SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
มโนทัศน์สาคัญ
ข้อมูลพื้นฐานเป็นข้อมูลในด้านต่างๆที่จาเป็นซึ่งนักพัฒนาหลักสูตรจะต้องศึกษาวิเคราะห์และใช้ประกอบการพิจารณา
ในการสร้างหรือจัดทาหลักสูตรในทุกองค์ประกอบของหลักสูตร อันได้แก่ ข้อมูลทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมืองกา
รปกครอง
การพัฒนาการทางเทคโนโลยี ประวัติศาสตร์การศึกษา หลักสูตรเดิม ข้อมูลจากบุคลากร ได้แก่บุคคลภายนอก นักวิชาการ
แต่ละสาขา ข้อมูลทางธรรมชาติของความรู้ทางปรัชญาและจิตวิทยาการศึกษา การศึกษาข้อมูลพื้นฐานเป็นขั้นตอนแรกสุดข
องกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ผลจากการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวจะนาไปใช้ในกระบวนการพัฒนาหลักสูตรในขั้นตอน
ต่างๆตั้งแต่กระบวนการกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร กระบวนการกาหนดเนื้อหาและประสบการณ์การเรียนรู้ กระบวนกา
รจัดการกิจกรรมการเรียนการสอนวนและกระบวนการประเมินผล เพื่อให้ได้หลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนแ
ละสังคม เพราะฉะนั้นในการพัฒนาหลักสูตรระดับต่างๆในอนาคตจะต้องศึกษาข้อมูลพื้นฐานในเรื่องต่างๆจากหลายๆแห่งแล
ะจากบุคคลหลายๆฝ่าย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แท้จริงมาพัฒนาหลักสูตร สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เจริญเติบโตทั้งทางด้านร่างกาย
จิตใจ สติปัญญา และอารมณ์ เป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองและประเทศชาติหรือกล่าวโดยสรุปคือสามารถใช้ห
ลัดสูตรเป็นเครื่องมือในการสร้างสังคมใหม่ในทิศทางที่ถูกต้องได้
การพัฒนาหลักสูตรจาเป็นต้องศึกษา วิเคราะห์ สารวจ วิจัย สภาพพื้นฐานด้านต่างๆเพื่อให้ได้ข้อมูลอย่างเพียงพ
อที่จะใช้สนับสนุน อ้างอิงในการตัดสินใจดาเนินการต่างๆเพื่อให้ได้หลักสูตรที่ดี สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามา
รถ และทัศนะคติที่จะนาไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคมได้
การพัฒนาหลักสูตรเป็นงานที่มีขอบเขตกว้างขวางมาก การที่จะจัดหลักสูตรให้มีคุณภาพนั้นผู้พัฒนาหลักสูตรต้อง
ศึกษาข้อมูลหลายๆด้านเพ่อที่จะได้ข้อมูลที่สมจริงไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน สังคมหรือการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างเ
พราะข้อมูลเหล่านี้จะช่วยนักพัฒนาหลักสูตรในเรื่องต่างๆคือ
ช่วยให้มองเห็นภาพรวมว่า ในการจัดทาหลักสูตรนั้นจาเป็นต้องคานึงถึงสิ่งใดบ้างและสิ่งต่างๆเหล่านั้นมีอิทธิพลต่อหลักสูตรอ
ย่างไร
ช่วยให้สามารถกาหนดองค์ประกอบของหลักสูตรได้อย่างเหมาะสม เช่น การกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และการกาหน
ดเนื้อหาวิชาฯลฯ
ช่วยให้สามารถกาหนดยุทธศาสตร์การเรียนกานสอนได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
ช่วยเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรอันจะส่งผลให้การดดาเนินการในอนาคตประสบผลดียิ่งขึ้น
ข้อมูลต่างๆที่นามาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรนั้น นักการศึกษาทั้งต่างประเทศและนักการศึกษาไทย ได้แสดงแ
นวทางไว้ดังนี้
1. เซเลอร์ และอเล็กซานเดอร์ กล่าวถึงข้อมูลพื้นฐานในกานพัฒนาหลักสูตรไว้ว่า
1. ข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน
2. ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมซึ่งสนับสนุนโรงเรียน
3. ข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติและลักษณะของกระบวนการเรียนรู้
4. ความรู้ที่ได้สะสมไว้และความรู้ที่จาเป็นอย่างยื่งที่ต้องให้แก่นักเรียน
2. ทาบา กล่าวว่าการพัฒนาหลักสูตรโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์จะต้องคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. สังคมและวัฒนธรรม
2. ผู้เรียนและกระบวนการเรียน
3. ธรรมชาติของความรู้
