SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
พันธะ
เคมีChemistry Bond
By Natthaporn Kawirads
Program CHEMISTRY
พันธะไอออนิก
การเกิดพันธะไอออนิก
พันธะไอออนิก คือ พันธะเคมีที่เกิด
ขึ้นระหว่างอะตอมของโลหะกับอโลหะ
โดยโลหะจะเป็นตัวให้อิเล็กตรอน ส่วน
อโลหะจะรับอิเล็กตรอน ยกเว้น Be และ
B จะเป็นพันธะโลหะที่เกิดโคเวเลนต์By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอ
ไรด์ (NaCl) จากอะตอมโซเดียม (Na) และ
อะตอมคลอรีน (Cl)
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
Na = 2 8 1 Cl = 2 8 7 Cl = 2 8 8Na = 2 8
การเกิดสารประกอบแคลเซียมคลอไรด์
() จากอะตอมแคลเซียม (Ca) และอะตอม
คลอรีน (Cl)
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การเกิดสารประกอบแมกนีเซียมคลอไรด์
(MgCl2) จากอะตอมแมกนีเซียม (Mg) และ
อะตอมคลอรีน (Cl)
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
1.ผลึกโซเดียมคลอ
ไรด์
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
ลักษณะคล้าย
ตาข่าย
อัตราส่วนระหว่าง
ไอออนบวก :
ไอออนลบ เท่ากับ
6 : 6 หรือ 1: 1
สูตรอย่างง่ายจึง
เป็น NaCl
2. ผลึกซีเซียมคลอไรด์
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
(ต่อ)
แต่ละไอออนจะมี
ไอออนต่างชนิดล้อม
รอบอยู่ 8 ไอออน
อัตราส่วนระหว่าง
ไอออนบวก :
ไอออนลบ เท่ากับ
8 : 8 หรือ 1: 1 สูตร
การเขียนสูตรและเรียกชื่อ
สารประกอบไอออนิก
1. เมื่อโลหะทำาปฏิกิริยากับอโลหะ ธาตุทั้งสอง
จะรวมกันด้วยพันธะไอออนิกเกิดเป็น
สารประกอบไอออนิก  ก่อนอื่นต้องทราบว่า
ธาตุที่ทำาปฏิกิริยากันเกิดเป็นไอออนชนิดใด
และมีประจุเท่าใด ดังนี้
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
2. ชื่อไอออน
บวกและ
ไอออนลบที่
เป็นกลุ่ม
อะตอม
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การเขียนสูตรและเรียกชื่อ
สารประกอบไอออนิก (ต่อ)
1. เขียนไอออนบวกของโลหะหรือกลุ่ม
ไอออนบวกไว้ข้างหน้า ตามด้วยไอออน
ลบของอโลหะหรือกลุ่มไอออนลบ ยกเว้น
สารประกอบไอออนิกที่เป็น เกลืออะซิ
เตต (CH3COO-
)
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การเขียนสูตรสารประกอบ
ไอออนิก
เช่น CH3
COONa
(CH3
COO)2
Ca
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
2. ไอออนบวกและไอออนลบ จะรวมกัน
ในอัตราส่วนที่ทำาให้ผลรวมของประจุ
เป็นศูนย์ ดังนั้นจึงต้องหาตัวเลขมาคูณ
กับจำานวนประจุบนไอออนบวกและ
ไอออนลบให้มีจำานวนเท่ากัน แล้วใส่
ตัวเลขเหล่านั้นไว้ที่มุมขวาล่างของแต่ละ
ไอออน ซึ่งทำาได้โดยใช้จำานวนประจุบน
ไอออนบวกและไอออนลบคูณไขว้กัน
การเขียนสูตรสารประกอบ
ไอออนิก (ต่อ)
3. ถ้ากลุ่มไอออนบวกหรือไอออนลบมี
มากกว่า 1 กลุ่ม ให้ใส่วงเล็บ ( ) และใส่
จำานวนกลุ่มไว้ที่มุมล่างขวาล่าง 
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การเขียนสูตรสารประกอบ
ไอออนิก (ต่อ)
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
เช่น จงเขียนสูตรของสารประกอบไอออ
นิกต่อไปนี้
ก. Na+
 กับ O2-
  ข. Ca2+
 กับ Cl-
  ค.
NH4
+
 กับ SO4
2-
1. สารประกอบธาตุคู่ ถ้าสารประกอบเกิด
จาก ธาตุโลหะที่มีไอออนได้ชนิดเดียวรวมกับ
อโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก
แล้วตามด้วยชื่อธาตุอโลหะที่เป็นไอออนลบ
โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide)
เช่น
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การอ่านชื่อสารประกอบ
