SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
เอกสารเผยแพร่ก ารจัด การความรู้ค ณะ
                   นิเ ทศศาสตร์
              โครงการ NIThed KM
                ปีก ารศึก ษา 2554
 ด้า นการผลิต บัณ ฑิต หัว ข้อ การวิจ ย ในชั้น
                                     ั
             เรีย นทางนิเ ทศศาสตร์
ด้า นการวิจ ัย หัว ข้อ จรรยาบรรณนัก วิจ ย ทาง
                                        ั
                   นิเ ทศศาสตร์
จัด ทำา โดย
                                               ฝ่า ยวิช าการ
                                     ฝ่า ยวางแผนและพัฒ นา
                            และฝ่า ยบริห าร คณะนิเ ทศศาสตร์




   สรุป องค์ค วามรู้ท ี่ไ ด้จ ากโครงการแลกเปลี่ย นเรีย นรู้
                  โครงการ NIThed KM
      หัว ข้อ “การวิจ ัย ในชั้น เรีย นทางนิเ ทศศาสตร์ ”
  ประมวลองค์ค วามรู้โ ดย ดร.ต่อ ตระกูล อุบ ลวัต ร ผู้ช ่ว ย
                    คณบดีฝ ่า ยวิช าการ

      คณะนิ เ ทศศาสตร์ เป็ น การสอนศาสตร์ ด้ า นการสื่ อ สาร
สำา หรั บ การแลกเปลี่ย นเรี ย นรู้ จ ะเป็ น กิ จ กรรมที่ จั ด อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง
ควบคู่ไปกับการจัดการเรียนการสอนเพื่อมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์
สูงสุดต่อคณาจารย์และนักศึกษา ทั้งยังเป็นการสร้างองค์ความรู้อัน
เป็ นประโยชน์ต่อ การจั ด การเรี ย นการสอนในคณะนิ เทศศาสตร์
ในปี ก ารศึ ก ษา 2554 ได้ มี ก ารจั ด การเสวนาแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้
เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนจำานวน 4 ครั้งดังนี้

ครั้ง ที่ 1 แนวทางการวิจ ัย ในชั้น เรีย น : ถอดประสบการณ์
จากโครงการวิจ ัย นำา ร่อ งการวิจ ัย ในชั้น
เ รีย น ปี 2553 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เป็นพื้นฐานแนะนำา เกี่ยวกับการ
วิจัยในชั้นเรีย น โดยอาศัยประสบการณ์ จากคณาจารย์ กลุ่ มวิ จัย
นำาร่องในปีการศึกษา 2553

ค รั้ ง ที่ 2 “ก า ร วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ” ต อ น แ ล ก เ ป ลี่ ย น
ประสบการณ์ ร่ว มเรีย นรู้ 1 : เทคนิค การสอน
การจัดเสวนาครั้งนี้เกี่ยวกับเทคนิคที่นำา มาสอดแทรกในการสอน
ซึ่งมีความแตกต่างกันไปเช่น การนำาเทคนิคการสอบปากเปล่ามา
ใช้ ร่ ว มกั บการสอน เทคนิ ค การใช้ กรณี ศึ ก ษา ตลอดจน เทคนิ ค
ก า ร ใ ช้ ตั ว อ ย่ า ง จ ริ ง ซึ่ ง เ ข้ า ม า แ ก้ ไ ข ต ล อ ด จ น พั ฒ น า ใ ห้
ประสิทธิภาพการเรียนการสอนดียิ่งขึ้น


                                                                                 2
ค รั้ ง ที่ 3 “ก า ร วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ” ต อ น แ ล ก เ ป ลี่ ย น
ประสบการณ์ ร่ว มเรีย นรู้ 2 : การแก้ป ัญ หาและ
กา รเ พิ่ม ปร ะสิท ธิภ า พใ นก าร จัด ก าร เรีย น ก า ร ส อ น การจัด
เสวนาครั้ ง นี้ เกี่ ย วกั บ การแก้ ปัญ หาและการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพใน
การจั ด การเรี ย นการสอน ซึ่ ง มี ค วามแตกต่ า งกั น ไปเช่ น การแก้
ปั ญ หาในการทำา งานร่ วมกั นของนั กศึ ก ษาด้ ว ยการใช้ ก ารระดม
สมอง การใช้ Facebook ในการลดช่ อ งว่ า งทางการสื่ อ สาร
ระหว่างผู้ส อนและผู้เรีย น ตลอดจน การแก้ปัญหาที่ เกิ ด จากการ
ขาดเรี ย นของนั ก ศึ ก ษา ซึ่ ง เข้ า มาแก้ ไ ขตลอดจนพั ฒ นาให้
ประสิทธิภาพการเรียนการสอนดียิ่งขึ้น

