SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
Oganอวัยวะ , Organismสิ่งมีชีวิต 
•สิ่งมีชีวิตคือ สิ่งที่สามารถ แพร่พันธุ์ ขยายพันธุ์ให้ลูกและหลานรุ่น ต่อๆไปได้
Populationประชากร 
•ประชากร คือ สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมาอยู่ร่วมกัน ในแหล่งที่อยู่ อาศัยเดียวกัน
Communityกลุ่มสิ่งมีชีวิต 
•กลุ่มสิ่งมีชีวิตคือ สิ่งมีชีวิต หลายชนิดมาอยู่รวม ในที่อยู่อาศัย บริเวณเดียวกัน
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) ระบบนิเวศเป็นหน่วยที่สาคัญที่สุดในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม เพราะประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด มีการแลกเปลี่ยนสสาร แร่ธาตุ และพลังงานกับสิ่งแวดล้อม โดยผ่านห่วงโซ่ อาหาร (food chain)มีลาดับของการกินเป็นทอด ๆ ทาให้สสารและแร่ธาตุมีการหมุนเวียน ไปใช้ในระบบจนเกิดเป็นวัฏจักร ทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปตามลาดับขั้นเป็นช่วง ๆ ใน ห่วงโซ่อาหารได้ การจาแนกองค์ประกอบของระบบนิเวศ ส่วนใหญ่จะจาแนกได้เป็นสอง องค์ประกอบใหญ่ ๆ คือ 1. องค์ประกอบที่มีชีวิต 2. องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
ซึ่งเป็นระบบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน ในบริเวณนั้น และความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อม ของแหล่งที่อยู่ ได้แก่ ดิน น้า แสง ในระบบนิเวศจะมีการถ่ายทอด พลังงานระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ และมีการหมุนเวียนสารต่างๆ จากสิ่งแวดล้อมสู่สิ่งมีชีวิตและจากสิ่งมีชีวิตสู่สิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศมีทั้งระบบใหญ่ เช่น โลกของเราจัดเป็นระบบนิเวศที่ ใหญ่ที่สุด เรียกว่า โลกของสิ่งมีชีวิตหรือชีวภาค (biosphere) ซึ่งรวม ระบบนิเวศหลากหลายระบบ และระบบนิเวศเล็กๆ เช่น ทุ่งหญ้า สระน้า ขอนไม้ผุ ระบบนิเวศ จาแนกได้เป็น ระบบนิเวศตามธรรมชาติ ได้แก่ ระบบนิเวศบนบก เช่น ป่าไม้ บึง ทุ่งหญ้า ทะเลทราย ระบบนิเวศน้า เช่น แม่น้าลาคลอง ทะเล หนอง บึง มหาสมุทร ระบบนิเวศอีกประเภทหนึ่ง
ระบบนิเวศ ..... การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด มีการแลกเปลี่ยนสสาร แร่ ธาตุ และพลังงานกับสิ่งแวดล้อม โดยผ่านห่วงโซ่อาหาร (foodchain) มีลาดับของการกินเป็นทอด ๆ ผลที่เกิดขึ้น...ทาให้สสารและแร่ธาตุมีการหมุนเวียนไปใช้ในระบบ จนเกิดเป็นวัฏจักร ทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปตามลาดับขั้นเป็น ช่วง ๆ ในห่วงโซ่อาหาร
องค์ประกอบของระบบนิเวศ 
การจาแนกองค์ประกอบของระบบนิเวศแยกตามหน้าที่ใน ระบบ ได้แก่ 
-กลุ่มที่สร้างอาหารได้เอง (autotroph) 
-กลุ่มได้รับอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่น (heterotroph) 
องค์ประกอบของระบบนิเวศโดยทั่วไปประกอบไปด้วย 
-องค์ประกอบที่มีชีวิต (biotic)องค์ประกอบทางชีวภาพ 
-องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต (abiotic) องค์ประกอบทางกายภาพ
องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต (abioticcomponent) 1 สารอนินทรีย์ (inorganic substances) ประกอบด้วยแร่ธาตุและ สารอนินทรีย์ซึ่งเป็นองค์ประกอบสาคัญในเซลล์สิ่งมีชีวิต เช่น คาร์บอน ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และน้า 2 สารอินทรีย์ (organic compound) ได้แก่สารอินทรีย์ที่จาเป็นต่อ ชีวิต เช่นโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และซากสิ่งมีชีวิตเน่าเปื่อยทับ ถมกันในดิน (humus) 3 สภาพภูมิอากาศ (climate regime) ได้แก่ปัจจัยทางกายภาพที่มี อิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ แสง ความชื้น อากาศ และพื้นที่ อยู่อาศัย
หลักสาคัญ กระบวนการของระบบนิเวศคือ -การไหลของพลังงานและการหมุนเวียนของสารเคมี -การไหลของพลังงาน (energy flow) เป็นการส่งผ่านของพลังงาน ในองค์ประกอบของระบบนิเวศ ส่วนการหมุนเวียนสารเคมี (chemical cycling)เป็นการใช้ประโยชน์และนากลับมาใช้ใหม่ ของแร่ธาตุภายในระบบนิเวศ
องค์ประกอบที่มีชีวิต (biotic component)ได้แก่ 
1ผู้ผลิต (producer or autotrophic)ได้แก่สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหาร เองได้จากสารอนินทรีย์ส่วนมากจะเป็นพืชที่มีคลอโรฟิลล์ 
2ผู้บริโภค (consumer) ได้แก่สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเอง ได้ (heterotroph)ส่วนใหญ่เป็นสัตว์ที่กินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร 
3ผู้ย่อยสลายซาก (decomposer, saprotroph, osmotrophหรือ microconsumer) ได้แก่สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่สร้างอาหารเองไม่ได้ เช่น แบคทีเรีย เห็ด รา (fungi) 
หน้าที่... 