ไอออนิก
ิเจน เปลี่ยนเป็น ออกไซด์ (oxide)
รีน เปลี่ยนเป็น คลอไรด์ (chloride)
ไฮโดรเจน เปลี่ยนเป็น ไฮไดรด์ (h
ไอโอดีน เปลี่ยนเป็น ไอโอไดด์ (
ตัวอย่า
ง
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การอ่านชื่อสารประกอบ
ไอออนิก (ต่อ)
NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์
(Sodiumchloridr)
KBrอ่านว่า โพแทสเซียมโบรไมด์
(Potascium bromide)
CaI2 อ่านว่า แคลเซียมไอโอไดด์
(Calcium iodide)
 CaCl2 อ่านว่า แคลเซียมคลอไรด์
(Calcium chloride)
ถ้าสารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะ
เดียวกันที่มีไอออนได้หลายชนิด รวมตัว
กับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออน
บวกแล้วตามด้วยค่าประจุของไอออนของ
โลหะโดยวงเล็บเป็นเลขโรมัน แล้วตาม
ด้วยอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยน
เสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) 
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การอ่านชื่อสารประกอบ
ไอออนิก (ต่อ)
การอ่านชื่อสารประกอบไอออ
นิก (ต่อ)
เช่น Fe เกิดไอออนได้ 2 ชนิดคือ Fe2+
และ Fe3+
 และ Cu เกิดไอออนได้ 2 ชนิด
คือ Cu+
และ Cu2+ 
สารประกอบที่เกิดขึ้น
และการอ่านชื่อ ดังนี้
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
FeCl2 อ่านว่า ไอร์
ออน (II) คลอไรด์
( Iron (II) chloride )FeCl3 อ่านว่า ไอร์
 ออน (III) คลอไรด์
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การอ่านชื่อสารประกอบไอออ
นิก (ต่อ)
CuS อ่านว่า คอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์
( Cupper(I) sunfide )
Cu2S อ่านว่า คอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์
( Copper(II) sunfide )
2. สารประกอบธาตุสามหรือมากกว่า ถ้า
สารประกอบเกิดจากไอออนบวกของโลหะ
หรือกลุ่มไอออนบวกรวมตัวกับกลุ่มไอออนลบ
ให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะหรือชื่อกลุ่ม
ไอออนบวก แล้วตามด้วยกลุ่มไอออนลบ เช่น
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การอ่านชื่อสารประกอบไอออ
นิก (ต่อ)
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
CaCO3 อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอนเนต
(Calciumcarbonat)
Ba(OH)2 อ่านว่า แบเรียมไฮดรอกไซด์
(Bariumhydroxide)
การอ่านชื่อสารประกอบไอออ
นิก (ต่อ)
KNO3 อ่านว่า โพแทสเซียมไนเตรต
(Potasciumnitrae)
(NH4)3PO4 อ่านว่า แอมโมเนียมฟอสเฟต
(Ammomiumpospate)
พลังงานกับการเกิดพันธะ
 ไอออนิก
    ในการเกิดพันธะไอออนิกหรือ
สารประกอบไปออนิก จะมีการ
เปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอนด้วยกัน แต่จะ
มีกี่ขั้นขึ้นอยู่กับสมบัติของสารตั้งต้นและ
แต่ละขั้นตอนย่อยๆจะมีพลังงาน
เกี่ยวข้องอยู่ด้วย ดังตัวอย่าง
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์
(NaCl) มีขั้นตอนดังนี้
1.โลหะโซเดียมที่อยู่ในสถานะของแข็ง
ระเหิดกลายเป็นไอ (กลายเป็นอะตอมใน
สถานะก๊าซ) ขั้นนี้ต้องดูดพลังงาน
เท่ากับ 109 kJ/mol เรียกพลังงานที่ใช้
ในขั้นนี้ว่า พลังงานการระเหิด (Heat
of siblimation) สัญลักษณ์ “ Hs" หรือ
"S"
Na(s)+ 109 kJ---------------->Na(g).........
(1)By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
2. การสลายโมเลกุลของคลอรีน (Cl2(g)) ซึ่ง