3. ไทเลอร์ กล่าวถึงสิ่งที่ควรพิจารณาในการสร้างจุดมุ่งหมายของการศึกษาคือ
1. ข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน ซึ่งได้แก่ความต้องการของผู้เรียนและความสนใจของผู้เรียน
2. ข้อมูลจากการศึกษาชีวิตภายนอกโรงเรียน
3. ข้อมูลที่ได้จากข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ
4. ข้อมูลทางด้านปรัชญา
5. ข้อมูลทางด้านจิตวิทยาการเรียนรู้
4. จากการรายงานของคณะกรรมการวางพื้นฐานการปฏิรูปการศึกษาได้กาหนดข้อมูลต่างๆในการกาหนดจุดม่งหมายทางก
ารศึกษาและในการจัดการศึกษาของประเทศดังนี้
1. สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
2. สภาพแวดล้อมทางประชากร
3. สภาพแวดล้อมทางสังคม
4. สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
5. สภาพแวดล้อมทางการเมือง
6. การปกครองและการบริหาร
7. สภาพแวดล้อมทางศาสนาและวัฒนธรรม
8. สภาพของสื่อมวลชนเพื่อการศึกษา
5. กาญจนา คุณารักษ์ กล่าวถึงข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรไว้ดังนี้
1. ตัวผู้เรียน
2. สังคมและวัฒนธรรม
3. ธรรมชาติและคุณสมบัติของการเรียนรู้
4. การสะสมความรู้ที่เพียงพอและเป็นไปได้เพื่อการให้การศึกษา
6. ธารง บัวศรี กล่าวว่าพื้นฐานการพัฒนาหลักสูตรมีดังนี้
1. พื้นฐานทางปรัชญา
2. พื้นฐานทางสังคม
3. พื้นฐานทางจิตวิทยา
4. พื้นฐานทางความรู้และวิทยาการ
5. พื้นฐานทางเทคโนโลยี
6. พื้นฐานทางประวัติศาสตร์
7. สงัด อุทรานันท์ กล่าวถึงพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรไว้ดังนี้
1. พื้นฐานทางปรัชญาการศึกษา
2. ข้อมูลทางสังคมและวัฒนธรรม
3. พื้นฐานเกี่ยวกับพัฒนาการของผู้เรียน
4. พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนรู้
5. ธรรมชาติของความรู้
8. สุมิตร คุณานากร กล่าวถึงข้อมูลต่างๆในการพัฒนาหลักสูตรจาแนกตามแหล่งที่มาได้ 6ประการคือ
1. ข้อมูลทางปรัชญา
2. ข้อมูลที่ได้จากนักวิชาการแต่ละสาขา
3. ข้อมูลที่ได้จากจิตวิทยาการเรียนรู้
4. ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาสังคมของผู้เรียน
5. ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาความต้องการของผู้เรียน
6. ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทางเทคโนโลยี
9. สาโรช บัวศรี ได้กล่าวว่าในการจัดการศึกษาหรือจัดหลักสูตรต้องอาศัยพื้นฐาน5
ประการคือ
พื้นฐานทางปรัชญา
พื้นฐานทางจิตวิทยา
พื้นฐานทางสังคม
พื้นฐานทางประวัติศาสตร์
5. พื้นฐานทางด้านเทคโนโลยี
จะเห็นได้ว่าข้อมูลพื้นฐานที่นามาศึกษาเพื่อพัฒนาหลักสูตรมีมากมายหลายด้าน
สาหรับประเทศไทยควรจัดลาดับข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญในด้านต่างๆดังต่อไปนี้
สังคมและวัฒนธรรม
เศรษฐกิจ
การเมืองการปกครอง
สภาพปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาสังคม
พัฒนาการทางเทคโนโลยี
สภาพสังคมในอนาคต
บุคคลภายนอกและนักวิชาการแต่ละสาขา
โรงเรียน ชุมชน หรือสังคมที่โรงเรียนตั้งอยู่
ประวัติศาสตร์การศึกษาและหลักสูตรเดิม
ธรรมชาติของความรู้
ปรัชญาการศึกษา
จิตวิทยา
1. ข้อมูลพื้นฐานทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
การศึกษาทาหน้าที่สาคัญคือ อนุรักษ์และถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมไปสู่คนรุ่นหลังและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวั
ฒนธรรมของสังคมให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆโดยหน้าที่ดังกล่าวการศึกษาจะช่วยคว
บคุมการเปลี่ยนแปลงสังคมให้เป็นไปในทิศทางที่พึงปรารถนา
เพราะฉะนั้นหลักสูตรที่จะนาไปสอนอนุชนเหล่านั้นจึงต้องมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคมอย่างแยกไม่ออกดังนั้นการพัฒนา
หลักสูตรจึงจาเป็นต้องคานึงถึงข้อมูลทางสังคมและวัฒนธรรมที่เป็นปัจจุบันอยู่เสมอทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถในการวิเคราะ
ห์ความต้องการใหม่ผลการวิเคราะห์ออกมาอย่างไรหลักสูตรก็จะเปลี่ยนจุดหมายไปในแนวนั้นสามารถจาแนกข้อมูลให้เห็นชัดเ
จนได้ดังนี้
1.1 โครงสร้างทางสังคม โครงสร้างสังคมไทยแบ่งออกเป็น
2 ลักษณะคือ ลักษณะสังคมชนบทหรือสังคมเกษตรกรรมและสังคมเมืองหรือสังคมอุตสาหกรรมในปัจจุบันความเจริญก้าวห
น้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีมากดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรจาเป็นจะต้องศึกษาโครงสร้างทางสังคมที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
และแนวโน้มโครงสร้างสังคมในอนาคตเพื่อที่จะได้ข้อมูลมาจัดการหลักสูตรว่าจะจัดหลักสูตรอย่างไรเพื่อยกระดับการพัฒนาสัง
คมเกษตรกรรมและเตรียมพื้นฐานเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมตามความจาเป็น
1.2
ค่านิยมในสังคม ค่านิยมหมายถึงสิ่งที่คนในสังคมเดียวกันมองเห็นว่ามีคุณค่าเป็นที่ยอมรับหรือเป็นที่ปรารถนาของคนทั่วไปใน
สังคมนั้นๆดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรจึงจาเป็นต้องศึกษาค่านิยมต่างๆในสังคมไทย หน้าที่ของนักพัฒนาหลักสูตรที่จะศึกษาแ
ละเลือกค่านิยมที่ดีและสอดแทรกไว้ในหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝังและสร้างค่านิยมที่ดีในสังคมไทย
1.3
ธรรมชาติของคนในสังคม จากสภาพวัฒนธรรมและค่านิยมของสังคมไทยทาไห้คนไทยส่วนใหญ่มีลักษณะบุคลิกภาพดังต่อไป
นี้
- ยึดมั่นในตัวบุคคลมากกว่าหลักการและเหตุผล
- ยกย่องบุคคลที่มีความรู้หรือได้รับการศึกษาสูง
- เคารพและคล้อยตามผู้มีวัยวุฒิสูง
- ยกย่องผู้มีเงินและผู้มีอานาจ
- รักความอิสระและชอบทางานตามลาพัง
- เชื่อโชคลางทางไสยศาสตร์
- นิยมการเล่นพรรคเล่นพวก
- มีลักษณะเฉื่อยชาไม่กระตือรือร้น
ฯลฯ
ในการพัฒนาหลักสูตรควรคานึงถึงลักษณะธรรมชาติ บุคลิกภาพของคนในสังคม โดยศึกษาพิจารณาว่าลักษณะใ
ดควรจะคงไว้ ลักษณะใดควรจะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ พึงประสงค์ของสภาพสังคมปัจจุบัน เพื่อที่จะจัดการศึกษาในอันที่จ
ะสร้างบุคลิกลักษณะของคนในสังคมตามที่สังคมต้องการ เพราะหลักสูตรเป็นแนวทางในการสร้างลักษณะสังคมในอนาคต
1.4
การชี้นาสังคมในอนาคต การศึกษาควรมีบทบาทในการชี้นาสังคมในอนาคตด้วยเพราะในอดีตที่ผ่านมาระบบการศึกษา และ
ระบบพัฒนาหลักสูตรของไทยเป็นลักษณะของการตั้งรับมาโดยตลอด เช่นการตั้งรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆเช่น
กระแสความเจริญของประเทศทางตะวันตก กระแสวิชาการตะวันตก ความต้องการและปัญหาของสังคม จึงทาให้การศึกษ
าเป็นตัวตาม เป็นเครื่องมือที่คอยพัฒนาตามกระแสของการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ฉะนั้นการจักการศึกษาที่ดีควรใช้การศึกษา
เป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศในอนาคตให้เป็นไปตามเป้ าหมายที่วางไว้
1.5 ลักษณะสังคมตามความคาดหวัง การเตรียมพัฒนาทรัพยากรให้มีคุณภาพมีคุณลักษณะ
หรือคุณลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งนั้นเป็นเรื่องไม่คงที่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพในการดารงชีวิต จรรโลงสภา
พสังคมในอนาคตให้ดีขึ้นลักษะประชากรที่มีคุณภาพดีมีดังนี้
มีสุขภาพกายสุขภาพจิตดี
มีอาชีพเพื่อเลี้ยงตัวเองและครอบครัว ทาประโยชน์แก่ครอบครัว
เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม เป็นพลเมืองที่ดีของชาติ
มีสติปัญญาหมั่นเสริมสร้างความรู้ความคิดอยู่เสมอ
มีนิสัยรักการทางานขยันอดทนประหยัดซื่อสัตย์ภักดี
มีมนุษยสัมพันธ์และมีมนุษยธรรม
1.6 ศาสนาและวัฒนธรรมในสังคม ศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในสังคม
เพราะฉะนั้นสิ่งที่บรรจุไว้ในหลักสูตรควรเป็นหลักธรรมในศาสนาต่างๆและควรเปรียบเทียบหลักธรรมของศาสนาเหล่านั้นเพื่อใ
ห้ผู้เรียนได้ทราบว่าทุกศาสนามีเป้ าหมายสูงสุดร่วมกัน คือสอนให้คนเป็นคนดีเพื่อความสงบสุขในการอยู่ร่วมกันในสังคม ส่ว
นด้านวัฒนธรรมนั้นปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเพราะวิทยาการต่างๆเจริญก้าวหน้ามาก