ทาหน้าที่ย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้วในรูปของสารประกอบโมเลกุล ใหญ่ให้กลายเป็นสารประกอบโมเลกุลเล็กในรูปของสารอาหาร (nutrients) เพื่อให้ผู้ผลิตนาไปใช้ได้ใหม่อีก 
อินทรีย์สาร อนินทรียสาร (แร่ธาตุ)
ความสัมพันธ์สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ แสงสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น กระแสลม กระแสน้า แร่ธาตุ มีอิทธิพลต่อ ชนิด จานวน การกระจาย และการดารงชีพของสิ่งมีชีวิต
แสง (Light) ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานของโลกของสิ่งมีชีวิต พืช และสิ่งมีชีวิตที่มีคลอโรฟีลล์เป็นกลุ่มสิ่งชีวิต ที่รับพลังงานแสง จากดวงอาทิตย์มาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นการ เก็บพลังงานไว้ในโมเลกุลของอาหารสาหรับใช้ในการดารงชีวิต ของพืชเอง และเป็นอาหารของสัตว์ต่อไปตามลาดับ แหล่งที่อยู่แต่ละแห่งจะมีปริมาณแสงแตกต่างกันไป ทาให้ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่แต่ละบริเวณแตกต่างกันด้วย เช่น เราจะพบ กลุ่มพืชหนาแน่นในบริเวณที่มีแสงส่องถึง แต่บริเวณใต้ต้นไม้ ใหญ่ที่แผ่กิ่งก้านกว้างมักจะไม่พบพืชชนิดอื่นมากนัก
พืชแต่ละชนิดยังมีความต้องการแสงในปริมาณแตกต่างกัน บาง พวกต้องการแสงมาก เช่น ข้าว อ้อย ข้าวโพด ในขณะที่พืชบางกลุ่ม เช่น กล้วยไม้ เจริญดีในที่ที่มีแสงราไร หรือมีแสงน้อย สาหรับสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้า ส่วนใหญ่จะกระจาย อยู่บริเวณผิวน้าและในระดับที่ไม่ลึกมากมีแสงส่องถึง โดยเฉพาะ พวกพืชน้า สาหร่ายและสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กพวกแพลงตอนพืช แพลงตอนสัตว์ แต่ก็มีสัตว์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่น้ามีความลึกมาก ซึ่งจะมีโครงสร้างเป็นแหล่งกาเนิดแสงในตัวเอง หรือมีลวดลาย เด่นชัดตามลาตัว
แสง... 
ยังมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกหากิน ของสัตว์ต่างๆ สัตว์ส่วนใหญ่จะออกหากินเวลา กลางวัน แต่ก็มีสัตว์อีกหลายชนิดที่ออกหากินเวลา กลางคืน เช่น เสือ นกกลางคืน
พืช.....แต่ละชนิดยังมีความต้องการแสงในปริมาณแตกต่างกัน บาง พวกต้องการแสงมาก เช่น ข้าว อ้อย ข้าวโพด ในขณะที่พืชบางกลุ่ม เช่น กล้วยไม้ เจริญดีในที่ที่มีแสงราไร หรือมีแสงน้อย สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้า.... ส่วนใหญ่จะกระจายอยู่บริเวณผิวน้าและ ในระดับที่ไม่ลึกมากมีแสงส่องถึง โดยเฉพาะพวกพืชน้า สาหร่ายและ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กพวกแพลงตอนพืช แพลงตอนสัตว์ สัตว์...ที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่น้ามีความลึกมาก ซึ่งจะมีโครงสร้างเป็น แหล่งกาเนิดแสงในตัวเอง หรือมีลวดลายเด่นชัดตามลาตัว
อุณหภูมิ 
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดดารงชีวิตอยู่ได้ในอุณหภูมิประมาณ 10-30องศา เซลเซียส ในที่ที่มีอุณหภูมิสูงมากหรือต่ามากจะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่น้อย ทั้งชนิดและจานวน หรืออาจไม่มีสิ่งมีชีวิตอยู่ได้เลย เช่น แถบขั้วโลก และ บริเวณทะเลทราย ในแหล่งน้าอุณหภูมิไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงมากนัก ถึงแม้ ในเขตอบอุ่นและเขตหนาวแถบอาร์กติก ที่ปกคลุมด้วยน้าแข็ง น้าก็ไม่ได้ เป็นน้าแข็งไปหมด น้าที่อยู่ด้านล่างก็ยังคงเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตบาง ชนิดได้
•อุณหภูมิบนพื้นดินจะมีความแปรปรวนมากกว่าในน้า แต่ สิ่งมีชีวิตก็มีการปรับตัว เช่น ในบางฤดูกาลมีสัตว์และพืช หลายชนิดต้องพักตัวหรือจาศีล เพื่อหลีกเลี่ยงการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าว สัตว์บางประเภทอพยพไปสู่ถิ่นใหม่ ที่มีอุณหภูมิเหมาะสมเป็นการชั่งคราวในบางฤดูเช่น นก นางแอ่นบ้านอพยพจากประเทศจีน มาหากินในประเทศ ไทยในช่วงฤดูหนาว และอาจจะเลยไปถึงมาเลเซียใน เดือนกันยายนทุกปี
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
อุณหภูมิบนพื้นดินจะมีความแปรปรวนมากกว่าในน้า แต่สิ่งมีชีวิตก็มี การปรับตัว เช่น ในบางฤดูกาลมีสัตว์และพืชหลายชนิดต้องพักตัวหรือจาศีล เพื่อหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว สัตว์บางประเภทอพยพไปสู่ถิ่น ใหม่ที่มีอุณหภูมิเหมาะสมเป็นการชั่งคราวในบางฤดู เช่น นกนางแอ่น บ้านอพยพจากประเทศจีน มาหากินในประเทศไทยในช่วงฤดูหนาว
แร่ธาตุ 
แร่ธาตุต่างๆจะมีอยู่ในอากาศที่ห่อหุ้มโลก อยู่ในดินและละลายอยู่ใน น้า แร่ธาตุที่สาคัญ ได้แก่ ออกซิเจน คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และแร่ธาตุอื่นๆเป็นสิ่งจาเป็นที่สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการใน กระบวนการดารงชีพ แต่สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดต้องการแร่ธาตุเหล่านี้ในปริมาณ ที่แตกต่างกัน และระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีแร่ธาตุต่างๆเป็นองค์ประกอบ ในปริมาณแตกต่างกัน จึงเป็นปัจจัยสาคัญในการจากัดชนิดและปริมาณของ สิ่งมีชีวิต เช่น ระบบนิเวศป่าชายเลน ซึ่งเป็นดินเลน น้ากร่อย ก็จะมีพืชและ สัตว์ที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากสิ่งมีชีวิตที่พบบนบก เป็นต้น 
ในระบบนิเวศแต่ละแห่งจะมีการหมุนเวียนถ่ายเทแร่ธาตุและสาร ต่างๆ จากภายนอกเข้าสู่สิ่งมีชีวิตและจากสิ่งมีชีวิตกลับคืนสู่ธรรมชาติเป็นวัฏ จักร