อยู่ในสถานะก๊าซแตกตัวออกเป็นอะตอมใน
สถานะก๊าซ (Cl(g))  ขั้นนี้ต้องใช้พลังงาน
หรือดูดพลังงานเท่ากับ 122 kJ/mol เรียก
พลังงานที่ใช้ในขั้นนี้ว่า พลังงานสลาย
พันธะ หรือ พลังงานการแตกตัว (Bond
Dissociation energy) สัญลักษณ์ “ Hdis"
หรือ "d”
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์
(NaCl) มีขั้นตอนดังนี้ (ต่อ)
Cl2
(g) + 122kJ
-------------------> Cl(g)…..(2)
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
3. การแตกตัวเป็นไอออนของโซเดียม อะตอม
ของโซเดียมในสถานะก๊าซ เสีย 1 เวเลนซ์
อิเล็กตรอน กลายเป็นโซเดียมไอออนใน
สถานะก๊าซ ขั้นนี้ต้องใช้พลังงานหรือดูด
พลังงาน 496 kJ/mol เรียกพลังงานที่ใช้ใน
ขั้นนี้ว่า พลังงานไอออไนเซชั่น
(Ionization Energy) สัญลักษณ์ "IE" หรือ "I”
การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์
(NaCl) มีขั้นตอนดังนี้ (ต่อ)
Na(g)+496 kJ-----------------
>Na+
(g) + e
.........
(3)
4. การเกิดคลอไรด์ไอออน คลอรีนอะตอมใน
สถานะก๊าซรับอิเล็กตรอนกลายเป็นคลอไรด์
ไอออนในสถานะก๊าซ(Cl-
(g)) ขั้นนี้คาย
พลังงานออกมา 349 kJ/mol พลังงานที่คาย
ออกมาในขั้นนี้เรียกว่า อิเลคตรอนอัฟฟินิตี
หรือสัมพรรคภาพอิเลคตรอน (Electron
Affinity) สัญลักษณ์ E หรือ EA
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์
(NaCl) มีขั้นตอนดังนี้ (ต่อ)
g)+e-
-----------------> Cl-
(g)+349 kJ........
5. การเกิดโซเดียมคลอไรด์ โซเดียมไอออน
ในสถานะก๊าซ และคลอไรด์ไอออนในสถานะ
ก๊าซรวมตัวกันด้วยพันธะไอออนิกได้ผลึกโซ
เดียมครอไรด์ (NaCl(s)) ขั้นนี้คายพลังงาน
ออกมา 787 kJ/mol พลังงานที่คายออกมา
ในขั้นนี้เรียกว่า พลังงานแลคทิซ หรือ
พลังงานโครงร่างผลึก (Lattic Energy)
สัญลักษณ์ U หรือ Ec
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์
(NaCl) มีขั้นตอนดังนี้ (ต่อ)
+ Cl-
(g) ---------------------->NaCl(s)+787 kJ.
การเปลี่ยนพลังงานในแต่ละขั้นตอน เขียน
แทนด้วย H ลำาดับต่างๆ พลังงานรวมของ
ปฏิกิริยาเขียนแทนด้วย Hf
เครื่องหมาย + แทนการดูดพลังงาน และ
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
เมื่อเอาสมการ
(1)+(2)+(3)+(4)+(5)
จะได้สมการรวมหรือปฏิกิริย
รวมดังนี้
Cl
107 + 122 + 496 – 349 – 787 = -41
ดูด ดูด ดูด คาย คาย
สมการรวมหรือปฏิกิริยารวมเป็น
การละลายของสารประกอบไอ
ออนิก
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
สารประกอบไอออนิกบางชนิดจะ
ละลายนำ้าและไม่ละลายนำ้า การที่
สารประกอบไอออนิกละลายนำ้าได้นั้น
เนื่องจาก แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล
ของนำ้ากับไอออนมีค่ามากกว่าแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับ
ไอออนลบ เช่น การละลายนำ้าของ
โซเดียมคลอไรด์ (NaCl)
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
ในการละลายนำ้าของสารประกอบไอ
ออนิก จะมีขั้นย่อยๆของการ
เปลี่ยนแปลง 2 ขั้นตอน ดังนี้
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
ขั้นที่ 1 ผลึกของสารประกอบไอออนิกสลาย
ตัวออกเป็นไอออนบวกและลบในภาวะก๊าซ
ขั้นนี้ต้องใช้พลังงานเพื่อสลายผลึก พลังงานนี้
เรียกว่า พลังงานโครงร่างผลึก ( latece
energy ) , E1
ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบใน
ภาวะก๊าซรวมตัวกับนำ้า ขั้นนี้มีการคาย
พลังงาน พลังงานที่คายออกมาเรียกว่า
พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy
พลังงานของการละลาย ( E) มีค่า =
E1 + E2 พลังงานของการละลายพิจารณา
จากพลังงานโครงร่างผลึก ( E1) และพลัง
งานไฮเดรชัน ( E2 ) ดังนี้
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
1. ถ้าค่า E< 0 ( E1 < E2 ) การละลายจะ
เป็นแบบ คายพลังงาน
2. ถ้าค่า E > 0 ( E1 > E2 ) การละลายจะ
เป็นแบบ ดูดพลังงาน
3. ถ้า E = 0 ( E1 = E2 ) การละลายจะไม่
คายพลังงาน
4. ถ้า พลังงานโครงร่างผลึกมีค่ามากกว่าพลัง
สภาพการละลายได้ของ
 สาร (solubility)
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
เป็นความสามารถของสารที่จะ
ละลายในสารอื่นจนเป็นสารละลาย
อิ่มตัว สภาพการละลายได้ส่วนใหญ่
หมายถึง การละลายของสารในนำ้า
สามารถบอกได้ 3 ระดับ ดังนี้
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
1. ละลายได้ดี หมายถึง ละลายได้
มากกว่า 10 กรัมต่อน้ำ้า 1,000 cm3
ที่
25o
C
2. ละลายได้เล็กน้้อย หมายถึง ละลาย
ได้ 1 - 10 กรัมต่อน้ำ้า 1,000 cm3
ที่
25o
C
3. ไม่ละลายน้ำ้า หมายถึง ละลายได้น้้อย
สภาพการละลายได้ของ
 สาร (solubility)(ต่อ)
การคำาน้วณการละลาย
ของสาร
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
สูตรที่
ใช้
Q 
=  mcΔt   กำาหน้ดให้   Q =  ปริมาณความร้อน้  (จูล)
             m = น้ำ้าหน้ักของน้ำ้า (กรัม)
            c =  ความจุความร้อน้ของน้ำ้า =  1 
แคลอรี/กรัม  หรือ  4.2  จูล/
กรัม องศาเซลเซียส)
          Δt =  อุณหภูมิที่เปลี่ยน้แปลง (องศา
เซลเซียส)
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
ตัวอย่างที่ 1 การคำาน้วณการ
ละลายของสาร
ตัวอย่างที่ 2 การคำาน้วณการ
ละลายของสาร
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
ถ้าทำาให้โซเดียมคลอไรด์จำาน้วน้  1  โมล 
ละลายใน้น้ำ้า  1  ลิตร
( 1,000 กรัม) อุณหภูมิจะเปลี่ยน้แปลงอย่างไร
 ถ้าความร้อน้จำาเพาะของ
น้ำ้าคือ  1  cal/g  หรือ  4.2 J/g   และพลังงาน้
ของการละลายเป็น้ดัง
สมการ
วิธีทำา
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
Q (ปริมาณความร้อน้)          = 
18  kJ
                                  =  18
x 1,000  J
                                  =
 18,000  J 
   m (น้ำ้าหน้ักของน้ำ้า)     = 
1,000  กรัม
  c (ความจุความร้อน้ของน้ำ้า) =
สารประกอบไอออน้ิกที่ละลาย
น้ำ้า
และไม่ละลายน้ำ้า
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
สมบัติความเป็น้ไอออน้ิก (ความแรง)
พิจารณาจากค่า EN ใน้โมเลกุล ดังน้ี้
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
1. ถ้า EN ต่างกัน้มาก จะเป็น้ไอออน้ิ
กมาก
2. ถ้า EN ต่างกัน้น้้อย จะเป็น้โคเว
เลน้ต์
3. ถ้า EN เท่ากัน้ จะเป็น้โคเวเลน้ต์
100%
เรียงลำาดับความเป็น้ไอออน้ิกของ
พัน้ธะโลหะ (Metallic
Bond)
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
พัน้ธะโลหะ คือ แรงดึงดูดระหว่างไอออน้
บวกที่เรียงชิดกัน้กับอิเล็กตรอน้ที่ล้อมรอบ
หรือ แรงยึดเหน้ี่ยวที่เกิดจากอะตอมใน้ก้อน้
โลหะใช้ VE. ทั้งก้อน้ร่วมกัน้
ทะเลอิเล็กตรอน้
* * * สมบัติของโลหะ
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY
1. เป็น้ตัวน้ำาไฟฟ้าได้ดี
2. น้ำาความร้อน้ได้ดี
3. ตีเป็น้แผ่น้หรือดึงออก
เป็น้เส้น้ได้
4. ผิวมัน้วาว
5. จุดเดือด จุดหลอมเหลว
สิ้น้สุดการน้ำาเสน้อ
By Natthaporn Kawirads Program CHEMISTRY

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นDr.Woravith Chansuvarn
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกิตติธัช สืบสุนทร
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1Sircom Smarnbua
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพnarongsakday
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
 

Similar to พันธะเคมี Part ionic bonds

พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsBELL N JOYE
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์Y'tt Khnkt
 
พันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdf
พันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdfพันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdf
พันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdfsaichon1308
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfsensei48
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-textnantita
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์babyoam
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)ssuserb3caf5
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 

Similar to พันธะเคมี Part ionic bonds (20)

พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bonds
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
Bond
BondBond
Bond
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
พันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdf
พันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdfพันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdf
พันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdf
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdf
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 

More from BELL N JOYE

บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)BELL N JOYE
 
Biochemical Oxygen Demand Test
 Biochemical  Oxygen  Demand  Test  Biochemical  Oxygen  Demand  Test
Biochemical Oxygen Demand Test BELL N JOYE
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationBELL N JOYE
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsBELL N JOYE
 
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswarsLab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswarsBELL N JOYE
 
Extraction of Caffeine from Coffee
Extraction of Caffeine from CoffeeExtraction of Caffeine from Coffee
Extraction of Caffeine from CoffeeBELL N JOYE
 
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอมBELL N JOYE
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม AtomsBELL N JOYE
 

More from BELL N JOYE (8)

บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
 
Biochemical Oxygen Demand Test
 Biochemical  Oxygen  Demand  Test  Biochemical  Oxygen  Demand  Test
Biochemical Oxygen Demand Test
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and application
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
 
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswarsLab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
 
Extraction of Caffeine from Coffee
Extraction of Caffeine from CoffeeExtraction of Caffeine from Coffee
Extraction of Caffeine from Coffee
 
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 

พันธะเคมี Part ionic bonds

Editor's Notes

  1. O H
  2. Na = 2 8 1 Cl = 2 8 7
  3. ลักษณะคล้ายตาข่าย อัตราส่วนระหว่างไอออนบวก : ไอออนลบ เท่ากับ 6 : 6 หรือ 1: 1 สูตรอย่างง่ายจึงเป็น NaCl
  4. สารประกอบไอออนิกบางชนิดจะละลายน้ำและไม่ละลายน้ำ การที่สารประกอบไอออนิกละลายน้ำได้นั้น เนื่องจาก แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับไอออนมีค่ามากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ เช่น
  5. สูตรที่ใช้
  6. ทะเลอิเล็กตรอน