ ความพยายามที่จะปลีกตัวออก จากการเรียนที่ต้องแบ่งแยกวิชาออกเป็นรายวิชาย่อยๆ หรือพูดง่ายๆ ก็คือความ พยายามที่จะให้หลุดพ้นจากการเป็นหลักสูตรรายวิชา ประการหนึ่ง และความพยายาม ที่จะดึงเอาความต้องการและปัญหาของสังคมมาเป็นศูนย์กลางของหลักสูตร อีก ประการหนึ่ง แรกทีเดียวได้มีการนาเอาเนื้อหาของวิชาต่างๆ มารวมกันเข้าเป็นวิชา กว้างๆ เรียกว่าหมวดวิชา ทาให้เกิดหลักสูตรแบบกว้างขึ้น แต่หลักสูตรนี้มิได้มีส่วน สัมพันธ์กับปัญหาและความต้องการของสังคมมากนัก ดังนั้นจึงมีผู้คิดหลักสูตรแกน เพื่อสนองจุดหมายที่ต้องการ
  • 11. 6. หลักสูตรแฝง (Hidden Curriculum) โรงเรียนโดยทั่วไปจะมีความสามารถและประสบความสาเร็จอย่างมาก ในการสอนให้นักเรียนอ่านออก เขียนได้คิดเลขเป็นและมีความรู้อย่างดียิ่งใน สาขาวิชาต่างๆ แต่สิ่งหนึ่งที่โรงเรียนได้ตระหนักและพยายามอย่างมาก แต่ไม่ค่อย ประสบความสาเร็จหรืออาจจะเรียกได้ว่าล้มเหลวมาตลอดก็คือ การสอนคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองดีให้แก่นักเรียน เด็กเหล่านี้ได้รับการปลูกฝัง และ อบรมสั่งสอนจากครูอย่างจริงจัง แต่พวกเขาก็ไม่ค่อยปฏิบัติตามสิ่งที่ครูสอนมากนัก แม้จะมีนักเรียนบางคนประพฤติตนตามคาสอนของครูอย่างเคร่งครัด แต่เมื่อเขาออก จากโรงเรียนไปแล้วก็เปลี่ยนพฤติกรรมและค่านิยมไปตามสังคมที่เรามองกันว่าไม่ เหมาะสม
  • 12. 7. หลักสูตรสัมพันธ์วิชา หลักสูตรสัมพันธ์วิชา (The CorrelatedCurriculum) เป็น หลักสูตรรายวิชาที่ได้รับการปรับปรุงเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ แรกทีเดียว การแก้ไขข้อบกพร่องทาโดยการนาเอาเทคนิคการสอนใหม่ๆ มาใช้ เช่น ให้ ผู้เรียนร่วมในการวางแผนการเรียน และให้ผู้เรียนทากิจกรรมต่างๆ นอกเหนือจากการท่องจา เพื่อให้ผู้เรียนรู้เนื้อหาที่ต้องการ ทั้งนี้เพื่อแก้ ข้อบกพร่องของหลักสูตรที่เน้นเรื่องผู้สอนเป็นผู้สั่งการหรือจุดศูนย์กลาง ของการเรียนการสอน แต่การปรับปรุงด้านเทคนิคการสอนไม่ได้ช่วยแก้ไข ข้อบกพร่องที่ว่า หลักสูตรรายวิชามีขอบเขตแคบเฉพาะวิชา และยังมี ลักษณะแบ่งแยกเป็นส่วนย่อยๆ อีกด้วย
  • 13. 8. หลักสูตรเกลียวสว่าน (Spiral Curriculum) ปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นเสมอในระหว่างผู้จัดทาหลักสูตรด้วยกันเอง ได้แก่ ข้อสงสัยที่ว่าทาไมจึงต้องจัดหัวข้อเนื้อหาในเรื่องเดียวกันซ้าๆ กันอยู่เสมอ ในเกือบทุกระดับชั้น แม้จะได้มีผู้พยายามกระทาตามความคิดที่จะจัดสรรเนื้อหา ในแต่ละเรื่องหรือแต่ละหัวข้อให้จบในแต่ละระดับชั้น แต่ในทางปฏิบัติและใน ข้อเท็จจริงยังกระทาไม่ได้ เนื่องจากว่าเนื้อหาหรือหัวข้อต่างๆ จะประกอบด้วย ความกว้างและความลึก ซึ่งมีความยากง่ายไปตามเรื่องรายละเอียดของเนื้อหา นักพัฒนาหลักสูตรยอมรับในปรากฏการณ์นี้และเรียกการจัดเนื้อหาเรื่องเดียวกัน ไว้ในทุกระดับชั้นหรือหลายๆ ระดับชั้น แต่มีรายละเอียดและความยากง่าย แตกต่างกันไปตามวัยของผู้เรียนว่า หลักสูตรเกลียวสว่าน
  • 14. 9. หลักสูตรสูญ ( Null Curriculum) หลักสูตรสูญหรือ Null Curriculum เป็นความคิดและคาที่บัญญัติขึ้นโดย ไอส์เนอร์ (Eisner,1979)แห่งมหาวิทยาลัยแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา หลักสูตรสูญ เป็นชื่อประเภทของสูตรที่ไม่แพร่หลาย และไม่เป็นที่รู้จักกันมากนักในระหว่างนัก การศึกษา และนักพัฒนาหลักสูตรด้วยกัน เขาได้นิยามหลักสูตรสูญว่า เป็นหลักสูตรที่ไม่ได้มีปรากฏอยู่ให้เห็นใน แผนการเรียนรู้ และเป็นสิ่งที่โรงเรียนไม่ได้สอน เขาได้อธิบายถึงความเชื่อของเขาในเรื่องนี้ว่าสิ่งที่ไม่ปรากฏอยู่ในตัว หลักสูตรและสิ่งที่ครูไม่ได้โดยให้เหตุผลว่า ความรู้หรือการขาดสิ่งที่ควรจากรู้ไม่ได้ เป็นแต่เพียงความว่างเปล่าที่หลายคนอาจคิดว่าไม่ได้สร้างความเดือดร้อนให้แก่ผู้ใด แต่โดยความเป็นจริงแล้ว การขาดความรู้ดังกล่าวย่อมมีผลกระทบที่สาคัญมาก
  • 15. ในแง่ที่ทาให้ผู้เรียนขาดทางเลือกที่เขาอาจนาไปใช้แก้ปัญหาและพัฒนาชีวิต ของเขาได้นั้นก็คือ การขาดความรู้บางอย่างไปอาจทาให้ชีวิตของคนๆ หนึ่งขาดความ สมบูรณ์ได้ นอกจากนี้ยังอธิบายเพิ่มเติมได้ว่า หลักสูตรสูญได้แก่ ทางเลือกที่ไม่ได้ จัดเตรียมไว้ให้ผู้เรียน ความคิดและทรรศนะที่ผู้เรียนไม่เคยสัมผัสและเรียนรู้สิ่งที่ผู้เรียน จะนาไปประยุกต์ใช้ได้แต่มีไว้ไม่พอ รวมทั้งความคิดและทักษะที่ไม่ได้รวมไว้ใน กิจกรรมทางปัญญา