ความชื้น ความชื้นในบรรยากาศจะแตกต่างกันไปตามแต่ละภูมิภาค ของโลกและยังเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล ความชื้นมีผลต่อการระเหย ของน้าออกจากร่างกายของสิ่งมีชีวิต ทาให้จากัดการกระจายและชนิด ของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ด้วย ในเขตร้อนจะมีความชื้นสูง เนื่องจากมี ฝนตกชุกและสม่าเสมอ และมีความอุดมสมบูรณ์ จึงมีความ หลากหลายของชนิดและปริมาณของสิ่งมีชีวิตมากกว่าในเขตอบอุ่น หรือเขตหนาว
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ 
สัตว์ที่กินทั้งพืช/สัตว์
องค์ประกอบที่มีชีวิตในระบบนิเวศ 
•ส่วนประกอบที่มีชีวิต(bioticcomponent)ได้แก่พืชสัตว์รวมทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กและ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวซึ่งช่วยทาให้ระบบนิเวศทางานได้อย่างเป็นปกติโดยแบ่งออกตามหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตได้ เป็น3ประเภทคือ ผู้ผลิต(producer)คือสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้โดยการสังเคราะห์ด้วยแสงได้แก่พืชสี เขียวแพลงก์ตอนพืชและแบคทีเรียบางชนิดผู้ผลิตมีความสาคัญมากเพราะเป็นจุดเริ่มต้นที่เชื่อมต่อระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต และสิ่งที่มีชีวิตอื่นๆในระบบนิเวศ 
ผู้บริโภค(consumer)คือสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารขึ้นเองได้แต่ได้รับธาตุอาหารจากการกิน สิ่งมีชีวิต อื่นอีกทอดหนึ่งพลังงานและแร่ธาตุจากอาหารที่สิ่งมีชีวิตกินจะถูกถ่ายทอดสู่ผู้บริโภคซึ่งแบ่งตามลาดับของการ กินอาหารได้ดังนี้ 
ผู้ย่อยสลาย(decomposer)คือสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้แต่อาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิต ชนิดอื่น โดยการสร้างน้าย่อยออกมาย่อยสลายแร่ธาตุต่างๆในส่วนประกอบของซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารโมเลกุลเล็กๆ แล้ว จึงดูดซึมอาหารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปใช้เช่นแบคทีเรียเห็ดราเป็นต้น
ผู้บริโภคในระบบนิเวศ 
ผู้บริโภคกินพืช (Herbivore) 
เช่น กระต่าย วัว ม้า ช้าง ผีเสื้อ เลียงผา ผู้บริโภคกินสัตว์ (Carnivore) 
เช่น เสือ เหยี่ยว กบ ลิ่น นกแต้วแล้ว ผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์ (Omnivore) 
เช่น นกบางชนิดที่กินทั้งแมลงและเมล็ดพืช ได้แก่ นกหัวขวาน นกกระทาทุ่ง
สายใยอาหาร (food web) ระบบนิเวศจานวนน้อยที่ประกอบไปด้วยห่วงโซ่อาหารเดี่ยวๆ ผู้บริโภค แรกเริ่มหลายรูปแบบมักจะกินพืชชนิดเดียวกันและผู้บริโภคแรกเริ่มชนิดเดียว อาจกินพืชหลายชนิดดังนั้นสาขาย่อยของห่วงโซ่อาหารจึงเกิดขึ้นในระดับการ กินอื่นๆด้วย ตัวอย่างเช่น กบตัวเต็มวัยซึ่งเป็นผู้บริโภคลาดับสองกินแมลงหลาย ชนิดซึ่งอาจถูกกินโดยนกหลายชนิด นอกจากนี้แล้ว ผู้บริโภคบางชนิดยังกิน อาหารในระดับการกินที่แตกต่างกัน นกฮูกกินหนูซึ่งเป็นผู้บริโภคแรกเริ่มที่กิน สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด แต่นกฮูกอาจกินงูซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่กินเนื้ออีก ด้วย สิ่งมีชีวิตที่กินทั้งพืชและสัตว์ รวมทั้งมนุษย์ด้วย(omnivore) จะกินทั้งผู้ผลิต และผู้บริโภคในระดับการกินต่างๆ ดังนั้นความสัมพันธ์เชิงการกินอาหารใน ระบบนิเวศจึงถูกถักทอให้มีความละเอียดซับซ้อนมากยิ่งขึ้นจนกลายเป็นสายใย อาหาร (food web)
ระดับการกินอาหาร (trophiclevels) ความสัมพันธ์ของการกินอาหารเป็นตัวกาหนดเส้นทางของ การไหลของพลังงานและวัฏจักรเคมีของระบบนิเวศ จากการ วิเคราะห์การกินอาหารในระบบนิเวศทาให้นักนิเวศวิทยา สามารถ แบ่งชนิดของระบบนิเวศออกได้ตามแหล่งอาหารหลัก ของระดับการกิน(trophiclevel)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชากรต่างชนิดกัน (InterspecificInteractions in Community) สิ่งมีชีวิตทั้งหลายในสังคมต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน อาจมีทั้งพึ่งพาและ แก่งแย่งกัน ความสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆทาให้สิ่งมีชีวิตมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกัน ซึ่งแบ่งได้เป็น 3แบบใหญ่ๆได้แก่ การแก่งแย่ง (competition) การล่าเหยื่อ(predation) ภาวะอยู่ร่วมกัน (symbiosis) ซึ่งแต่ละแบบทาหน้าที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับตัว ด้านวิวัฒนาการ ผ่านทางการคัดเลือกธรรมชาติมา การเรียนรู้ถึงความสัมพันธ์ ของสิ่งมีชีวิตในรูปแบบต่างๆดังกล่าว ทาให้เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงประชากร ในสิ่งแวดล้อมได้ดีขึ้น
ภาวะพึ่งพากัน (mutualism)+/+ทั้งสองที่มาอยู่ร่วมกันต่างให้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน เช่น แบคทีเรียไรโซเบียมที่รากต้นถั่วช่วยตรึงไนโตรเจนจากอากาศสะสมไว้ที่รากต้น ถั่ว ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation)+/+คล้ายภาวะพึ่งพากัน แต่ทั้งคู่ไม่ได้ ดารงชีวิตร่วมกันตลอดเวลา เช่น ดอกไม้กับแมลง โดยดอกไม้ได้ประโยชน์จากแมลง ที่มาช่วยผสมเกสรให้ และแมลงก็ได้น้าหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร ภาวะเกื้อกูลกันหรือภาวะอิงอาศัย+/0 (commensalism)โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ส่วน อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ เช่น กล้วยไม้เกาะบนต้นไม้ จะเห็น ได้ว่ากล้วยไม้ได้ประโยชน์จากต้นไม้แต่ต้นไม้ไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์