ในการพัฒนาหลักสูตรจึงต้องคานึงถึงการเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม การศึกษาข้อมูลขั้นพื้นฐานทางสังคมอ
ย่างรอบคอบจะทาให้เราสามารถนาไปพัฒนาหลักสูตรที่ดีตามลักษณะดังต่อไปนี้
สนองความต้องการของสังคม
สอดคล้องกับความเป็นจริงในสังคม
เน้นในเรื่องรักชาติรักประชาชน
แก้ปัญหาให้สังคมมิใช่สร้างปัญหาให้สังคม
ปรับปรุงสังคมให้ดีขึ้น
สร้างความสานึกในเรื่องของความเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ชี้นาในเรื่องการเปลี่ยนแปลงประเพณีและค่านิยม
ต้องถ่ายทอดวัฒนธรรมและจริยธรรม
ปลูกฝังในเรื่องความซื่อสัตย์และความยุติธรรมในสังคม
ให้ความสาคัญในเรื่องผลประโยชน์ในสังคม
2. ข้อมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาเศรษฐกิจเพราะการศึกษาเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาคนซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สาคั
ญที่สุดในทุกระบบเศรษฐกิจการพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจควรพิจารณาประเด็นต่อไปนี้
2.1
การเตรียมกาลังคน การให้การศึกษาเป็นสิ่งสาคัญในการผลิตกาลังคนในด้านต่างๆให้เพียงพอและสอดคล้องกับความต้องกา
รในแต่ละสาขาวิชาชีพเพื่อป้ องกันการสูญเปล่าทางการศึกษาและเพื่อลดปัญหาการว่างงานอันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเ
ทศ
2.2
การพัฒนาอาชีพ ประเทศไทยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ทางเกษตรและประชากรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรอาศัยอยู่ในชนบท
ปัจจุบันมีการโยกย้ายถิ่นที่อยู่เข้ามาทางานในเมืองใหญ่ซึ่งทาให้เกิดปัญหาอื่นๆ
เพราะฉะนั้นการพัฒนาหลักสูตรควรเน้นการส่งเสริมอาชีพส่วนใหญ่ของคนในประเทศเพื่อลดปัญหาช่องว่างระหว่างคนรวยแล
ะคนจนสิ่งเหล่านี้เป็นหน้าที่ที่นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องร่วมมือร่วมใจกันจัดทาหลักสูตรเพื่อพัฒนาอาชีพให้บรรลุผล
2.3 การขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม ปัจจุบันประเทศไทยกาลังพัฒนาจากเกษตรกรรมสู่ภาคอุตสาหกรรม
นักพัฒนาหลักสูตรควรศึกษาข้อมูลแนวโน้มและทิศทางการขยายตัวทางอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมด้านไหนควรจะได้รับการพั
ฒนาหรือเป็นอุตสาหกรรมที่ต้องการละจาเป็นของสังคมหรือของโลก
เพราะฉะนั้นการศึกษาแนวโน้มการขยายตัวทางภาคอุตสาหกรรมจึงเป็นสิ่งสาคัญอีกประการหนึ่งที่นักพัฒนาหลักสูตรจะละเล
ยเสียมิได้
2.4
การใช้ทรัพยากร เศรษฐกิจเป็นเรื่องของการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อสนองความต้องการที่ไม่
จากัดของมนุษย์เพราะฉะนั้น
นักพัฒนาหลักสูตรควรให้ความสาคัญในเรื่องของทรัพยากรโดยใช้หลักสูตรเป็นเครื่องปลูกฝังเกี่ยวกับความสาคัญของทรัพยา
กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้รู้จักและเข้าใจระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงซึ่งในจุดนี้นักพัฒนาหลักสูตรควรจะให้ความสาคัญแ
ละคิดพัฒนาหลักสูตร
2.5 การพัฒนาคุณลักษณะของบุคคลในระบบเศรษฐกิจของคนไทย
การพัฒนาคุณลักษณะของบุคคลในระบบเศรษฐกิจของคนไทยยังขัดแย้งกับความเป็นจริงในระบบเศรษฐกิจ
เช่นคนไทยมีรายได้ต่าแต่ความต้องการจับจ่ายในระบบเศรษฐกิจสูงตามความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ ทาให้เกิดปัญหาหนี้สิน
ล้นพ้นตัว การใช้การศึกษาเข้าไปแก้ไขจะเป็นวิธีการที่สาคัญและให้ผลในระยะยาวเพราะฉะนั้นการพัฒนาหลักสูตรต้องคานึง
ถึงการพัฒนาคุณลักษณะของคนไทยในหลักสูตรจะต้องบรรจุเนื้อหาสาระ และประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีการปลูกฝังจิตสานึ
กในความรับผิดชอบร่วมกัน
2.6
การลงทุนทางการศึกษา การจัดการศึกษาในทุกระดับต้องใช้งบประมาณของรัฐ โดยเฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดการ
ศึกษาควรคานึงถึงงบประมาณเพื่อการศึกษา แหล่งเงินที่ช่วยเหลือรัฐในรูปงบประมาณ ในการจัดหลักสูตรควรจัดให้สอดคล้
องกับงบประมาณของรัฐไม่ว่าในด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านวัสดุอุปกรณ์ เพื่อให้การใช้หลักสูตรเป็นไปอย่างมีประสิท
ธิภาพ และต้องคานึงถึงผลตอบแทนจากการลงทุน ในด้านกาลังคน ปริมาณและคุณภาพ และต้องคานึงถึงผลตอบแทนจาก
การลงทุนในด้านกาลังคน ปริมาณ
และคุณภาพ เช่นการพัฒนาหลักสูตรให้เยาวชนมีความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์ การลงทุนด้านอุปกรณ์
คือคอมพิวเตอร์ การลงทุนในจุดดังกล่าวส่วนหนึ่งอาจเป็นการลงทุนที่สูญเปล่า เพราะฉะนั้นในการพัฒนาหลักสูตรควรคานึง
ถึงการลงทุนทางการศึกษาด้วยว่าเป็นการลงทุนที่สูญเปล่าหรือไม่ ในอดีตมีตัวอย่างของการพัฒนาหลักสูตรที่ทาให้เกิดการสู
ญเปล่าทางการศึกษาอยู่เสมอ
3. ข้อมูลพื้นฐานทางด้านการเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครองเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดระเบียบการอยู่ร่วมกัน
จาเป็นต้องมีระเบียบแบบแผน ในสังคมยึดถือเป็นแนวปฏิบัติต่อกันเพื่อความสงบเรียบร้อยและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ดังนั้
นการเมืองการปกครองจึงเป็นเรื่องเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่สิทธิและความรับผิดชอบที่บุคคลพึงมีต่อสังคมและประเทศชาติ
การเมืองการปกครองมีความสัมพันธ์กับการศึกษาในฐานะที่การศึกษามีหน้าที่ผลิตสมาชิกที่ดีให้แก่สังคม
หลักสูตรจึงควรบรรจุเนื้อหาวิชาและประสบการณ์ที่จะปลูกฝังให้ประชากรอยู่ร่วมกันในสังคมได้ด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อ
ยและสันติสุข
ข้อมูลที่เกี่ยวกับการเมืองการปกครองที่ควรจะนามาเป็นพื้นฐานประกอบการพิจารณาในการพัฒนาหลักสูตรก็คือ
ระบบการเมืองและระบบการปกครองนโยบายของรัฐและรากฐานของประชาธิปไตยฯลฯเป็นต้น
3.1 ระบบการเมืองการปกครอง เนื่องจากการศึกษาเป็นเครื่องมืออันหนึ่งของสังคมดังนั้น
การศึกษากับระบบการเมืองการปกครองจึงแยกกันไม่ออก
หลักสูตรจึงมักจะบรรจุเนื้อหาสาระของระบบการเมืองการปกครองไว้
เพื่อสร้างความเข้าใจให้ประชาชนอยู่ร่วมกันในสังคมได้ด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย
เพราะฉะนั้นในการพัฒนาหลักสูตรควรเลือกเนื้อหาวิชาประสบการณ์การเรียนรู้
และการจัดให้มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครองที่ต้องการปลูกฝัง
3.2 นโยบายของรัฐเนื่องจากการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของระบบสังคมจึงมีความจาเป็นต้องสอดคล้องกับระบบอื่นๆ
ในสังคม
การที่จะให้ระบบต่างๆสามารถเกื้อหนุนส่งเสริมซึ่งกันและกันจึงจาเป็นจะต้องมีการประสานสัมพันธ์ระหว่างระบบ รัฐบาลจึงต้
องมีนโยบายแห่งรัฐเพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินงานของระบบต่างๆให้มีความต่อเนื่องและสอดคล้องซึ่งกันและกัน
นโยบายของรัฐที่เห็นได้ชัดคือ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาการศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรควรจะได้พิจารณานโยบายของรัฐด้วย
เพื่อที่จะได้จัดการศึกษาให้สอดคล้องกัน
3.3 รากฐานของประชาธิปไตย
จากการที่ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยในปี
พ.ศ.2475 นั้นความรู้ความเข้าใจตลอดจนความรู้สึกนึกคิดต่างๆเกี่ยวกับประชาธิปไตยในสังคมไทยยังไม่เพียงพอ
หลักสูตรในฐานะที่เป็นเครื่องมือสาหรับพัฒนาคนควรที่จะได้วางรากฐานที่เกี่ยวกับประชาธิปไตยให้แก่สังคม
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจอันถูกต้องซึ่งจะสร้างสรรค์ให้ทุกคนอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสันติสุข
นอกจากนี้การจัดการเรียนการสอนก็ควรมุ่งเน้นพฤติกรรมประชาธิปไตยด้วย
การศึกษาจึงควรมีบทบาทสาคัญในการปรับปรุงแก้ไขการจัดการเรียนการสอนควรเน้นเรื่องความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง
ให้ประชาชนรู้หน้าที่ของตนเองในระบอบประชาธิปไตย
ทั้งที่ศึกษาอยู่ในระบบและนอกระบบหรือจบการศึกษาแล้วได้ศึกษาและนาไปปฏิบัติจริงเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายที่ว่า
การศึกษาคือกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต
เพื่อเป็นการวางรากฐานทางด้านประชาธิปไตย
การจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับระบบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยควรจัดตามลาดับดังนี้
การจัดการศึกษาให้เท่าเทียมทั่วถึง
ให้อานาจการจัดการศึกษากระจายไปในท้องถิ่น
ให้เสรีภาพและเสถียรภาพแก่บุคคลให้โอกาสแสดงความคิดเห็น
การเรียนการสอนควรส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตยให้โอกาสผู้เรียนแสวงหาความรู้
ส่งเสริมการแก้ปัญหาด้วยตนเอง
จัดหลักสูตรให้ยืดหยุ่นได้ง่าย
เน้นวิชามนุษยสัมพันธ์และจริยธรรมเป็นพิเศษ
นอกจากนั้นการปลูกฝังอบรมสั่งสอนนักเรียน
ก็มีส่วนสาคัญที่จะช่วยให้ประชาธิปไตยของไทยมีความเป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้นด้วยวิธีการดังต่อไปนี้
ชี้ให้เห็นประโยชน์ของประชาธิปไตยโดยการให้คาแนะนาและฝึกปฏิบัติ
สร้างนิสัยให้มีความกระตือรือร้นสนใจเหตุการณ์บ้านเมือง
ปลูกฝังการมีวินัยและเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น
ฝึกการเคารพกฎเกณฑ์ต่างๆอย่างเข้มงวด
กระตุ้นและปลูกฝังให้มีความตั้งใจเรียนซื่อสัตย์รับผิดชอบต่อตนเองครอบครัว และประเทศชาติ
ฝึกให้สนใจและร่วมกันพิจารณาปัญหาต่างๆของสังคมและหาทางแก้ไข
หาโอกาสให้ความร่วมมือประกอบกิจกรรมเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
ช่วยแก้ไขค่านิยมในสังคมและสร้างค่านิยมที่ดีและเหมาะสม
ปลูกฝังทัศนคติที่ว่าการเมืองเป็นเรื่องการให้ความร่วมมือและการช่วยชาติเพื่อบุคคลรุ่นใหม่จะได้เป็นนักการเมืองที่ดี
ให้ความรู้และกระตุ้นให้สนใจการเมืองโดยคานึงถึงหลักการวิธีการสิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองของประเทศ
ปลูกฝังให้มีความพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในกระบวนการทางการเมืองทั้งในระดับโรงเรียนท้องถิ่นและประเทศชาติ
ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีแนวคิดว่าทุกคนควรมีบทบาททางการเมืองและการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทุกคน
เน้นให้เห็นความสาคัญของการไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
4. ข้อมูลพื้นฐานทางสภาพปัญหาและแนวทางหารแก้ไขในสังคม
สภาพปัญหาและแนวทางหาการแก้ไขในสังคมเป็นข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญที่ต้องศึกษา
สังคมไทยในปัจจุบันกาลังประสบปัญหายุ่งยากหลายประการ
ซึ่งปัญหาต่างนั้นมีทังระยะสั้นระยะยาวและการแก้ปัญหาก็อาจทาชั่วคราวหรืออย่างถาวร
การจัดการการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวจึงเป็นเรื่องสาคัญที่นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องศึกษาแล้วนามาสร้างเป็นหลักสูตร
ปัญหาสาคัญๆที่ควรศึกษาคือ
4.1 ปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม
การขยายตัวของอุตสาหกรรมและการใช้เทคโนโลยีทาให้เกิดปัญหาสภาวะทางสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติในสังคมไทยเช่น
ปัญหาการทาลายป่าปัญหาความเสื่อมโทรมของดินปัญหาน้าเสียและอากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมเป็นต้น
ปัญหาข้างต้นนั้นสมควรที่จะได้ศึกษาถึงสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขเพื่อนาไปเป็นข้อมูลในการจัดการศึกษาและพัฒนาหลั
กสูตรเช่นการกาหนดเนื้อหาในเรื่องสภาพแวดล้อมการอนุรักษ์สภาพแวดล้อม การใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ฉลาด
ซึ่งสิ่งเหล่านี้ที่จะปลูกฝังความรับผิดชอบให้เกิดขึ้นต่อผู้เรียน
4.2 ปัญหาทางด้านสังคม
ในปัจจุบันในสังคมไทยมักจะเกิดขึ้นหลังจากการเปลี่ยนแปลงของสังคม