ค รั้ ง ที่ 4 “ก า ร วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ” ต อ น แ ล ก เ ป ลี่ ย น
ประสบการณ์ ร่ว มเรีย นรู้ 3 : การเพิ่ม
ป ร ะสิท ธิภ า พ ก า ร เ รีย น รู้ด ้ว ย ก า ร ป ฏิบ ัต ิ การจัดเสวนาครั้งนี้
เกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติซึ่งมีความ
แตกต่างกันไปเช่น การใช้กิจกรรมกลุ่มย่อยเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึก
ปฏิ บัติแ ละมีป ฏิ สัม พัน ธ์ร ะหว่ า งกั น การสร้ า งกิ จ กรรมภาคสนาม
ตลอดจนการใช้บทบาทสมมติเพื่อสร้างความเข้าใจในบทเรียน ซึ่ง
เข้ามาแก้ไขตลอดจนพัฒนาให้ประสิทธิภาพการเรียนการสอนดี
ยิ่ งขึ้ น โดยผู้สอนและผู้เรีย นจะต้ อ งมี บ ทบาทร่ ว มกั น ในกิ จ กรรม
ต่ างๆกิจ กรรมในลัก ษณะนี้ จ ะมี การจั ด อย่ า งเนื่ อ งในปี ก ารศึ ก ษา
2555 ซึ่งจะจัดในรูปแบบของการเล่า




   ถอดบทเรีย นโครงการแลกเปลี่ย นเรีย นรู้ โครงการ
                     NIThed KM
    หัว ข้อ “จรรยาบรรณนัก วิจ ัย ทางนิเ ทศศาสตร์ ”
  ประมวลองค์ค วามรู้โ ดย ดร.ชเนตตี ทิน นาม ผู้ช ่ว ย
             คณบดีฝ ่า ยวางแผนและพัฒ นา
**********************************************
           *****************************

หัว ข้อ ที่ 1 การกำา หนดหัว ข้อ วิจ ัย กับ จรรยาบรรณนัก วิจ ัย



                                                                           3
1. หั ว ข้ อ หรื อ งานวิ จั ย จะต้ อ งไม่ ซำ้า ซ้ อ นหรื อ เป็ น สิ่ ง ที่ เ คยมี ผู้
      ศึกษามาก่อนแล้ว
   2. หัวข้อวิจัยจะต้องมีประโยชน์กับคนหมู่มากโดยผลจากการ
      วิ จั ยจ ะต้ อ ง เป็ นแ ง่ บ วก ม าก ก ว่ า แ ง่ ล บ แล ะนำา ไป ใ ช้
      ประโยชน์ได้จริง
   3. การตั้งหัวข้อวิจัยควรตั้งจากประเด็นปัญหาหรือสิ่งที่เกิดขึ้น
      จริง ไม่ใช่ตั้ งเพราะถือเอาความสะดวกสบายหรือเป็นเรื่อง
      ใกล้ตัวของผู้วิจัยเอง หรือตั้งหัวข้อวิจัยเพราะคนทำาวิจัยกับ
      กลุ่ ม เป้ า หมายหรื อ กลุ่ ม ทุ น วิ จั ย มี ผ ลประโยชน์ ต่ อ กั น ซึ่ ง
      ถือว่าเป็นเรื่องที่ผิดจรรยาบรรณของนักวิจัย อีกทั้งงานวิจัย
      ชิ้นนั้นก็ไม่เกิดประโยชน์เท่าที่ควร
   4. นั ก วิ จั ย ควรไตร่ ต รองหาหั ว ข้ อ การวิ จั ย ด้ ว ยความรอบคอบ
      และทำา การวิจัยด้วยจิตสำา นึกที่จะอุทิศกำา ลั งปัญญาของตน
      เพื่อความก้าวหน้าทางวิชาการ เพื่อความเจริญของสถาบัน
      และประโยชน์สุขต่อสังคม
   5. นั ก วิ จั ย ควรรั บ ผิ ด ชอบในการสร้ า งสรรค์ ผ ลงานวิ ช าการ
      เพื่อความเจริญ ของสั งคม ไม่ทำา การวิ จัย ที่ ขั ด กั บ กฎหมาย
      ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน

หั ว ข้ อ ที่ 2 ก า ร อ อ ก แ บ บ ก า ร วิ จ ั ย แ ล ะ ก า ร เ ก็ บ ข้ อ มู ล กั บ
จรรยาบรรณนัก วิจ ัย
        1. นั ก วิ จั ย ต้ อ งมี ค วามซื่ อ สั ต ย์ ต่ อ ตนเองไม่ นำา ผลงานของผู้
           อื่นมาเป็นของตนไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น ต้องให้เกียรติ
           และอ้างถึงบุคคลหรื อแหล่ งที่ มาของข้ อมู ลที่ นำา มาใช้ ใน
           งานวิจัย ต้องซื่อตรงต่อการแสวงหาทุน วิจัยและมีความ
           เป็นธรรมเกี่ยวกับผลประโยชน์ที่ได้จากการวิจัย
        2. นักวิจัยต้องมีความซื่อสัตย์ในทุกขั้นตอนของกระบวนการ
           วิจัย ตั้งแต่การเลือกเรื่องที่จะทำา วิจัย การเลือกผู้เข้าร่วม
           ทำา วิจัย การดำา เนินการวิจัย ตลอดจนการนำา ผลงานวิจัย
           ไปใช้ประโยชน์

หัว ข้อ ที่ 3 การวิเ คราะห์ข ้อ มูล กับ จรรยาบรรณนัก วิจ ัย

       1. ข้อมูลที่ได้จากการวิจัยต้องไม่บิดเบือนในภายหลัง ทั้งใน
          แง่ของปริมาณหรือความถูกต้องของข้อมูล                     ข้อมูลทุก
          ด้านที่ได้มาควรที่จะเป็นความจริงตามหลักจรรยาบรรณ
          ของนักวิจัย
       2. ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ต้ อ งวิ เ คราะห์ ต ามหลั ก วิ ช าการ อย่ า ใช้
          อารมณ์หรือความรู้สึกเข้าไปเกี่ยวข้องโดยเด็ดขาด

                                                                                      4
หัว ข้อ ที่ 4 การเขีย นรายงานวิจ ัย และการเผยแพร่

    1. นักวิจัยควรเขียนผลงานวิจัยและการเผยแพร่โดยคำานึง
    ถึงประโยชน์ทางวิชาการ และสังคม ไม่นำาเสนอผลงานวิจัย
    เกิน ความเป็นจริงโดยเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง
    2.นักวิจัยพึงเสนอผลงานวิจัยตามความเป็นจริงไม่ขยายผล
    ข้ อ ค้ น พบโดยปราศจากการตรวจสอบ ยื น ยั น ในทาง
    วิชาการ

                 *************************




                                                      5

More Related Content

What's hot

ใบงานท 3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท   3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงานใบงานท   3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงานKanjana Panyawarin
 
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2Kobwit Piriyawat
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Bt B'toey
 
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learningการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learningศิษย์ หอมหวล
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน 9
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน 9ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน 9
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน 9chingching_wa
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยPrachyanun Nilsook
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicepyopyo
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestkrupornpana55
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1Mam Chongruk
 
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 

What's hot (19)

ใบงานท 3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท   3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงานใบงานท   3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
 
K3
K3K3
K3
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learningการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน 9
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน 9ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน 9
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน 9
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBest
 
Ast.c2560.6tp
Ast.c2560.6tpAst.c2560.6tp
Ast.c2560.6tp
 
Ast.c2560.5tp
Ast.c2560.5tpAst.c2560.5tp
Ast.c2560.5tp
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
 
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
 

Viewers also liked

Product Management and Systems Thinking
Product Management and Systems ThinkingProduct Management and Systems Thinking
Product Management and Systems ThinkingDr. Arne Roock
 
건강 양념의 비밀[1]
건강 양념의 비밀[1]건강 양념의 비밀[1]
건강 양념의 비밀[1]YHKL
 
흑석한강푸르지오 105동
흑석한강푸르지오 105동흑석한강푸르지오 105동
흑석한강푸르지오 105동Jun Won Choi
 
세바시 15분 김수영 꿈꾸는 유목민 - 쫄지마, 질러봐, 될 거야!
세바시 15분 김수영 꿈꾸는 유목민 - 쫄지마, 질러봐, 될 거야!세바시 15분 김수영 꿈꾸는 유목민 - 쫄지마, 질러봐, 될 거야!
세바시 15분 김수영 꿈꾸는 유목민 - 쫄지마, 질러봐, 될 거야!cbs15min
 
091219 하이디님 강정은
091219 하이디님 강정은091219 하이디님 강정은
091219 하이디님 강정은JUNGEUN KANG
 
경춘선 폐선부지 공원 이용 서비스 개선 pt용
경춘선 폐선부지 공원 이용 서비스 개선 pt용경춘선 폐선부지 공원 이용 서비스 개선 pt용
경춘선 폐선부지 공원 이용 서비스 개선 pt용재근 황
 
위험한 음식 시리즈2 - 1등급 한우의 비밀
위험한 음식 시리즈2 - 1등급 한우의 비밀위험한 음식 시리즈2 - 1등급 한우의 비밀
위험한 음식 시리즈2 - 1등급 한우의 비밀Hwan-Kyu Roh
 
엄마는 세상에서 일을 제일 잘 합니다 | 박슬아 별주머니 대표
엄마는 세상에서 일을 제일 잘 합니다 | 박슬아 별주머니 대표엄마는 세상에서 일을 제일 잘 합니다 | 박슬아 별주머니 대표
엄마는 세상에서 일을 제일 잘 합니다 | 박슬아 별주머니 대표cbs15min
 

Viewers also liked (9)

Product Management and Systems Thinking
Product Management and Systems ThinkingProduct Management and Systems Thinking
Product Management and Systems Thinking
 
건강 양념의 비밀[1]
건강 양념의 비밀[1]건강 양념의 비밀[1]
건강 양념의 비밀[1]
 
흑석한강푸르지오 105동
흑석한강푸르지오 105동흑석한강푸르지오 105동
흑석한강푸르지오 105동
 
세바시 15분 김수영 꿈꾸는 유목민 - 쫄지마, 질러봐, 될 거야!
세바시 15분 김수영 꿈꾸는 유목민 - 쫄지마, 질러봐, 될 거야!세바시 15분 김수영 꿈꾸는 유목민 - 쫄지마, 질러봐, 될 거야!
세바시 15분 김수영 꿈꾸는 유목민 - 쫄지마, 질러봐, 될 거야!
 
091219 하이디님 강정은
091219 하이디님 강정은091219 하이디님 강정은
091219 하이디님 강정은
 
경춘선 폐선부지 공원 이용 서비스 개선 pt용
경춘선 폐선부지 공원 이용 서비스 개선 pt용경춘선 폐선부지 공원 이용 서비스 개선 pt용
경춘선 폐선부지 공원 이용 서비스 개선 pt용
 
5.꽃pt최종
5.꽃pt최종5.꽃pt최종
5.꽃pt최종
 
위험한 음식 시리즈2 - 1등급 한우의 비밀
위험한 음식 시리즈2 - 1등급 한우의 비밀위험한 음식 시리즈2 - 1등급 한우의 비밀
위험한 음식 시리즈2 - 1등급 한우의 비밀
 
엄마는 세상에서 일을 제일 잘 합니다 | 박슬아 별주머니 대표
엄마는 세상에서 일을 제일 잘 합니다 | 박슬아 별주머니 대표엄마는 세상에서 일을 제일 잘 합니다 | 박슬아 별주머니 대표
엄마는 세상에서 일을 제일 잘 합니다 | 박슬아 별주머니 대표
 

Similar to เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54

เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2นู๋หนึ่ง nooneung
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3bussayamas1618
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานwichaya222
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 

Similar to เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 (20)

เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54 แก้2
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung

สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...นู๋หนึ่ง nooneung
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยนู๋หนึ่ง nooneung
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนนู๋หนึ่ง nooneung
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศนู๋หนึ่ง nooneung
 
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56นู๋หนึ่ง nooneung
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่นู๋หนึ่ง nooneung
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung (20)

Pr 2559
Pr 2559Pr 2559
Pr 2559
 
Pf 2559
Pf 2559Pf 2559
Pf 2559
 
Md 2559
Md 2559Md 2559
Md 2559
 
Mca 2559
Mca 2559Mca 2559
Mca 2559
 
Fm 2559
Fm 2559Fm 2559
Fm 2559
 
Bc 2559
Bc 2559Bc 2559
Bc 2559
 
Ad 2559
Ad 2559Ad 2559
Ad 2559
 
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
 
knowledge management 56
knowledge management 56knowledge management 56
knowledge management 56
 
Km56
Km56Km56
Km56
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
 
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
 
จรรยาบรรณนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัยจรรยาบรรณนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัย
 
หลักสูตรMca
หลักสูตรMcaหลักสูตรMca
หลักสูตรMca
 
ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556
 
Pf
PfPf
Pf
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
 

เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54

  • 1. เอกสารเผยแพร่ก ารจัด การความรู้ค ณะ นิเ ทศศาสตร์ โครงการ NIThed KM ปีก ารศึก ษา 2554 ด้า นการผลิต บัณ ฑิต หัว ข้อ การวิจ ย ในชั้น ั เรีย นทางนิเ ทศศาสตร์ ด้า นการวิจ ัย หัว ข้อ จรรยาบรรณนัก วิจ ย ทาง ั นิเ ทศศาสตร์
  • 2. จัด ทำา โดย ฝ่า ยวิช าการ ฝ่า ยวางแผนและพัฒ นา และฝ่า ยบริห าร คณะนิเ ทศศาสตร์ สรุป องค์ค วามรู้ท ี่ไ ด้จ ากโครงการแลกเปลี่ย นเรีย นรู้ โครงการ NIThed KM หัว ข้อ “การวิจ ัย ในชั้น เรีย นทางนิเ ทศศาสตร์ ” ประมวลองค์ค วามรู้โ ดย ดร.ต่อ ตระกูล อุบ ลวัต ร ผู้ช ่ว ย คณบดีฝ ่า ยวิช าการ คณะนิ เ ทศศาสตร์ เป็ น การสอนศาสตร์ ด้ า นการสื่ อ สาร สำา หรั บ การแลกเปลี่ย นเรี ย นรู้ จ ะเป็ น กิ จ กรรมที่ จั ด อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ควบคู่ไปกับการจัดการเรียนการสอนเพื่อมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อคณาจารย์และนักศึกษา ทั้งยังเป็นการสร้างองค์ความรู้อัน เป็ นประโยชน์ต่อ การจั ด การเรี ย นการสอนในคณะนิ เทศศาสตร์ ในปี ก ารศึ ก ษา 2554 ได้ มี ก ารจั ด การเสวนาแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนจำานวน 4 ครั้งดังนี้ ครั้ง ที่ 1 แนวทางการวิจ ัย ในชั้น เรีย น : ถอดประสบการณ์ จากโครงการวิจ ัย นำา ร่อ งการวิจ ัย ในชั้น เ รีย น ปี 2553 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เป็นพื้นฐานแนะนำา เกี่ยวกับการ วิจัยในชั้นเรีย น โดยอาศัยประสบการณ์ จากคณาจารย์ กลุ่ มวิ จัย นำาร่องในปีการศึกษา 2553 ค รั้ ง ที่ 2 “ก า ร วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ” ต อ น แ ล ก เ ป ลี่ ย น ประสบการณ์ ร่ว มเรีย นรู้ 1 : เทคนิค การสอน การจัดเสวนาครั้งนี้เกี่ยวกับเทคนิคที่นำา มาสอดแทรกในการสอน ซึ่งมีความแตกต่างกันไปเช่น การนำาเทคนิคการสอบปากเปล่ามา ใช้ ร่ ว มกั บการสอน เทคนิ ค การใช้ กรณี ศึ ก ษา ตลอดจน เทคนิ ค ก า ร ใ ช้ ตั ว อ ย่ า ง จ ริ ง ซึ่ ง เ ข้ า ม า แ ก้ ไ ข ต ล อ ด จ น พั ฒ น า ใ ห้ ประสิทธิภาพการเรียนการสอนดียิ่งขึ้น 2
  • 3. ค รั้ ง ที่ 3 “ก า ร วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ” ต อ น แ ล ก เ ป ลี่ ย น ประสบการณ์ ร่ว มเรีย นรู้ 2 : การแก้ป ัญ หาและ กา รเ พิ่ม ปร ะสิท ธิภ า พใ นก าร จัด ก าร เรีย น ก า ร ส อ น การจัด เสวนาครั้ ง นี้ เกี่ ย วกั บ การแก้ ปัญ หาและการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพใน การจั ด การเรี ย นการสอน ซึ่ ง มี ค วามแตกต่ า งกั น ไปเช่ น การแก้ ปั ญ หาในการทำา งานร่ วมกั นของนั กศึ ก ษาด้ ว ยการใช้ ก ารระดม สมอง การใช้ Facebook ในการลดช่ อ งว่ า งทางการสื่ อ สาร ระหว่างผู้ส อนและผู้เรีย น ตลอดจน การแก้ปัญหาที่ เกิ ด จากการ ขาดเรี ย นของนั ก ศึ ก ษา ซึ่ ง เข้ า มาแก้ ไ ขตลอดจนพั ฒ นาให้ ประสิทธิภาพการเรียนการสอนดียิ่งขึ้น ค รั้ ง ที่ 4 “ก า ร วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ” ต อ น แ ล ก เ ป ลี่ ย น ประสบการณ์ ร่ว มเรีย นรู้ 3 : การเพิ่ม ป ร ะสิท ธิภ า พ ก า ร เ รีย น รู้ด ้ว ย ก า ร ป ฏิบ ัต ิ การจัดเสวนาครั้งนี้ เกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติซึ่งมีความ แตกต่างกันไปเช่น การใช้กิจกรรมกลุ่มย่อยเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึก ปฏิ บัติแ ละมีป ฏิ สัม พัน ธ์ร ะหว่ า งกั น การสร้ า งกิ จ กรรมภาคสนาม ตลอดจนการใช้บทบาทสมมติเพื่อสร้างความเข้าใจในบทเรียน ซึ่ง เข้ามาแก้ไขตลอดจนพัฒนาให้ประสิทธิภาพการเรียนการสอนดี ยิ่ งขึ้ น โดยผู้สอนและผู้เรีย นจะต้ อ งมี บ ทบาทร่ ว มกั น ในกิ จ กรรม ต่ างๆกิจ กรรมในลัก ษณะนี้ จ ะมี การจั ด อย่ า งเนื่ อ งในปี ก ารศึ ก ษา 2555 ซึ่งจะจัดในรูปแบบของการเล่า ถอดบทเรีย นโครงการแลกเปลี่ย นเรีย นรู้ โครงการ NIThed KM หัว ข้อ “จรรยาบรรณนัก วิจ ัย ทางนิเ ทศศาสตร์ ” ประมวลองค์ค วามรู้โ ดย ดร.ชเนตตี ทิน นาม ผู้ช ่ว ย คณบดีฝ ่า ยวางแผนและพัฒ นา ********************************************** ***************************** หัว ข้อ ที่ 1 การกำา หนดหัว ข้อ วิจ ัย กับ จรรยาบรรณนัก วิจ ัย 3