ภาวะล่าเหยื่อ (predation)+/- ฝ่ายได้ประโยชน์เรียกว่า ผู้ล่า (predator) ส่วนฝ่ายที่เสีย ประโยชน์เรียกว่า เหยื่อ (prey) เช่น แมวกับนก แมวจะ เป็นผู้ล่าเหยื่ออย่างนก ภาวะมีปรสิต (parasitism)+/- ฝ่ายได้ประโยชน์เรียกว่า ปรสิต (parasite) เช่น กาฝากที่ เกาะบนต้นไม้ใหญ่ กาฝากเป็นปรสิตที่ทาให้ต้นไม้ใหญ่ หรือ ผู้ให้อาศัย (host) เสียประโยชน์
ฝากลูกช่วยกัน..รักษาความสะอาด... เพื่อสร้างสุขนิสัย ขจัดสันดานร้ายออกจากตน
ภาวะเป็นกลาง (neutralism)0/0คือ ภาวะที่มีสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน สิ่งมีชีวิต แต่ละชนิดต่างดารงชีวิตกันอย่างไม่เกี่ยวข้องกัน เช่น ตั๊กแตนในนาข้าว กับไส้เดือนดิน ภาวะหลั่งสารยับยั้งการเจริญ( Antibiosis : 0 , -) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหลั่งสารมายับยั้ง การเจริญของแบคทีเรียสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน บางชนิดหลั่งสารพิษ เรียกว่า hydroxylamine ทาให้สัตว์น้าในบริเวณนั้นได้รับ อันตราย
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
พีระมิดการถ่ายทอดพลังงาน ( food pyramid ) 1. พีระมิดจานวน ( pyramid of number ) 
แต่ละขั้นแสดงให้เห็นจานวนสิ่งมีชีวิตในแต่ละลาดับขั้นของห่วงโซ่ อาหารต่อหน่วย พื้นที่หรือปริมาตรสิ่งมีชีวิตที่อยู่บนยอดสุดของ พีระมิดถูกรองรับโดยสิ่งมีชีวิตจานวนมาก
2. พีระมิดพลังงาน ( pyramid of energy ) แสดงค่าพลังงานในสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วยมีหน่วยเป็น กิโลแคลอรีต่อตารางเมตรต่อปีที่ถ่ายทอดจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคใน ระดับต่างๆ
วัฏจักรของสาร (Biogeochemicalcycle) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารหนึ่งไปอีกสารหนึ่ง โดยการเปลี่ยนตาแหน่งจากแหล่งหนึ่งไปยังอีกแหล่งหนึ่ง หรือจากสิ่งมีชีวิตชนิดชนิดหนึ่งไปยังอีกชนิดหนึ่ง แต่ ในที่สุดจะหมุนเวียนกลับไปยังสภาพเดิมอีก เช่น ออกซิเจนมี อยู่ตามแหล่งต่างๆ ทั่วไป
วัฏจักรน้า (Water cycle) น้าจัดเป็นทรัพยากรที่สามารถสร้างทดแทนขึ้นใหม่ได้น้า ประมาณ 97 % เป็นน้าในมหาสมุทรและอีก 3% เป็นน้าที่ขั้วโลก แม่น้าลาธาร น้าใต้ดิน และอื่น ๆ ในการหมุนเวียนของน้าเริ่มจาก แสงแดดที่ส่องมายังโลก โดยใช้พลังงานจากแสงแดดนี้จะมีผลต่อ การระเหย(Evaporation) และการคลายน้าของพืช (Transpiration) เมื่อไอ น้าตกกระทบความเย็นจะเกิดการควบแน่น (Condensation)แล้วตกมาสู่แผ่นดินและ มหาสมุทรหมุนเวียนเช่นนี้ไปเรื่อยไป จึงทาให้เกิดวัฏจักรของน้า
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
วัฎจักรออกซิเจน 
วัฏจักรน้าและวัฏจักรออกซิเจน มีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกัน เพราะต่างประกอบด้วยโมเลกุล ออกซิเจนโดยทั่วไป O2ได้มา จากการสังเคราะห์ด้วยแสง แล้ว จึงเปลี่ยนเป็นน้าในขั้นตอนการ หายใจที่มีการใช้ O2วัฏจักรออกซิเจนแบ่งออกเป็น 2ขั้นตอน การสังเคราะห์แสง-การ หายใจ
การหมุนเวียนของไนโตรเจน (Nitrogen Cycle) ธาตุไนโตรเจนเป็นธาตุที่จาเป็นในการสร้างโปรโตปลาสซึมของ สิ่งมีชีวิต โดยจะเป็นส่วนประกอบหลักของโปรตีน ในบรรยากาศมีก๊าซ ไนโตรเจน ประมาณร้อยละ 78 แต่สิ่งมีชีวิตไม่สามารถนามาใช้ได้โดยตรง แต่จะใช้ได้เมื่ออยู่ในสภาพของสารประกอบ แอมโมเนีย ไนไตรท์และไนเต รท ไนโตรเจนในบรรยากาศ จึงต้องเปลี่ยนรูปให้อยู่ในสภาพที่สิ่งมีชีวิต ส่วนใหญ่จะใช้ได้
วัฏจักรนี้จึงประกอบด้วย ขบวนการตรึงไนโตรเจน (Nitrogen Fixation) ขบวนการสร้างแอมโมเนีย (Ammonification) ขบวนการสร้างไนเตรด (Nitrification) ขบวนการสร้างไนโตรเจน (Denitrification) ขบวนการเหล่านี้จะต้องอาศัยแบคทีเรีย จุลินทรีย์ อื่น ๆ จานวนมาก จึงทาให้เกิด สมดุลของวัฏจักรไนโตรเจน นอกจากจะถูกตรึง โดยสิ่งมีชีวิตแล้ว ไนโตรเจนใน บรรยากาศ ยังถูกตรึงจากธรรมชาติอีกด้วย เป็นต้นว่าเมื่อเกิดฟ้าแลบขึ้นมา ไนโตรเจนในท้องฟ้าจะเปลี่ยนแปลงทางเคมี ฟิสิกส์ ก่อให้เกิดสารประกอบไนเต รดขึ้นมา จากนั้นจะถูกน้าฝนชะพาลงสู่พื้นดินต่อไป
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
โดยทั่วไปในสภาวะแวดล้อมจะมีแร่ธาตุและสารต่าง ๆ เป็นองค์ประกอบอยู่แล้วตามธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตไม่เพียงแต่ใช้ แร่ธาตุและสารจากธรรมชาติ แต่กิจกรรมการดารงชีวิตก็มีการปล่อย สารบางอย่างกลับคืนสู่ธรรมชาติด้วย วนเวียนกัน เป็นวัฏจักร
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
คาร์บอนเป็นองค์ประกอบสาคัญอย่างหนึ่งของสารที่พบใน สิ่งมีชีวิตทุกชนิดคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศถูกพืชนามาเปลี่ยนแปลง เป็นสารอินทรีย์ที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบในพืชโดยกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง สัตว์ได้รับสารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบโดยการกิน อาหาร สาหรับกลุ่มผู้ย่อยสลายอินทรียสาร ก็ได้รับสารคาร์บอนจาก กระบวนการย่อยสลาย สิ่งมีชีวิตทุกชนิดปล่อยคาร์บอนกลับคืนสู่บรรยากาศ โดยการหายใจออกในรูปของคาร์บอน ไดออกไซด์ ซึ่งพืขก็นามาใช้ใน กระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงอีก 
ในระบบนิเวศ จึงมีการหมุนเวียนคาร์บอนตลอดเวลา
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)

More Related Content

What's hot

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 

What's hot (20)

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 

Similar to ระบบนิเวศ (Ecosystem)

ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3kkrunuch
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00suttidakamsing
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001suttidakamsing
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00suttidakamsing
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์Tin Savastham
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJiraporn
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 

Similar to ระบบนิเวศ (Ecosystem) (20)

ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File
FileFile
File
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ระบบนิเวศ (Ecosystem)

  • 2. Oganอวัยวะ , Organismสิ่งมีชีวิต •สิ่งมีชีวิตคือ สิ่งที่สามารถ แพร่พันธุ์ ขยายพันธุ์ให้ลูกและหลานรุ่น ต่อๆไปได้
  • 3. Populationประชากร •ประชากร คือ สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมาอยู่ร่วมกัน ในแหล่งที่อยู่ อาศัยเดียวกัน
  • 4. Communityกลุ่มสิ่งมีชีวิต •กลุ่มสิ่งมีชีวิตคือ สิ่งมีชีวิต หลายชนิดมาอยู่รวม ในที่อยู่อาศัย บริเวณเดียวกัน
  • 5. ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) ระบบนิเวศเป็นหน่วยที่สาคัญที่สุดในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม เพราะประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด มีการแลกเปลี่ยนสสาร แร่ธาตุ และพลังงานกับสิ่งแวดล้อม โดยผ่านห่วงโซ่ อาหาร (food chain)มีลาดับของการกินเป็นทอด ๆ ทาให้สสารและแร่ธาตุมีการหมุนเวียน ไปใช้ในระบบจนเกิดเป็นวัฏจักร ทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปตามลาดับขั้นเป็นช่วง ๆ ใน ห่วงโซ่อาหารได้ การจาแนกองค์ประกอบของระบบนิเวศ ส่วนใหญ่จะจาแนกได้เป็นสอง องค์ประกอบใหญ่ ๆ คือ 1. องค์ประกอบที่มีชีวิต 2. องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
  • 6. ซึ่งเป็นระบบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน ในบริเวณนั้น และความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อม ของแหล่งที่อยู่ ได้แก่ ดิน น้า แสง ในระบบนิเวศจะมีการถ่ายทอด พลังงานระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ และมีการหมุนเวียนสารต่างๆ จากสิ่งแวดล้อมสู่สิ่งมีชีวิตและจากสิ่งมีชีวิตสู่สิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศมีทั้งระบบใหญ่ เช่น โลกของเราจัดเป็นระบบนิเวศที่ ใหญ่ที่สุด เรียกว่า โลกของสิ่งมีชีวิตหรือชีวภาค (biosphere) ซึ่งรวม ระบบนิเวศหลากหลายระบบ และระบบนิเวศเล็กๆ เช่น ทุ่งหญ้า สระน้า ขอนไม้ผุ ระบบนิเวศ จาแนกได้เป็น ระบบนิเวศตามธรรมชาติ ได้แก่ ระบบนิเวศบนบก เช่น ป่าไม้ บึง ทุ่งหญ้า ทะเลทราย ระบบนิเวศน้า เช่น แม่น้าลาคลอง ทะเล หนอง บึง มหาสมุทร ระบบนิเวศอีกประเภทหนึ่ง
  • 7. ระบบนิเวศ ..... การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด มีการแลกเปลี่ยนสสาร แร่ ธาตุ และพลังงานกับสิ่งแวดล้อม โดยผ่านห่วงโซ่อาหาร (foodchain) มีลาดับของการกินเป็นทอด ๆ ผลที่เกิดขึ้น...ทาให้สสารและแร่ธาตุมีการหมุนเวียนไปใช้ในระบบ จนเกิดเป็นวัฏจักร ทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปตามลาดับขั้นเป็น ช่วง ๆ ในห่วงโซ่อาหาร
  • 8. องค์ประกอบของระบบนิเวศ การจาแนกองค์ประกอบของระบบนิเวศแยกตามหน้าที่ใน ระบบ ได้แก่ -กลุ่มที่สร้างอาหารได้เอง (autotroph) -กลุ่มได้รับอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่น (heterotroph) องค์ประกอบของระบบนิเวศโดยทั่วไปประกอบไปด้วย -องค์ประกอบที่มีชีวิต (biotic)องค์ประกอบทางชีวภาพ -องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต (abiotic) องค์ประกอบทางกายภาพ
  • 9. องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต (abioticcomponent) 1 สารอนินทรีย์ (inorganic substances) ประกอบด้วยแร่ธาตุและ สารอนินทรีย์ซึ่งเป็นองค์ประกอบสาคัญในเซลล์สิ่งมีชีวิต เช่น คาร์บอน ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และน้า 2 สารอินทรีย์ (organic compound) ได้แก่สารอินทรีย์ที่จาเป็นต่อ ชีวิต เช่นโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และซากสิ่งมีชีวิตเน่าเปื่อยทับ ถมกันในดิน (humus) 3 สภาพภูมิอากาศ (climate regime) ได้แก่ปัจจัยทางกายภาพที่มี อิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ แสง ความชื้น อากาศ และพื้นที่ อยู่อาศัย
  • 10. หลักสาคัญ กระบวนการของระบบนิเวศคือ -การไหลของพลังงานและการหมุนเวียนของสารเคมี -การไหลของพลังงาน (energy flow) เป็นการส่งผ่านของพลังงาน ในองค์ประกอบของระบบนิเวศ ส่วนการหมุนเวียนสารเคมี (chemical cycling)เป็นการใช้ประโยชน์และนากลับมาใช้ใหม่ ของแร่ธาตุภายในระบบนิเวศ
  • 11. องค์ประกอบที่มีชีวิต (biotic component)ได้แก่ 1ผู้ผลิต (producer or autotrophic)ได้แก่สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหาร เองได้จากสารอนินทรีย์ส่วนมากจะเป็นพืชที่มีคลอโรฟิลล์ 2ผู้บริโภค (consumer) ได้แก่สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเอง ได้ (heterotroph)ส่วนใหญ่เป็นสัตว์ที่กินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร 3ผู้ย่อยสลายซาก (decomposer, saprotroph, osmotrophหรือ microconsumer) ได้แก่สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่สร้างอาหารเองไม่ได้ เช่น แบคทีเรีย เห็ด รา (fungi) หน้าที่... ทาหน้าที่ย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้วในรูปของสารประกอบโมเลกุล ใหญ่ให้กลายเป็นสารประกอบโมเลกุลเล็กในรูปของสารอาหาร (nutrients) เพื่อให้ผู้ผลิตนาไปใช้ได้ใหม่อีก อินทรีย์สาร อนินทรียสาร (แร่ธาตุ)
  • 12. ความสัมพันธ์สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ แสงสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น กระแสลม กระแสน้า แร่ธาตุ มีอิทธิพลต่อ ชนิด จานวน การกระจาย และการดารงชีพของสิ่งมีชีวิต
  • 13. แสง (Light) ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานของโลกของสิ่งมีชีวิต พืช และสิ่งมีชีวิตที่มีคลอโรฟีลล์เป็นกลุ่มสิ่งชีวิต ที่รับพลังงานแสง จากดวงอาทิตย์มาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นการ เก็บพลังงานไว้ในโมเลกุลของอาหารสาหรับใช้ในการดารงชีวิต ของพืชเอง และเป็นอาหารของสัตว์ต่อไปตามลาดับ แหล่งที่อยู่แต่ละแห่งจะมีปริมาณแสงแตกต่างกันไป ทาให้ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่แต่ละบริเวณแตกต่างกันด้วย เช่น เราจะพบ กลุ่มพืชหนาแน่นในบริเวณที่มีแสงส่องถึง แต่บริเวณใต้ต้นไม้ ใหญ่ที่แผ่กิ่งก้านกว้างมักจะไม่พบพืชชนิดอื่นมากนัก
  • 14. พืชแต่ละชนิดยังมีความต้องการแสงในปริมาณแตกต่างกัน บาง พวกต้องการแสงมาก เช่น ข้าว อ้อย ข้าวโพด ในขณะที่พืชบางกลุ่ม เช่น กล้วยไม้ เจริญดีในที่ที่มีแสงราไร หรือมีแสงน้อย สาหรับสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้า ส่วนใหญ่จะกระจาย อยู่บริเวณผิวน้าและในระดับที่ไม่ลึกมากมีแสงส่องถึง โดยเฉพาะ พวกพืชน้า สาหร่ายและสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กพวกแพลงตอนพืช แพลงตอนสัตว์ แต่ก็มีสัตว์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่น้ามีความลึกมาก ซึ่งจะมีโครงสร้างเป็นแหล่งกาเนิดแสงในตัวเอง หรือมีลวดลาย เด่นชัดตามลาตัว
  • 15. แสง... ยังมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกหากิน ของสัตว์ต่างๆ สัตว์ส่วนใหญ่จะออกหากินเวลา กลางวัน แต่ก็มีสัตว์อีกหลายชนิดที่ออกหากินเวลา กลางคืน เช่น เสือ นกกลางคืน
  • 16. พืช.....แต่ละชนิดยังมีความต้องการแสงในปริมาณแตกต่างกัน บาง พวกต้องการแสงมาก เช่น ข้าว อ้อย ข้าวโพด ในขณะที่พืชบางกลุ่ม เช่น กล้วยไม้ เจริญดีในที่ที่มีแสงราไร หรือมีแสงน้อย สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้า.... ส่วนใหญ่จะกระจายอยู่บริเวณผิวน้าและ ในระดับที่ไม่ลึกมากมีแสงส่องถึง โดยเฉพาะพวกพืชน้า สาหร่ายและ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กพวกแพลงตอนพืช แพลงตอนสัตว์ สัตว์...ที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่น้ามีความลึกมาก ซึ่งจะมีโครงสร้างเป็น แหล่งกาเนิดแสงในตัวเอง หรือมีลวดลายเด่นชัดตามลาตัว
  • 17. อุณหภูมิ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดดารงชีวิตอยู่ได้ในอุณหภูมิประมาณ 10-30องศา เซลเซียส ในที่ที่มีอุณหภูมิสูงมากหรือต่ามากจะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่น้อย ทั้งชนิดและจานวน หรืออาจไม่มีสิ่งมีชีวิตอยู่ได้เลย เช่น แถบขั้วโลก และ บริเวณทะเลทราย ในแหล่งน้าอุณหภูมิไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงมากนัก ถึงแม้ ในเขตอบอุ่นและเขตหนาวแถบอาร์กติก ที่ปกคลุมด้วยน้าแข็ง น้าก็ไม่ได้ เป็นน้าแข็งไปหมด น้าที่อยู่ด้านล่างก็ยังคงเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตบาง ชนิดได้
  • 18. •อุณหภูมิบนพื้นดินจะมีความแปรปรวนมากกว่าในน้า แต่ สิ่งมีชีวิตก็มีการปรับตัว เช่น ในบางฤดูกาลมีสัตว์และพืช หลายชนิดต้องพักตัวหรือจาศีล เพื่อหลีกเลี่ยงการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าว สัตว์บางประเภทอพยพไปสู่ถิ่นใหม่ ที่มีอุณหภูมิเหมาะสมเป็นการชั่งคราวในบางฤดูเช่น นก นางแอ่นบ้านอพยพจากประเทศจีน มาหากินในประเทศ ไทยในช่วงฤดูหนาว และอาจจะเลยไปถึงมาเลเซียใน เดือนกันยายนทุกปี
  • 20. อุณหภูมิบนพื้นดินจะมีความแปรปรวนมากกว่าในน้า แต่สิ่งมีชีวิตก็มี การปรับตัว เช่น ในบางฤดูกาลมีสัตว์และพืชหลายชนิดต้องพักตัวหรือจาศีล เพื่อหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว สัตว์บางประเภทอพยพไปสู่ถิ่น ใหม่ที่มีอุณหภูมิเหมาะสมเป็นการชั่งคราวในบางฤดู เช่น นกนางแอ่น บ้านอพยพจากประเทศจีน มาหากินในประเทศไทยในช่วงฤดูหนาว
  • 21. แร่ธาตุ แร่ธาตุต่างๆจะมีอยู่ในอากาศที่ห่อหุ้มโลก อยู่ในดินและละลายอยู่ใน น้า แร่ธาตุที่สาคัญ ได้แก่ ออกซิเจน คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และแร่ธาตุอื่นๆเป็นสิ่งจาเป็นที่สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการใน กระบวนการดารงชีพ แต่สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดต้องการแร่ธาตุเหล่านี้ในปริมาณ ที่แตกต่างกัน และระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีแร่ธาตุต่างๆเป็นองค์ประกอบ ในปริมาณแตกต่างกัน จึงเป็นปัจจัยสาคัญในการจากัดชนิดและปริมาณของ สิ่งมีชีวิต เช่น ระบบนิเวศป่าชายเลน ซึ่งเป็นดินเลน น้ากร่อย ก็จะมีพืชและ สัตว์ที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากสิ่งมีชีวิตที่พบบนบก เป็นต้น ในระบบนิเวศแต่ละแห่งจะมีการหมุนเวียนถ่ายเทแร่ธาตุและสาร ต่างๆ จากภายนอกเข้าสู่สิ่งมีชีวิตและจากสิ่งมีชีวิตกลับคืนสู่ธรรมชาติเป็นวัฏ จักร
  • 22. ความชื้น ความชื้นในบรรยากาศจะแตกต่างกันไปตามแต่ละภูมิภาค ของโลกและยังเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล ความชื้นมีผลต่อการระเหย ของน้าออกจากร่างกายของสิ่งมีชีวิต ทาให้จากัดการกระจายและชนิด ของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ด้วย ในเขตร้อนจะมีความชื้นสูง เนื่องจากมี ฝนตกชุกและสม่าเสมอ และมีความอุดมสมบูรณ์ จึงมีความ หลากหลายของชนิดและปริมาณของสิ่งมีชีวิตมากกว่าในเขตอบอุ่น หรือเขตหนาว
  • 25. องค์ประกอบที่มีชีวิตในระบบนิเวศ •ส่วนประกอบที่มีชีวิต(bioticcomponent)ได้แก่พืชสัตว์รวมทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กและ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวซึ่งช่วยทาให้ระบบนิเวศทางานได้อย่างเป็นปกติโดยแบ่งออกตามหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตได้ เป็น3ประเภทคือ ผู้ผลิต(producer)คือสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้โดยการสังเคราะห์ด้วยแสงได้แก่พืชสี เขียวแพลงก์ตอนพืชและแบคทีเรียบางชนิดผู้ผลิตมีความสาคัญมากเพราะเป็นจุดเริ่มต้นที่เชื่อมต่อระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต และสิ่งที่มีชีวิตอื่นๆในระบบนิเวศ ผู้บริโภค(consumer)คือสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารขึ้นเองได้แต่ได้รับธาตุอาหารจากการกิน สิ่งมีชีวิต อื่นอีกทอดหนึ่งพลังงานและแร่ธาตุจากอาหารที่สิ่งมีชีวิตกินจะถูกถ่ายทอดสู่ผู้บริโภคซึ่งแบ่งตามลาดับของการ กินอาหารได้ดังนี้ ผู้ย่อยสลาย(decomposer)คือสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้แต่อาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิต ชนิดอื่น โดยการสร้างน้าย่อยออกมาย่อยสลายแร่ธาตุต่างๆในส่วนประกอบของซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารโมเลกุลเล็กๆ แล้ว จึงดูดซึมอาหารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปใช้เช่นแบคทีเรียเห็ดราเป็นต้น
  • 26. ผู้บริโภคในระบบนิเวศ ผู้บริโภคกินพืช (Herbivore) เช่น กระต่าย วัว ม้า ช้าง ผีเสื้อ เลียงผา ผู้บริโภคกินสัตว์ (Carnivore) เช่น เสือ เหยี่ยว กบ ลิ่น นกแต้วแล้ว ผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์ (Omnivore) เช่น นกบางชนิดที่กินทั้งแมลงและเมล็ดพืช ได้แก่ นกหัวขวาน นกกระทาทุ่ง
  • 27. สายใยอาหาร (food web) ระบบนิเวศจานวนน้อยที่ประกอบไปด้วยห่วงโซ่อาหารเดี่ยวๆ ผู้บริโภค แรกเริ่มหลายรูปแบบมักจะกินพืชชนิดเดียวกันและผู้บริโภคแรกเริ่มชนิดเดียว อาจกินพืชหลายชนิดดังนั้นสาขาย่อยของห่วงโซ่อาหารจึงเกิดขึ้นในระดับการ กินอื่นๆด้วย ตัวอย่างเช่น กบตัวเต็มวัยซึ่งเป็นผู้บริโภคลาดับสองกินแมลงหลาย ชนิดซึ่งอาจถูกกินโดยนกหลายชนิด นอกจากนี้แล้ว ผู้บริโภคบางชนิดยังกิน อาหารในระดับการกินที่แตกต่างกัน นกฮูกกินหนูซึ่งเป็นผู้บริโภคแรกเริ่มที่กิน สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด แต่นกฮูกอาจกินงูซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่กินเนื้ออีก ด้วย สิ่งมีชีวิตที่กินทั้งพืชและสัตว์ รวมทั้งมนุษย์ด้วย(omnivore) จะกินทั้งผู้ผลิต และผู้บริโภคในระดับการกินต่างๆ ดังนั้นความสัมพันธ์เชิงการกินอาหารใน ระบบนิเวศจึงถูกถักทอให้มีความละเอียดซับซ้อนมากยิ่งขึ้นจนกลายเป็นสายใย อาหาร (food web)
  • 28. ระดับการกินอาหาร (trophiclevels) ความสัมพันธ์ของการกินอาหารเป็นตัวกาหนดเส้นทางของ การไหลของพลังงานและวัฏจักรเคมีของระบบนิเวศ จากการ วิเคราะห์การกินอาหารในระบบนิเวศทาให้นักนิเวศวิทยา สามารถ แบ่งชนิดของระบบนิเวศออกได้ตามแหล่งอาหารหลัก ของระดับการกิน(trophiclevel)
  • 30. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชากรต่างชนิดกัน (InterspecificInteractions in Community) สิ่งมีชีวิตทั้งหลายในสังคมต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน อาจมีทั้งพึ่งพาและ แก่งแย่งกัน ความสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆทาให้สิ่งมีชีวิตมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกัน ซึ่งแบ่งได้เป็น 3แบบใหญ่ๆได้แก่ การแก่งแย่ง (competition) การล่าเหยื่อ(predation) ภาวะอยู่ร่วมกัน (symbiosis) ซึ่งแต่ละแบบทาหน้าที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับตัว ด้านวิวัฒนาการ ผ่านทางการคัดเลือกธรรมชาติมา การเรียนรู้ถึงความสัมพันธ์ ของสิ่งมีชีวิตในรูปแบบต่างๆดังกล่าว ทาให้เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงประชากร ในสิ่งแวดล้อมได้ดีขึ้น
  • 31. ภาวะพึ่งพากัน (mutualism)+/+ทั้งสองที่มาอยู่ร่วมกันต่างให้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน เช่น แบคทีเรียไรโซเบียมที่รากต้นถั่วช่วยตรึงไนโตรเจนจากอากาศสะสมไว้ที่รากต้น ถั่ว ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation)+/+คล้ายภาวะพึ่งพากัน แต่ทั้งคู่ไม่ได้ ดารงชีวิตร่วมกันตลอดเวลา เช่น ดอกไม้กับแมลง โดยดอกไม้ได้ประโยชน์จากแมลง ที่มาช่วยผสมเกสรให้ และแมลงก็ได้น้าหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร ภาวะเกื้อกูลกันหรือภาวะอิงอาศัย+/0 (commensalism)โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ส่วน อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ เช่น กล้วยไม้เกาะบนต้นไม้ จะเห็น ได้ว่ากล้วยไม้ได้ประโยชน์จากต้นไม้แต่ต้นไม้ไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์
  • 32. ภาวะล่าเหยื่อ (predation)+/- ฝ่ายได้ประโยชน์เรียกว่า ผู้ล่า (predator) ส่วนฝ่ายที่เสีย ประโยชน์เรียกว่า เหยื่อ (prey) เช่น แมวกับนก แมวจะ เป็นผู้ล่าเหยื่ออย่างนก ภาวะมีปรสิต (parasitism)+/- ฝ่ายได้ประโยชน์เรียกว่า ปรสิต (parasite) เช่น กาฝากที่ เกาะบนต้นไม้ใหญ่ กาฝากเป็นปรสิตที่ทาให้ต้นไม้ใหญ่ หรือ ผู้ให้อาศัย (host) เสียประโยชน์
  • 34. ภาวะเป็นกลาง (neutralism)0/0คือ ภาวะที่มีสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน สิ่งมีชีวิต แต่ละชนิดต่างดารงชีวิตกันอย่างไม่เกี่ยวข้องกัน เช่น ตั๊กแตนในนาข้าว กับไส้เดือนดิน ภาวะหลั่งสารยับยั้งการเจริญ( Antibiosis : 0 , -) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหลั่งสารมายับยั้ง การเจริญของแบคทีเรียสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน บางชนิดหลั่งสารพิษ เรียกว่า hydroxylamine ทาให้สัตว์น้าในบริเวณนั้นได้รับ อันตราย
  • 38. พีระมิดการถ่ายทอดพลังงาน ( food pyramid ) 1. พีระมิดจานวน ( pyramid of number ) แต่ละขั้นแสดงให้เห็นจานวนสิ่งมีชีวิตในแต่ละลาดับขั้นของห่วงโซ่ อาหารต่อหน่วย พื้นที่หรือปริมาตรสิ่งมีชีวิตที่อยู่บนยอดสุดของ พีระมิดถูกรองรับโดยสิ่งมีชีวิตจานวนมาก
  • 39. 2. พีระมิดพลังงาน ( pyramid of energy ) แสดงค่าพลังงานในสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วยมีหน่วยเป็น กิโลแคลอรีต่อตารางเมตรต่อปีที่ถ่ายทอดจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคใน ระดับต่างๆ
  • 40. วัฏจักรของสาร (Biogeochemicalcycle) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารหนึ่งไปอีกสารหนึ่ง โดยการเปลี่ยนตาแหน่งจากแหล่งหนึ่งไปยังอีกแหล่งหนึ่ง หรือจากสิ่งมีชีวิตชนิดชนิดหนึ่งไปยังอีกชนิดหนึ่ง แต่ ในที่สุดจะหมุนเวียนกลับไปยังสภาพเดิมอีก เช่น ออกซิเจนมี อยู่ตามแหล่งต่างๆ ทั่วไป
  • 41. วัฏจักรน้า (Water cycle) น้าจัดเป็นทรัพยากรที่สามารถสร้างทดแทนขึ้นใหม่ได้น้า ประมาณ 97 % เป็นน้าในมหาสมุทรและอีก 3% เป็นน้าที่ขั้วโลก แม่น้าลาธาร น้าใต้ดิน และอื่น ๆ ในการหมุนเวียนของน้าเริ่มจาก แสงแดดที่ส่องมายังโลก โดยใช้พลังงานจากแสงแดดนี้จะมีผลต่อ การระเหย(Evaporation) และการคลายน้าของพืช (Transpiration) เมื่อไอ น้าตกกระทบความเย็นจะเกิดการควบแน่น (Condensation)แล้วตกมาสู่แผ่นดินและ มหาสมุทรหมุนเวียนเช่นนี้ไปเรื่อยไป จึงทาให้เกิดวัฏจักรของน้า
  • 45. วัฎจักรออกซิเจน วัฏจักรน้าและวัฏจักรออกซิเจน มีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกัน เพราะต่างประกอบด้วยโมเลกุล ออกซิเจนโดยทั่วไป O2ได้มา จากการสังเคราะห์ด้วยแสง แล้ว จึงเปลี่ยนเป็นน้าในขั้นตอนการ หายใจที่มีการใช้ O2วัฏจักรออกซิเจนแบ่งออกเป็น 2ขั้นตอน การสังเคราะห์แสง-การ หายใจ
  • 46. การหมุนเวียนของไนโตรเจน (Nitrogen Cycle) ธาตุไนโตรเจนเป็นธาตุที่จาเป็นในการสร้างโปรโตปลาสซึมของ สิ่งมีชีวิต โดยจะเป็นส่วนประกอบหลักของโปรตีน ในบรรยากาศมีก๊าซ ไนโตรเจน ประมาณร้อยละ 78 แต่สิ่งมีชีวิตไม่สามารถนามาใช้ได้โดยตรง แต่จะใช้ได้เมื่ออยู่ในสภาพของสารประกอบ แอมโมเนีย ไนไตรท์และไนเต รท ไนโตรเจนในบรรยากาศ จึงต้องเปลี่ยนรูปให้อยู่ในสภาพที่สิ่งมีชีวิต ส่วนใหญ่จะใช้ได้
  • 47. วัฏจักรนี้จึงประกอบด้วย ขบวนการตรึงไนโตรเจน (Nitrogen Fixation) ขบวนการสร้างแอมโมเนีย (Ammonification) ขบวนการสร้างไนเตรด (Nitrification) ขบวนการสร้างไนโตรเจน (Denitrification) ขบวนการเหล่านี้จะต้องอาศัยแบคทีเรีย จุลินทรีย์ อื่น ๆ จานวนมาก จึงทาให้เกิด สมดุลของวัฏจักรไนโตรเจน นอกจากจะถูกตรึง โดยสิ่งมีชีวิตแล้ว ไนโตรเจนใน บรรยากาศ ยังถูกตรึงจากธรรมชาติอีกด้วย เป็นต้นว่าเมื่อเกิดฟ้าแลบขึ้นมา ไนโตรเจนในท้องฟ้าจะเปลี่ยนแปลงทางเคมี ฟิสิกส์ ก่อให้เกิดสารประกอบไนเต รดขึ้นมา จากนั้นจะถูกน้าฝนชะพาลงสู่พื้นดินต่อไป
  • 53. โดยทั่วไปในสภาวะแวดล้อมจะมีแร่ธาตุและสารต่าง ๆ เป็นองค์ประกอบอยู่แล้วตามธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตไม่เพียงแต่ใช้ แร่ธาตุและสารจากธรรมชาติ แต่กิจกรรมการดารงชีวิตก็มีการปล่อย สารบางอย่างกลับคืนสู่ธรรมชาติด้วย วนเวียนกัน เป็นวัฏจักร
  • 55. คาร์บอนเป็นองค์ประกอบสาคัญอย่างหนึ่งของสารที่พบใน สิ่งมีชีวิตทุกชนิดคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศถูกพืชนามาเปลี่ยนแปลง เป็นสารอินทรีย์ที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบในพืชโดยกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง สัตว์ได้รับสารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบโดยการกิน อาหาร สาหรับกลุ่มผู้ย่อยสลายอินทรียสาร ก็ได้รับสารคาร์บอนจาก กระบวนการย่อยสลาย สิ่งมีชีวิตทุกชนิดปล่อยคาร์บอนกลับคืนสู่บรรยากาศ โดยการหายใจออกในรูปของคาร์บอน ไดออกไซด์ ซึ่งพืขก็นามาใช้ใน กระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงอีก ในระบบนิเวศ จึงมีการหมุนเวียนคาร์บอนตลอดเวลา