ซึ่งมีสาเหตุมาจากความเจริญทางวัตถุและวัฒนธรรมตะวันตกที่หลั่งไหลเข้ามาอย่างรวดเร็วด้วนอิทธิพลของการสื่อสาร
เฉพาะในวัยหนุ่มสาวซึ่งจะก่อให้เกิดความขัดแย้งทางด้านความคิดระหว่างหนุ่มสาวกับผู้ใหญ่ที่ยึดมั่นวัฒนธรรมเดิม
ทาให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติดปัญหาทางเพศปัญหาอาชญากรรม
ซึ่งการศึกษาปัญหาเหล่านี้จะเป็นข้อมูลในการจัดหลักสูตรเพื่อเตรียมเยาวชนให้สามารถดารงอยู่ในสังคมอยู่ในสังคมที่เปลี่ยนแ
ปลงได้อย่างมีความสุขและไม่เกิดปัญหา
4.3 ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
โดยพื้นฐานประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมประชาชนส่วนใหญ่ยังมีฐานะยากจนและมีการศึกษาต่า
ประชาชนเกิดการว่างงานการย้ายถิ่นฐานทากินจากชนบทสู่เมืองสิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาทางเศรษฐกิจที่ยาวนานของประเทศ
เพราะฉะนั้นในการพัฒนาหลักสูตรควรได้ศึกษาปัญหาทางด้านเศรษฐกิจทั้งในอดีตปัจจุบันและอนาคต
เพื่อที่จะได้นาข้อมูลทางเศรษฐกิจที่ได้มาจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับทรัพยากรทางธรรมชาติ
และแนวโน้มการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศโดยกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการสร้างหลักสูตรรายวิชา
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถและประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจทาให้ผู้ที่จบการศึกษาในระดับต่างๆสามารถออกไปประก
อบอาชีพ และสามารถดารงอยู่ได้ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจโดยไม่เป็นปัญหาหรือภาระของสังคม
4.4 ปัญหาด้านการเมืองการปกครอง
สภาพปัญหาด้านการเมืองการปกครองของไทยเป็นมายาวนานสมควรที่การศึกษาจะเข้าไปมีบทบาทในการพัฒนาทางด้านกา
รเมืองคือการให้ความรู้และปลูกฝังในเรื่องของประชาธิปไตย
เพราะประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชนในท้องถิ่นชนบทยังความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยไม่ดีพอ
นอกจากนั้นประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความสานึกและความรับผิดชอบต่อวิถีทางแบบประชาธิปไตย
ซึ่งจะเห็นได้จากการเข้าไปมีบทบาททางด้านการเมืองยังเป็นเรื่องของคนกลุ่มน้อย
ในเมื่อผู้ได้รับการศึกษาที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องประชาธิปไตยเป็นอย่างยังขาดความสานึกและความรับผิดชอบเช่นนี้
จึงควรนักพัฒนาหลักสูตรจะได้ตระหนักและพัฒนาหลักสูตร
เนื้อหาวิชาหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีจิตสานึกและความรับผิดชอบต่อการเมืองการปกครองข
องประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของนักพัฒนาหลักสูตรจะต้องพิจารณาปัญหาเพื่อนาไปสู่การตัดสินใจเลือกทิศทางในการพัฒนาหลัก
สูตรเพื่อสร้างคนที่เป็นประโยชน์แก่สังคม
หรือคนที่จะไปพัฒนาหรือแก้ปัญหาสังคมต่อไป ขั้นตอนในการพิจารณาปัญหาและแนวทางแก้ไข
1. พิจารณาปัญหาที่ระบบการศึกษาอานวยในการปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น
2. พิจารณาสาเหตุข้อเท็จจริงสภาพปัญหา
3. พิจารณาวิชาเนื้อหาและประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสม
4. พิจารณากิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม
5. ข้อมูลพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทาให้สังคมเปลี่ยนไป
ผู้เรียนเกิดความจาเป็นต้องเพิ่มความรู้ ทักษะใหม่และต้องเปลี่ยนแปลงเจตคติใหม่
ทาให้เกิดความจาเป็นต้องสร้างคุณธรรมและความคิดใหม่เพื่อให้คนในสังคมสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคม
ได้
โดยการใช้การศึกษาทาหน้าที่สร้างประชาชนที่มีคุณภาพและมีความสามารถที่จะปรับตัวเข้ากับสังคมที่มีความเจริญทางด้านวิ
ทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสมหลักสูตรที่นามาใช้จึงจาเป็นต้องมีความสอ