  • 4. 1. หั ว ข้ อ หรื อ งานวิ จั ย จะต้ อ งไม่ ซำ้า ซ้ อ นหรื อ เป็ น สิ่ ง ที่ เ คยมี ผู้ ศึกษามาก่อนแล้ว 2. หัวข้อวิจัยจะต้องมีประโยชน์กับคนหมู่มากโดยผลจากการ วิ จั ยจ ะต้ อ ง เป็ นแ ง่ บ วก ม าก ก ว่ า แ ง่ ล บ แล ะนำา ไป ใ ช้ ประโยชน์ได้จริง 3. การตั้งหัวข้อวิจัยควรตั้งจากประเด็นปัญหาหรือสิ่งที่เกิดขึ้น จริง ไม่ใช่ตั้ งเพราะถือเอาความสะดวกสบายหรือเป็นเรื่อง ใกล้ตัวของผู้วิจัยเอง หรือตั้งหัวข้อวิจัยเพราะคนทำาวิจัยกับ กลุ่ ม เป้ า หมายหรื อ กลุ่ ม ทุ น วิ จั ย มี ผ ลประโยชน์ ต่ อ กั น ซึ่ ง ถือว่าเป็นเรื่องที่ผิดจรรยาบรรณของนักวิจัย อีกทั้งงานวิจัย ชิ้นนั้นก็ไม่เกิดประโยชน์เท่าที่ควร 4. นั ก วิ จั ย ควรไตร่ ต รองหาหั ว ข้ อ การวิ จั ย ด้ ว ยความรอบคอบ และทำา การวิจัยด้วยจิตสำา นึกที่จะอุทิศกำา ลั งปัญญาของตน เพื่อความก้าวหน้าทางวิชาการ เพื่อความเจริญของสถาบัน และประโยชน์สุขต่อสังคม 5. นั ก วิ จั ย ควรรั บ ผิ ด ชอบในการสร้ า งสรรค์ ผ ลงานวิ ช าการ เพื่อความเจริญ ของสั งคม ไม่ทำา การวิ จัย ที่ ขั ด กั บ กฎหมาย ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน หั ว ข้ อ ที่ 2 ก า ร อ อ ก แ บ บ ก า ร วิ จ ั ย แ ล ะ ก า ร เ ก็ บ ข้ อ มู ล กั บ จรรยาบรรณนัก วิจ ัย 1. นั ก วิ จั ย ต้ อ งมี ค วามซื่ อ สั ต ย์ ต่ อ ตนเองไม่ นำา ผลงานของผู้ อื่นมาเป็นของตนไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น ต้องให้เกียรติ และอ้างถึงบุคคลหรื อแหล่ งที่ มาของข้ อมู ลที่ นำา มาใช้ ใน งานวิจัย ต้องซื่อตรงต่อการแสวงหาทุน วิจัยและมีความ เป็นธรรมเกี่ยวกับผลประโยชน์ที่ได้จากการวิจัย 2. นักวิจัยต้องมีความซื่อสัตย์ในทุกขั้นตอนของกระบวนการ วิจัย ตั้งแต่การเลือกเรื่องที่จะทำา วิจัย การเลือกผู้เข้าร่วม ทำา วิจัย การดำา เนินการวิจัย ตลอดจนการนำา ผลงานวิจัย ไปใช้ประโยชน์ หัว ข้อ ที่ 3 การวิเ คราะห์ข ้อ มูล กับ จรรยาบรรณนัก วิจ ัย 1. ข้อมูลที่ได้จากการวิจัยต้องไม่บิดเบือนในภายหลัง ทั้งใน แง่ของปริมาณหรือความถูกต้องของข้อมูล ข้อมูลทุก ด้านที่ได้มาควรที่จะเป็นความจริงตามหลักจรรยาบรรณ ของนักวิจัย 2. ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ต้ อ งวิ เ คราะห์ ต ามหลั ก วิ ช าการ อย่ า ใช้ อารมณ์หรือความรู้สึกเข้าไปเกี่ยวข้องโดยเด็ดขาด 4
  • 5. หัว ข้อ ที่ 4 การเขีย นรายงานวิจ ัย และการเผยแพร่ 1. นักวิจัยควรเขียนผลงานวิจัยและการเผยแพร่โดยคำานึง ถึงประโยชน์ทางวิชาการ และสังคม ไม่นำาเสนอผลงานวิจัย เกิน ความเป็นจริงโดยเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง 2.นักวิจัยพึงเสนอผลงานวิจัยตามความเป็นจริงไม่ขยายผล ข้ อ ค้ น พบโดยปราศจากการตรวจสอบ ยื น ยั น ในทาง วิชาการ ************************* 5