More Related Content

What's hot

เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีSunisa199444
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2Pattama Poyangyuen
 
แบบบันทึกพฤติกกรรม 2556
แบบบันทึกพฤติกกรรม 2556แบบบันทึกพฤติกกรรม 2556
แบบบันทึกพฤติกกรรม 2556Muhammadrusdee Almaarify
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
แบบฝึกทักษะ 4.pdf new
แบบฝึกทักษะ 4.pdf newแบบฝึกทักษะ 4.pdf new
แบบฝึกทักษะ 4.pdf new
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณี
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 
แบบบันทึกพฤติกกรรม 2556
แบบบันทึกพฤติกกรรม 2556แบบบันทึกพฤติกกรรม 2556
แบบบันทึกพฤติกกรรม 2556
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 

Viewers also liked

ปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาหลักสูตร.Pptx
 ปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาหลักสูตร.Pptx  ปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาหลักสูตร.Pptx
ปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาหลักสูตร.Pptx ลัดดา ทองแสน
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรtanongsak
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคkruskru
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรRissa Byk
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยnaykulap
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้Bhayubhong
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...Wichai Likitponrak
 
Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
Challenge Based Learning(CBL)  : การเรียนรู้บนความท้าทาย :Challenge Based Learning(CBL)  : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :DrDanai Thienphut
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์Narathip Khrongyut
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรkrutep
 
ข้อสอบตัดสินแผนพัฒนาและโครงการอาชีพ
ข้อสอบตัดสินแผนพัฒนาและโครงการอาชีพข้อสอบตัดสินแผนพัฒนาและโครงการอาชีพ
ข้อสอบตัดสินแผนพัฒนาและโครงการอาชีพpeter dontoom
 

Viewers also liked (20)

ปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาหลักสูตร.Pptx
 ปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาหลักสูตร.Pptx  ปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาหลักสูตร.Pptx
ปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาหลักสูตร.Pptx
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
Challenge Based Learning(CBL)  : การเรียนรู้บนความท้าทาย :Challenge Based Learning(CBL)  : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 
Stu 21
Stu 21Stu 21
Stu 21
 
ข้อสอบตัดสินแผนพัฒนาและโครงการอาชีพ
ข้อสอบตัดสินแผนพัฒนาและโครงการอาชีพข้อสอบตัดสินแผนพัฒนาและโครงการอาชีพ
ข้อสอบตัดสินแผนพัฒนาและโครงการอาชีพ
 

Similar to ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร

Similar to ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร (20)

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวาการพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 

ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร