SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ชื่อ-นามสกุล..................................................................................................................ชั้น................ห้อง...............เลขที่............
ใบความรู้ เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development)
กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์
การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (Development) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็น
ค่อยไป อย่างมีระเบียบของสิ่งมีชีวิต ทาให้เกิดเป็นเนื้อเยื่อที่มีความซับซ้อนและสมบูรณ์ ทั้งในด้านโครงสร้าง
และการทางานของโครงสร้างนั้น
กระบวนการเจริญเติบโต
1. การเพิ่มจานวนเซลล์ ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การแบ่งเซลล์ถือว่าเป็นการสืบพันธุ์ เกิดชีวิต
ใหม่ขึ้น มี หลายแบบ เช่น การแบ่งแยกตัวเป็นส่วนๆ การแตกหน่อเป็นต้น ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ การแบ่ง
เซลล์เป็นการเพิ่มจานวนเซลล์ให้มากขึ้น เช่น การแบ่งเซลล์จากตัวอ่อนเป็นตัวเต็มวัย สร้างเซลล์ใหม่เพื่อ
ทดแทนเซลล์เก่า เช่น เซลล์ผิวหนัง
2. การเพิ่มขนาดของเซลล์ หมายถึง กระบวนการสะสมและสังเคราะห์สารอินทรีย์ภายโมเลกุลของ
เซลล์ ทาให้โมเลกุลมีขนาดใหญ่ขึ้น หรือมีการรวมกันระหว่างโมเลกุลกับโมเลกุล เป็นผลให้เซลล์ต้องขยาย
ขนาดตามไปด้วย จึงเกิดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต เช่นงูจะมีการลอกคราบเมื่อมีขนาดตัวใหญ่ขึ้น
3. การเปลี่ยนแปลงสภาพของเซลล์ ทั้งรูปร่าง และหน้าที่ของเซลล์เนื่องจากในระยะแรก เซลล์อาจจะ
ทาหน้าที่อย่างหนึ่ง แต่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่การทางานจึงเกิดการเปลี่ยนสภาพเซลล์ ตามไปด้วยเพื่อให้
ได้เซลล์ที่สามารถทาหน้าที่ที่ต่างกัน การเปลี่ยนสภาพเกิดทั้งทางกายภาพและชีวเคมี ทั้งในระดับโมเลกุล
ระดับเซลล์ ระดับเนื้อเยื่อ ระดับอวัยวะ และระดับระบบอวัยวะ เซลล์ที่ได้ใหม่ จะมีลักษณะแตกต่างไปจาก
เซลล์เดิม
4. การเกิดรูปร่างที่แน่นอน สิ่งมีชีวิตจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างตลอดเวลาตั้งแต่แรกเกิด จนเป็นตัว
เต็มวัย เนื่องจากมีการแบ่งเซลล์ หรือเพิ่มจานวนเซลล์ รูปร่างตอนโตอาจจะแตกต่าง จากตอนแรกเกิดมาก
หรือไม่เหมือนกันเลย เช่น กบ ผีเสื้อ เป็นต้น การเติบโตในสิ่งมีชีวิตชั้นสูง จะหยุดเมื่อโตเต็มวัย โดยการใช้ความ
สูงที่หยุดเป็นเกณฑ์ ไม่คานึงว่าน้าหนักจะเพิ่มหรือลดลง
ปัจจัยต่อการเจริญเติบโต
1. ศักยภาพของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การที่สิ่งมีชีวิตจะมีการเติบโตเป็น
อย่างไรนั้นขึ้นกับพันธุกรรมเป็นอันดับแรก เพราะการเจริญเติบโต ของตัวอ่อนจะมีขั้นตอนเหมือนพ่อ
แม่ แต่อัตราการเติบโตจะแตกต่างกันได้ขึ้นกับสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิตในขณะนั้น
2. ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
2.1 ปัจจัยทางชีวภาพ การเติบโตที่ผิดปกติอาจเป็นผลมาจากสิ่งมีชีวิตที่ดารงชีวิตอยู่ด้วยกัน
เช่น ถ้าร่างกายมีปรสิต เช่น พยาธิ แบคทีเรีย เกาะทาลายเนื้อเยื่อ หรือดูดสารอาหาร จะทาให้การ
เติบโตช้า ผิดปกติ หรือตายได้
2.2 ปัจจัยทางกายภาพ
2.2.1 ปัจจัยเกี่ยวกับพลังงาน ได้แก่ ความร้อน แสง เสียง เป็นต้น
2.2.2 ปัจจัยเกี่ยวกับสารเคมี สารเคมีที่มีผลต่อการเจริญเติบโต คือฮอร์โมน
เนื่องจากฮอร์โมน และสารที่เกี่ยวข้องโมน จะควบคุมการทางานของระบบต่างๆ ในร่างกายให้เป็น
ปกติ
การจาแนกชนิดของไข่สัตว์
1. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามปริมาณมากน้อยของไข่แดงได้ดังนี้ คือ
1.1 ไข่ชนิดอะเลซิทัล (Alecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อยมากจนเกือบไม่มี
เลย ขนาดของไข่จึงเล็กมาก ตัวอ่อนที่เกิดจากไข่ชนิดนี้ ต้องอาศัยอาหารจากแม่ทางรก ได้แก่ไข่ของสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนม
1.2 ไข่ชนิดโอลิโกเลซิทัล (Oligolecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อย เช่น ไข่ของหอย
เม่น ปลาดาว เป็นต้น
1.3 ไข่ชนิดมีโซเลซิทัล (Mesolecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงปานกลาง ไข่มีขนาดใหญ่
ขึ้น เช่น ไข่ของสัตว์ สะเทินน้าสะเทินบก
1.4 ไข่ชนิดโพลีเลซิทัล (Polylecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงมาก จนทาให้
ส่วนของนิวเคลียสและไซโทพลาสซึมถูกดันไปอยู่ด้านบนของไข่ ได้แก่ ไข่ของสัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน รวมทั้ง
ไข่แมลงด้วย
2. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามลักษณะการกระจายของไข่แดงได้ ดังนี้คือ
2.1 ไข่ชนิดไอโซเลซิทัล (Isolecithal) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อยมากหรือเกือบไม่มีเลย ส่วน
ของ ไข่แดงแดงกระจายอยู่ทั่วไปในเซลล์อย่างสม่าเสมอ เช่น ไข่ของปลาดาว หอยเม่นและไข่ของสัตว์เลี้ยง
ลูกด้วยนม
2.2 ไข่ชนิดเทโลเลซิทัล (Telolecithal egg) เป็นไข่ชนิดใหญ่มีไข่แดงมาก ตามปกติไข่แดง
จะบรรจุอยู่ใน แกรนูล (Granule) ขนาดใหญ่เรียกว่าแผ่นไข่แดง (York plate) ทาให้ไข่แดง แยกออกจากไซ
โทพลาสซึม โดยรวมตัวเป็นกลุ่มทางตอนล่างของไข่ที่เรียกว่า เวเจทัลโพล (Vegetal pole) ส่วนนิวเคลียส
และไซโทพลาสซึมจะอยู่ด้านบนของไข่เรียกว่า แอนิมัลโพล (Animal pole)
แอนิมัลโพล (Animal pole) แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ
*** ไข่ชนิดมอเดเรทลี เทโลเลซิทัล (Moderately telolecithal egg) เป็นไข่ ชนิด
ที่ไข่แดงไม่ได้แยกออกจากไซโทพลาสซึม แต่กระจายอยู่ใน ไซโทพลาสซึม ไม่สม่าเสมอจะไปอยู่กัน หนาแน่นที่
ข้างใดข้างหนึ่งของเซลล์ ได้แก่ ไข่ของสัตว์ สะเทินน้าสะเทินบก
*** ไข่ชนิดเฮพวิลี เทโลเลซิทัล (Heavily telolecithal egg) เป็นไข่ที่มีไข่แดง มา
รวมกันเป็นกลุ่มก้อนด้านล่างของไข่ ส่วนนิวเคลียสและไซโทพลาสซึมที่เหลือ จะรวมกันเป็นแผ่นเล็ก
ๆ เรียกว่า บลาสโตดิสต์ (Blastodisc) ซึ่งจะถูกดันให้ไปอยู่ที่ ขอบเซลล์ได้แก่ ไข่ของนก สัตว์เลื้อยคลานและ
ปลากระดูกแข็ง
*** ไข่ชนิดเซนโทรเลซิทัล (Centrolecithal egg)เป็นไข่ที่มีไข่แดงจับกลุ่มกัน อยู่
ตรงกลาง ที่มีไซโทพลาสซึมล้อมรอบ ได้แก่ ไข่ของพวกแมลง
การเจริญเติบโตของสัตว์ชั้นสูง มี 3 กระบวนการ คือ
1. การแบ่งตัวของไซโกต (Cleavage) เริ่มโดยการแบ่งตัวแบบไมโตซิสของไซโกตอย่างรวดเร็ว
จนเป็นกลุ่มเซลล์เล็ก ๆ จานวนมากมาย แต่ไม่เจริญเติบโตขึ้น เซลล์ที่ได้นี้เรียกว่า บลาสโตเมียร์
(Blastomere) ตัวอ่อนในระยะนี้เรียกว่ามอรูลา (Morula)
1.1 โฮโลบลาสติก คลีเวจ (Holoblastic cleavage) เป็นวิธีการแบ่งตัวของไซโกต
แบบหนึ่งที่เป็นการแบ่งตัวของไซโกต ตลอดทั้งเซลล์ถ้าเซลล์ที่ได้จากการแบ่งมีขนาดเท่ากันหรือเกือบเท่ากันก็
เรียกว่า อิควล โฮโลบลาสติค คลีเวจ (Equal holoblastic cleavage) แต่ถ้ามีขนาดไม่เท่ากันเรียกว่า
อันอิควล โฮลบลาสติค คลีเวจ (Unequal holoblastic cleavage)
1.2 เมอโรบลาสติก คลีเวจ (Meroblastic cleavage) เป็นการแบ่งตัวของไซโกตที่ไม่เกิดขึ้น
ตลอดทั้งเซลล์ แนวการแบ่งจะเกิดขึ้นเฉพาะด้านบนของไข่ ตรงบริเวณที่เรียกว่า บลาสโตดิส หรือบริเวณ
เจอมินัล (Germinal disc) พบในพวกไข่ของสัตว์ปีก
2. บลาสทูเลชัน (Blastulation) เป็นขั้นการเจริญของตัวอ่อนสัตว์ที่มีต่อจากระยะคลีเวจ โดย
เซลล์บลาสโตเมียร์ จะมาจัดเรียงตัวใหม่ อย่างเป็นระเบียบเป็นชั้นเดียวอยู่ที่ผิว ทาให้มีลักษณะ
คล้ายลูกบอลที่มีโพรงอยู่ข้างใน เรียกว่า บลาสโทซีล (Blastocoel) ตัวอ่อนในระยะนี้เรียกว่าบลา
สทูลา (Blastula) และชั้นของเซลล์ เรียกว่า บลาสโทเดิร์ม (Blastoderm)
3. แกสทรูเลชัน (Gastrulation) เป็นขั้นการเจริญของตัวอ่อนของสัตว์ต่อจากบลาสทูเลชัน ที่ทา
ให้เกิดเยื่อคัพภะ (Germ layer) ขึ้นในตัวอ่อน โดยการเกิดเยื่อคัพภะชั้นนอกเรียกว่า เอกโตเดิร์ม
(Ectoderm) เยื่อชั้นในเรียกว่า เอนโดเดิร์ม (Endoderm) และเยื่อชั้นกลางเรียกว่า มีโซเดิร์ม
(Mesoderm) ตัวอ่อนระยะนี้เรียกว่า แกสทรูลา (Gastrula)
การเคลื่อนที่ของเซลล์บลาสโตเมียร์ไม่ว่าจะเป็นแบบใดก็ตาม จะทาให้เกิดช่องใหม่ขึ้นในตัวของตัว
อ่อน เรียกว่าแกสโตซีล (Gastrocoel) หรือ อาร์เคนเทอรอน (Archenteron) ซึ่งเป็นทางเดินอาหาร
ระยะแรก ส่วนรูเปิดออกสู่ภายนอกของช่องนี้ เรียกว่าบลาสโตพอร์ (Blastopore) การเกิดเยื่อคัพภะ ของ
เอมบริโอ มีหลายแบบลักษณะต่าง ๆ กัน ดังนี้
1. อินแวจิเนชัน (Invagination)
2. อีพิโบลี (Epiboly)
3. อินวอลูชัน (Involution)
4. ดีแลมิเนชัน (Delamination
การเกิดรูปร่างของเอ็มบริโอ เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องจากกระบวนการที่ต่อเนื่องจากกระบวนการ
แกสทรูเลชัน โดยเยื่อคัพภะ จะเจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็นอวัยวะต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพื่อทา
หน้าที่ประสานงาน ระหว่างอวัยวะภายในร่างกาย จึงเกิดเป็นระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายของสัตว์ ดังต่อไปนี้
1. เนื้อเยื่อชั้นนอก (Ectoderm)
- ผิวหนัง ขน เขา เล็บ เกล็ด กีบเท้าสัตว์
- ระบบประสาท(สมอง,ไขสันหลัง)
- ต่อมใต้สมองส่วนหน้า และส่วนกลาง
- สารเคลือบฟัน ต่อมน้าลาย
- ต่อมหมวกไตชั้นใน ต่อมใต้สมองส่วนท้าย
2. เนื้อเยื่อชั้นกลาง (Mesoderm)
- ระบบโครงกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ
- ระบบหมุนเวียนโลหิต (หัวใจ เส้นเลือด เลือด ม้าม)
- ระบบขับถ่าย (ไต)
- ระบบสืบพันธุ์ (อัณฑะ รังไข่)
3. เนื้อเยื่อชั้นใน (Endoderm)
- ระบบทางเดินอาหาร (หลอดอาหาร,กระเพาะอาหาร ,ลาไส้ , ตับ , ตับอ่อน)
- ระบบหายใจ (หลอดลม , ปอด)
- ต่อมทอนซิล หูส่วนกลาง ต่อมไทรอยด์
- ต่อมพาราไทรอยด์ อัลแลนตอยด์ ถุงไข่แดง
- กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ
การวัดการเติบโต (measurement of growth) เป็นการวัดขนาดที่เพิ่มมากขึ้นทาได้หลายวิธี คือ
1. การวัดน้าหนักที่เพิ่มขึ้น หรือการหามวลของมีชีวิตที่เพิ่มขึ้น การวัดน้าหนักเป็นเกณฑ์ที่
สาคัญที่ใช้ในการวัดการเติบโต เพราะการที่น้าหนักเพิ่มขึ้นได้ เนื่องมากจากเซลล์ของร่างกายเพิ่มมาก
ขึ้นหรือมีการสร้างและสะสมของสารต่างๆ ภายในเซลล์และร่างกายมากขึ้น การเพิ่มของน้าหนักจะมี
ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับอัตราการเติบโต จึงเหมาะสมที่จะนามาใช้ ในการวัดการเติบโตมากกว่า
เกณฑ์อื่นๆ
2. การวัดความสูงที่เพิ่มขึ้น ความสูงที่เพิ่มขึ้นอาจไม่เป็นอัตราส่วนกับมวลหรือน้าหนักที่
เพิ่มขึ้น ดังนั้นการวัดความสูงจึงเป็นการคาดคะเนการเติบโตเท่านั้น
3. การวัดปริมาตรที่เพิ่มขึ้น ปริมาตรที่เพิ่มขึ้นมักจะสัมพันธ์กับน้าหนักที่เพิ่มขึ้น แต่การหา
ปริมาตรจะมีความยุ่งนากและลาบากกว่าการหาน้าหนักจึงไม่ค่อยนิยมใช้กันมากนัก
4. การนับจานวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้น การนับจานวนเซลล์จะใช้กับสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กๆ ได้ เช่น
การเพิ่มจานวนเซลล์ของสาหร่าย ไม่นิยมใช้กับสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ๆ
เส้นโค้งของการเจริญเติบโต (growth curve)
เส้นโค้งที่แสดงการเติบโตอาจจะวัดออกมาเป็นหน่วยน้าหนักที่เพิ่มขึ้นต่อหน่วยเวลาที่
เปลี่ยนไป หรือหน่วยความสูงที่เพิ่มขึ้นต่อหน่วยเวลาที่เปลี่ยนไป สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่จะมี เส้นโค้งการ
เจริญเติบโตเป็นรูปตัว S หรือ sigmoid curve เสมอ
*** เส้นโค้งการเติบโตแบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ คือ
1. ระยะเริ่มต้น เป็นระยะที่สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นเริ่มการเติบโต ในระยะนี้จะเป็นไปอย่างช้าๆ เส้น
โค้งการเติบโตจึงมีความชันน้อย
2. ระยะเติบโตอย่างรวดเร็ว เป็นระยะที่ต่อจากระยะแรกโดยที่สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นจะมีการเพิ่ม
จานวนเซลล์มีการสร้างสารต่างๆ สะสมในเซลล์มากขึ้นทาให้น้าหนักหรือความสูงหรือจานวนเซลล์
เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่วนโค้งการเติบโตจึงชันมากกว่าระยะอื่นๆ
3. ระยะคงที่ เป็นระยะที่มีการเติบโตสิ้นสุดแล้ว ทาให้น้าหนัก ความสูงหรือขนาดของ
สิ่งมีชีวิต ไม่เพิ่มขึ้นและค่อนข้างจะคงที่อยู่อย่างนั้นตลอดไป
4. ระยะสิ้นสุด เมื่อสิ่งมีชีวิตเติบโตถึงที่สุดแล้ว และถ้าปล่อยเวลาต่อไปอีกก็จะถึงระยะเวลาที่
ร่วงโรยเสื่อมโทรมในที่สุดก็จะตายไป
*** ในสัตว์พวกที่มีโครงร่างแข็งนอกตัว (exoskeleton) จะมีแบบแผนของการเติบโตแตกต่างจาก
สิ่งมีชีวิตทั่วไป เช่น มวนน้าชนิดหนึ่ง จะมีแบบแผนแบบขั้นบันได
*** การเจริญเติบโตหลังระยะเอ็มบริโอของสัตว์
สัตว์บางชนิดเช่น แมลงและกบ มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะเจริญเติบโต โดยรูปร่างขณะที่
เป็นตัวอ่อนและตัวเต็มวัยแตกต่างกันมาก เรียกการเปลี่ยนแปลงแบบนี้ว่า เมทามอร์โฟซิส
(metamorphosis)
1. เมทามอร์โฟซิสของแมลง แบ่งออกเป็น 4 แบบคือ
1.1 ไม่มีเมทามอร์โฟซิส (without metamorphosis หรือ ametamorphosis ) ตัวอ่อนที่
ฟักออกจากไข่มีรูปร่างเหมือนกับพ่อแม่ทุกอย่าง แล้วตัวอ่อนก็ค่อย ๆ เจริญเติบโตแล้วลอกคราบเจริญ
เป็นตัวเต็มวัยต่อไป เช่น แมลงสามง่าม แมลงหางดีด
1.2 มีเมทามอร์โฟซิสแบบค่อยเป็นค่อยไป (gradual metamorphosis) ตัวอ่อนที่ฟักออกมา
จากไข่มีรูปร่างคล้ายพ่อแม่ แต่มีอวัยวะบางอย่างไม่ครบ เช่น ไม่มีปีก เมื่อแมลงโตขึ้นและลอกคราบ
ปีกจะเริ่มงอกขึ้นเรียกตัวอ่อนระยะนี้ว่า นิมฟ์ (nymph) ต่อจากนั้นก็จะมีการลอกคราบหลายครั้งและ
เจริญเป็นตัวเต็มวัยต่อไป เช่น ตั๊กแตน แมลงสาบ ปลวก เหา ไร่ไก่ จักจั่น
1.3 มีเมทามอร์โฟซิสแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete metamorphosis) มีลักษณะคล้ายแบบ
ค่อยเป็นค่อยไป แต่ขณะที่เจริญเติบโตนั้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างมากกว่า ตัวอ่อนมักเจริญอยู่ในน้า
หายใจด้วยเหงือกเรียกว่า ไนแอด (naiad) ต่อจากนั้นตัวอ่อนจะลอกคราบขึ้นมาอยู่บนบกและหายใจ
ด้วยระบบท่อลม เช่น ชีปะขาว แมลงปอ
1.4 มีเมทามอร์โฟซิสแบบสมบูรณ์ (complete metamorphosis) โดยมีการเจริญ
เปลี่ยนแปลงรูปร่างของร่างกาย เป็น 4 ขั้นตอนด้วยกัน คือ ไข่ (egg) แล้วฟักเป็นตัวอ่อนหรือตัว
หนอน (larva) ซึ่งกินอาหารเก่งมากและเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ต่อจากนั้นจึงเป็น
ดักแด้ (pupa) หยุดกินอาหารมักใช้ใยหรือใบไม้หุ้มตัวและฟักตัวอยู่ระยะหนึ่ง ตัวเต็มวัย (adult) ออก
จากเกราะและสืบพันธุ์ได้ต่อไป เช่น ด้วง ผีเสื้อ แมลงวัน ยุง ผึ้ง ไหม
2. เมทามอร์โฟซิสของกบ
กบมีการผสมพันธุ์และวางไข่ในน้า ซึ่งตามปกติแล้วฤดูผสมพันธุ์นั้นคือ ฤดูฝน ไข่ไม่มีเปลือก
หุ้มแต่มีวุ้นหุ้มอยู่รอบ ๆ หลังจากปฏิสนธิ 3-12 ชั่วโมงจะมีการแบ่งเซลล์เกิดขึ้น ตัวอ่อนจะงอกหาง
เมื่ออายุได้ 4 วัน วันที่ 6 หลังจากปฏิสนธิตัวอ่อนจะฟักออกจากไข่เป็นลูกอ๊อด ว่ายน้าและหายใจด้วย
เหงือก ซึ่งอยู่ภายนอก มีการงอกขาหลังและขาหน้าตามลาดับ ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างต่อโดย
หางจะหดสั้นเข้า ขึ้นมาอาศัยอยู่บนบกได้ หายใจด้วยปอดและผิวหนังแทนเหงือก พออายุได้ 3 ปี ก็จะ
เป็นกบที่สมบูรณ์และสืบพันธุ์ได้ต่อไป
%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............
แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์
(Animal Growth and Development)
1. การเติบโต (Growth) ของสิ่งมีชีวิตจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ
ก. ได้รับ Growth hormone จากต่อมใต้สมอง
ข. เซลล์มีการแบ่งตัวแล้วทาให้ขนาดเพิ่มขึ้น
ค. มีการดูดซึมของสารเข้าไปในเซลล์
ง. มีการเพิ่มปริมาณไซโทพลาซึมจากการสังเคราะห์
2. การที่ระยะคลีเวจ (Cleavage) ของไก่ เกิดเฉพาะบริเวณเล็ก ๆ ที่ปลอดจากไข่แดง (Yolk) นั้นเป็นเพราะ
ก. ไข่แดงมีมากไม่สามารถแบ่งตัวได้ ข. ไข่แดงอยู่ในแวคิวโอล
ค. ไข่แดงอยู่นอกเซลล์ ง. ไข่แดงเป็นสารอาหารสาหรับตัวอ่อน
3. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีวิธีป้องกันไม่ให้ลูกอ่อนได้รับอันตรายโดย
ก. สร้างสายรก ข. สร้างกระเป๋าหน้าท้อง
ค. สร้างเปลือกหุ้มไข่ ง. ข้อ ก, ข และ ค ถูก
4. ระยะสุดท้ายของเอ็มบริโอของคนสิ้นสุดลงเมื่อประมาณ
ก. 30 วันหลังปฏิสนธิ ข. 60 วันหลังปฏิสนธิ
ค. 90 วัน หลังปฏิสนธิ ง. ระยะที่คลอด
5. ในกระบวนการเจริญเติบโตของตัวอ่อนของสัตว์ ระบบอวัยวะที่เจริญก่อนระบบอื่นคือระบบ
ก. ประสาท ข. ทางเดินอาหาร
ค. หมุนเวียนโลหิต ง. ระยะที่คลอด
6. เอ็มบริโอของสัตว์ปีกแลกเปลี่ยนแก๊สทางใด
ก. ถุงน้าคร่า ข. แอลแลนทอยส์
ค. เส้นเลือดจากเอ็มบริโอ ง. เส้นเลือดจากไข่แดงสู่หัวใจ
7. ตัวอ่อนของสัตว์ที่เจริญอยู่ภายนอกตัวแม่นั้น การเจริญเติบโตขึ้นอยู่กับ
ก. อาหารจากตัวแม่ ข. อาหารใน Yolk
ค. ปริมาณ Amnion ง. ปริมาณ Allantois
8. คลีเวจมีลักษณะพิเศษของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส คือ
ก. นิวเคลียสไม่แยกออกจากกัน ข. ไม่มีการเจริญเติบโตของเซลล์เหล่านั้น
ค. ไม่มีการสร้างใยสปินเดิลเพื่อดึงโครโมโซม ง. เยื่อพลาสมาของเซลล์ลูกไม่แยกจากกัน
9. อวัยวะที่มีอัตราการเติบโตน้อยที่สุดภายหลังเกิด คือ
ก. กระดูก ข. หัวใจ ค. สมอง ง. รังไข่
10. ของเสียที่เป็นสารประกอบไนโตรเจนของเอ็มบริโอของนกและสัตว์เลื้อยคลานจะ
ก. แพร่ออกจากไข่โดยผ่านทาง Chorioallantoic membrane
ข. เก็บสะสมไว้ในไข่จนกว่าจะออกเป็นตัว
ค. ละลายอยู่ใน Amnion fluid
ง. ไม่มีการสร้างขึ้นมาในขณะอยู่ในไข่
11. โครงสร้างคู่ใดของเอ็มบริโอที่ทาหน้าที่เหมือนกัน
ก. แอลแลนทอยส์ ปอด ข. แอลแลนทอยส์ ถุงน้าคร่า
ค. แอลแลนทอยส์ รก ง. รก ถุงน้าคร่า
12. วุ้นที่อยู่รอบ ๆ ไข่กบทาหน้าที่
ก. ป้องกันไม่ให้ได้รับอันตราย ข. ป้องกันตัวไรน้าไม่ให้เข้าไปกินไข่
ค. ป้องกันไม่ให้ไข่แต่ละใบเบียดกันมากเกินไป ง. เป็นอาหารสาหรับเลี้ยงเอ็มบริโอขณะเติบโต
13. รกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีโครงสร้างที่ประกอบด้วย
ก. Chorion และ Allantois
ข. Uterus และ Amnion
ค. Chorionic mesoderm และ Allantois stalk
ง. เยื่อบุ Uterus และ Allantonic mesoderm และ Chorion
14. ในหญิงอายุ 20-35 ปี ไข่ที่หลุดออกจากรังไข่โดยมากจะเป็นเซลล์ในระยะใดของไมโอซิส และหลังจาก
ปฏิสนธิแล้ว ตัวอ่อนจะฝังตัวในเยื่อบุมดลูกประมาณวันที่เท่าใดของรอบประจาเดือน
ก. ระยะก่อนเริ่มมีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส , ประมาณวันที่ 7
ข. ระยะหลังไมโอซิสขั้นที่ 1 แล้ว, ประมาณวันที่ 7
ค. ระยะหลังไมโอซิสขั้นที่ 2 แล้ว, ประมาณวันที่ 21
ง. ระยะหลังไมโอซิสขั้นที่ 2 แล้ว, ประมาณวันที่ 18
15. เมื่อคอร์ปัสลูเทียมสลายตัวภายในสองสัปดาห์ย่อมแสดงว่า
ก. การฝังตัวจะเกิดขึ้นภายใน 1 สัปดาห์ ข. การเกิดคลีเวจของเอ็มบริโอไม่สมบูรณ์
ค. ประจาเดือนในเดือนนั้นผิดปกติ ง. ไม่มีปฏิสนธิเกิดขึ้น
16. สัตว์เลื้อยคลานสามารถเติบโตในบริเวณแห้งแล้ง อาจเนื่องมาจากข้อใด
ก. เอ็มบริโออยู่ภายในถุงน้าที่เรียกว่า amnion
ข. มีที่เก็บของเสีย คือ allantois
ค. ไข่อยู่ภายในลาตัวจนกว่าจะถูกปฏิสนธิ และมีเปลือกแข็งหุ้ม
ง. ถูกทุกข้อ
17. ในระยะ Gasturlation การพัฒนาเนื้อเยื่อชั้นนอกจะกลายเป็นอวัยวะในข้อใด
ก. notochord ข. enamel ค. tonsil ง. ovary
18. สัตว์ในข้อใดที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างในการเจริญเติบโต
ก. ปลา กบ ข. แมงมุม ม้าน้า ค. ดาวทะเล ไก่ ง. แมลงวัน ด้วง
19. ข้อใดไม่จัดเป็นการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
ก. การเพิ่มปริมาตรของเซลล์ ข. การเพิ่มจานวนเซลล์
ค. การเปลี่ยนแปลงเนื้อเยื่อเป็นอวัยวะ ง. การปฏิสนธิ
20. การสืบพันธุ์ข้อใดสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้ดีเมื่อกาหนดให้
A= budding B= Meristem culture
C= Conjugation D= parthenogenesis
ก. A และ B ข. B และ C ค. C และ D ง. A และ D
21. ข้อใดไม่เป็นจริงในระยะ cleavage ของ zygote สัตว์
ก. แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส ข. เพิ่มอัตราส่วนของนิวเคลียส : ไซโทรพลาซึม
ค. เพิ่มอัตราส่วนของพื้นที่ผิว : ปริมาตร ง. มีขนาดโตขึ้น
22. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแบบใด สอดคล้องกับสิ่งมีชีวิตที่กาหนดไว้ในตาราง
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ กลุ่มสิ่งมีชีวิต
ก. Sporulation รา เห็ด พลาสโมเดียม
ข. Binary fission พลานาเรีย ยูกลีนา อะมีบา
ค. Parthenogenesis เพลี้ย โรติเฟอร์ พยาธิไส้เดือน
ง. Budding ฟองน้า ยีสต์ ไฮดรา
23. ในสัตว์ที่เจริญเติบโตในมดลูก ตับอ่อนที่เติบโตขึ้นมาได้อาหารจากมารดาอย่างไร
ก. ได้รับเลือดจากแม่โดยตรง
ข. โมเลกุลของอาหารแพร่จากระบบเลือดแม่สู่ระบบเลือดลูก
ค. รับวัตถุดิบเป็นสารอนินทรีย์จากแม่มาสังเคราะห์โมเลกุลอาหารที่ต้องการ
ง. เซลล์ของตัวอ่อนสังเคราะห์โมเลกุลอาหารด้วยตนเอง
24. ไข่กบที่ผสมกับเชื้อตัวผู้แล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นเอ็มบริโอ ลูกอ็อดและ ลูกกบ ตามลาดับ การ
เปลี่ยนแปลงจาก ลูกอ๊อดมาเป็นลูกกบนั้นเรียกว่า
ก. Cleavage ข. Parthenogenesis ค. Metamorphosis ง. Maturation zone
25. ของเสียที่เป็นสารประกอบไนโตรเจนของเอ็มบริโอของนกและสัตว์เลื้อยคลานจะถูกกาจัดแล้วนาไปไว้ที่ใด
ก.แพร่ออกจากไข่โดยผ่านทาง chorioallantoic membrane มาเก็บไว้ที่เปลือก
ข. เก็บสะสมไว้ในไข่แดงจนกว่าจะออกมาเป็นตัว
ค. ละลายอยู่ใน amniotic fluid
ง. เก็บในแวคิลโอลขนาดใหญ่ภายในเซลล์ไข
26. การแลกเปลี่ยนก๊าซของเอ็มบริโอไข่ไก่เกิดขึ้นที่ใด
ก. ไข่แดง ข. ไข่ขาว ค. Allantois ง. Amnion
27. ไข่ไก่ขณะที่กาลังฟักอยู่นั้นจะขับถ่าย N – Waste ออกมาในรูปของสารในข้อใด
ก. NH3 ข. Urea ค. Uric acid ง. Ketone bodies
28. การพัฒนาของเนื้อเยื่อในข้อใดที่ไม่สอดคล้องกัน
ก. Mesoderm – notochord ข. Ectoderm – eye lens
ค. Ectoderm – liver ง. Endoderm – lungs
29. ลักษณะในข้อใดที่พบในทุกระยะของการเจรญเติบโตของแมลง
A= มีขา B = มีท่อลม C = มีการลอกคราบ
D= มีเอกโซสเกเลนตัน E = มีเมทามอร์โฟซิส
ก. A และ B ข. B และ D ค. C และ D ง. C D และ E
30. จากภาพตัดขวางที่กาหนดให้ รูปใดเป็นการเจริญของเอ็มบริโอของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม (A) และสัตว์
ครึ่งบกครึ่งน้า (B) ตามลาดับ
ก. (A) M (B) P ข. (A) N (B) Q
ค. (A) P (B) Q ง. (A) M (B) N
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............
กระดาษคาตอบแบบทดสอบ เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์
(Animal Growth and Development)
 ก่อนเรียน วันที่...........................  หลังเรียน วันที่...........................
ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ก
ข
ค
ง
ข้อ 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
ก
ข
ค
ง
ได้ .......................คะแนน คะแนนเต็ม 30 คะแนน ลงชื่อ..................................................ผู้ตรวจ
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
วันที่ตรวจ............................................

More Related Content

What's hot

เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2Naughtily NaRee
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
 
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
Lessonplan 4animalreproduce2
Lessonplan 4animalreproduce2Lessonplan 4animalreproduce2
Lessonplan 4animalreproduce2
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
 

Similar to Contentbio4lesson5

Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์Wichai Likitponrak
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบชีวะพื้นดุล
แบบทดสอบชีวะพื้นดุลแบบทดสอบชีวะพื้นดุล
แบบทดสอบชีวะพื้นดุลWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบลำเลียงเซลล์
แบบทดสอบลำเลียงเซลล์แบบทดสอบลำเลียงเซลล์
แบบทดสอบลำเลียงเซลล์Wichai Likitponrak
 
การเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คนการเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คนTeakzK
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfLomaPakuTaxila
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.Kururu Heart
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกายAobinta In
 
แบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนแบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนWichai Likitponrak
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตฟลุ๊ค ลำพูน
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 

Similar to Contentbio4lesson5 (20)

Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 
แบบทดสอบชีวะพื้นดุล
แบบทดสอบชีวะพื้นดุลแบบทดสอบชีวะพื้นดุล
แบบทดสอบชีวะพื้นดุล
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
แบบทดสอบลำเลียงเซลล์
แบบทดสอบลำเลียงเซลล์แบบทดสอบลำเลียงเซลล์
แบบทดสอบลำเลียงเซลล์
 
Lessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowthLessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowth
 
การเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คนการเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คน
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
 
แบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนแบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียน
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Contentbio4lesson5

  • 1. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ชื่อ-นามสกุล..................................................................................................................ชั้น................ห้อง...............เลขที่............ ใบความรู้ เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development) กระบวนการเจริญเติบโตของสัตว์ การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (Development) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็น ค่อยไป อย่างมีระเบียบของสิ่งมีชีวิต ทาให้เกิดเป็นเนื้อเยื่อที่มีความซับซ้อนและสมบูรณ์ ทั้งในด้านโครงสร้าง และการทางานของโครงสร้างนั้น กระบวนการเจริญเติบโต 1. การเพิ่มจานวนเซลล์ ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การแบ่งเซลล์ถือว่าเป็นการสืบพันธุ์ เกิดชีวิต ใหม่ขึ้น มี หลายแบบ เช่น การแบ่งแยกตัวเป็นส่วนๆ การแตกหน่อเป็นต้น ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ การแบ่ง เซลล์เป็นการเพิ่มจานวนเซลล์ให้มากขึ้น เช่น การแบ่งเซลล์จากตัวอ่อนเป็นตัวเต็มวัย สร้างเซลล์ใหม่เพื่อ ทดแทนเซลล์เก่า เช่น เซลล์ผิวหนัง 2. การเพิ่มขนาดของเซลล์ หมายถึง กระบวนการสะสมและสังเคราะห์สารอินทรีย์ภายโมเลกุลของ เซลล์ ทาให้โมเลกุลมีขนาดใหญ่ขึ้น หรือมีการรวมกันระหว่างโมเลกุลกับโมเลกุล เป็นผลให้เซลล์ต้องขยาย ขนาดตามไปด้วย จึงเกิดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต เช่นงูจะมีการลอกคราบเมื่อมีขนาดตัวใหญ่ขึ้น
  • 2. 3. การเปลี่ยนแปลงสภาพของเซลล์ ทั้งรูปร่าง และหน้าที่ของเซลล์เนื่องจากในระยะแรก เซลล์อาจจะ ทาหน้าที่อย่างหนึ่ง แต่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่การทางานจึงเกิดการเปลี่ยนสภาพเซลล์ ตามไปด้วยเพื่อให้ ได้เซลล์ที่สามารถทาหน้าที่ที่ต่างกัน การเปลี่ยนสภาพเกิดทั้งทางกายภาพและชีวเคมี ทั้งในระดับโมเลกุล ระดับเซลล์ ระดับเนื้อเยื่อ ระดับอวัยวะ และระดับระบบอวัยวะ เซลล์ที่ได้ใหม่ จะมีลักษณะแตกต่างไปจาก เซลล์เดิม 4. การเกิดรูปร่างที่แน่นอน สิ่งมีชีวิตจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างตลอดเวลาตั้งแต่แรกเกิด จนเป็นตัว เต็มวัย เนื่องจากมีการแบ่งเซลล์ หรือเพิ่มจานวนเซลล์ รูปร่างตอนโตอาจจะแตกต่าง จากตอนแรกเกิดมาก หรือไม่เหมือนกันเลย เช่น กบ ผีเสื้อ เป็นต้น การเติบโตในสิ่งมีชีวิตชั้นสูง จะหยุดเมื่อโตเต็มวัย โดยการใช้ความ สูงที่หยุดเป็นเกณฑ์ ไม่คานึงว่าน้าหนักจะเพิ่มหรือลดลง ปัจจัยต่อการเจริญเติบโต 1. ศักยภาพของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การที่สิ่งมีชีวิตจะมีการเติบโตเป็น อย่างไรนั้นขึ้นกับพันธุกรรมเป็นอันดับแรก เพราะการเจริญเติบโต ของตัวอ่อนจะมีขั้นตอนเหมือนพ่อ แม่ แต่อัตราการเติบโตจะแตกต่างกันได้ขึ้นกับสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิตในขณะนั้น
  • 3. 2. ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม 2.1 ปัจจัยทางชีวภาพ การเติบโตที่ผิดปกติอาจเป็นผลมาจากสิ่งมีชีวิตที่ดารงชีวิตอยู่ด้วยกัน เช่น ถ้าร่างกายมีปรสิต เช่น พยาธิ แบคทีเรีย เกาะทาลายเนื้อเยื่อ หรือดูดสารอาหาร จะทาให้การ เติบโตช้า ผิดปกติ หรือตายได้ 2.2 ปัจจัยทางกายภาพ 2.2.1 ปัจจัยเกี่ยวกับพลังงาน ได้แก่ ความร้อน แสง เสียง เป็นต้น 2.2.2 ปัจจัยเกี่ยวกับสารเคมี สารเคมีที่มีผลต่อการเจริญเติบโต คือฮอร์โมน เนื่องจากฮอร์โมน และสารที่เกี่ยวข้องโมน จะควบคุมการทางานของระบบต่างๆ ในร่างกายให้เป็น ปกติ การจาแนกชนิดของไข่สัตว์ 1. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามปริมาณมากน้อยของไข่แดงได้ดังนี้ คือ 1.1 ไข่ชนิดอะเลซิทัล (Alecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อยมากจนเกือบไม่มี เลย ขนาดของไข่จึงเล็กมาก ตัวอ่อนที่เกิดจากไข่ชนิดนี้ ต้องอาศัยอาหารจากแม่ทางรก ได้แก่ไข่ของสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนม 1.2 ไข่ชนิดโอลิโกเลซิทัล (Oligolecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อย เช่น ไข่ของหอย เม่น ปลาดาว เป็นต้น 1.3 ไข่ชนิดมีโซเลซิทัล (Mesolecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงปานกลาง ไข่มีขนาดใหญ่ ขึ้น เช่น ไข่ของสัตว์ สะเทินน้าสะเทินบก
  • 4. 1.4 ไข่ชนิดโพลีเลซิทัล (Polylecithal egg) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงมาก จนทาให้ ส่วนของนิวเคลียสและไซโทพลาสซึมถูกดันไปอยู่ด้านบนของไข่ ได้แก่ ไข่ของสัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน รวมทั้ง ไข่แมลงด้วย 2. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามลักษณะการกระจายของไข่แดงได้ ดังนี้คือ 2.1 ไข่ชนิดไอโซเลซิทัล (Isolecithal) เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อยมากหรือเกือบไม่มีเลย ส่วน ของ ไข่แดงแดงกระจายอยู่ทั่วไปในเซลล์อย่างสม่าเสมอ เช่น ไข่ของปลาดาว หอยเม่นและไข่ของสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนม 2.2 ไข่ชนิดเทโลเลซิทัล (Telolecithal egg) เป็นไข่ชนิดใหญ่มีไข่แดงมาก ตามปกติไข่แดง จะบรรจุอยู่ใน แกรนูล (Granule) ขนาดใหญ่เรียกว่าแผ่นไข่แดง (York plate) ทาให้ไข่แดง แยกออกจากไซ โทพลาสซึม โดยรวมตัวเป็นกลุ่มทางตอนล่างของไข่ที่เรียกว่า เวเจทัลโพล (Vegetal pole) ส่วนนิวเคลียส และไซโทพลาสซึมจะอยู่ด้านบนของไข่เรียกว่า แอนิมัลโพล (Animal pole) แอนิมัลโพล (Animal pole) แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ *** ไข่ชนิดมอเดเรทลี เทโลเลซิทัล (Moderately telolecithal egg) เป็นไข่ ชนิด ที่ไข่แดงไม่ได้แยกออกจากไซโทพลาสซึม แต่กระจายอยู่ใน ไซโทพลาสซึม ไม่สม่าเสมอจะไปอยู่กัน หนาแน่นที่ ข้างใดข้างหนึ่งของเซลล์ ได้แก่ ไข่ของสัตว์ สะเทินน้าสะเทินบก *** ไข่ชนิดเฮพวิลี เทโลเลซิทัล (Heavily telolecithal egg) เป็นไข่ที่มีไข่แดง มา รวมกันเป็นกลุ่มก้อนด้านล่างของไข่ ส่วนนิวเคลียสและไซโทพลาสซึมที่เหลือ จะรวมกันเป็นแผ่นเล็ก ๆ เรียกว่า บลาสโตดิสต์ (Blastodisc) ซึ่งจะถูกดันให้ไปอยู่ที่ ขอบเซลล์ได้แก่ ไข่ของนก สัตว์เลื้อยคลานและ ปลากระดูกแข็ง *** ไข่ชนิดเซนโทรเลซิทัล (Centrolecithal egg)เป็นไข่ที่มีไข่แดงจับกลุ่มกัน อยู่ ตรงกลาง ที่มีไซโทพลาสซึมล้อมรอบ ได้แก่ ไข่ของพวกแมลง
  • 5. การเจริญเติบโตของสัตว์ชั้นสูง มี 3 กระบวนการ คือ 1. การแบ่งตัวของไซโกต (Cleavage) เริ่มโดยการแบ่งตัวแบบไมโตซิสของไซโกตอย่างรวดเร็ว จนเป็นกลุ่มเซลล์เล็ก ๆ จานวนมากมาย แต่ไม่เจริญเติบโตขึ้น เซลล์ที่ได้นี้เรียกว่า บลาสโตเมียร์ (Blastomere) ตัวอ่อนในระยะนี้เรียกว่ามอรูลา (Morula) 1.1 โฮโลบลาสติก คลีเวจ (Holoblastic cleavage) เป็นวิธีการแบ่งตัวของไซโกต แบบหนึ่งที่เป็นการแบ่งตัวของไซโกต ตลอดทั้งเซลล์ถ้าเซลล์ที่ได้จากการแบ่งมีขนาดเท่ากันหรือเกือบเท่ากันก็
  • 6. เรียกว่า อิควล โฮโลบลาสติค คลีเวจ (Equal holoblastic cleavage) แต่ถ้ามีขนาดไม่เท่ากันเรียกว่า อันอิควล โฮลบลาสติค คลีเวจ (Unequal holoblastic cleavage) 1.2 เมอโรบลาสติก คลีเวจ (Meroblastic cleavage) เป็นการแบ่งตัวของไซโกตที่ไม่เกิดขึ้น ตลอดทั้งเซลล์ แนวการแบ่งจะเกิดขึ้นเฉพาะด้านบนของไข่ ตรงบริเวณที่เรียกว่า บลาสโตดิส หรือบริเวณ เจอมินัล (Germinal disc) พบในพวกไข่ของสัตว์ปีก 2. บลาสทูเลชัน (Blastulation) เป็นขั้นการเจริญของตัวอ่อนสัตว์ที่มีต่อจากระยะคลีเวจ โดย เซลล์บลาสโตเมียร์ จะมาจัดเรียงตัวใหม่ อย่างเป็นระเบียบเป็นชั้นเดียวอยู่ที่ผิว ทาให้มีลักษณะ คล้ายลูกบอลที่มีโพรงอยู่ข้างใน เรียกว่า บลาสโทซีล (Blastocoel) ตัวอ่อนในระยะนี้เรียกว่าบลา สทูลา (Blastula) และชั้นของเซลล์ เรียกว่า บลาสโทเดิร์ม (Blastoderm) 3. แกสทรูเลชัน (Gastrulation) เป็นขั้นการเจริญของตัวอ่อนของสัตว์ต่อจากบลาสทูเลชัน ที่ทา ให้เกิดเยื่อคัพภะ (Germ layer) ขึ้นในตัวอ่อน โดยการเกิดเยื่อคัพภะชั้นนอกเรียกว่า เอกโตเดิร์ม (Ectoderm) เยื่อชั้นในเรียกว่า เอนโดเดิร์ม (Endoderm) และเยื่อชั้นกลางเรียกว่า มีโซเดิร์ม (Mesoderm) ตัวอ่อนระยะนี้เรียกว่า แกสทรูลา (Gastrula)
  • 7. การเคลื่อนที่ของเซลล์บลาสโตเมียร์ไม่ว่าจะเป็นแบบใดก็ตาม จะทาให้เกิดช่องใหม่ขึ้นในตัวของตัว อ่อน เรียกว่าแกสโตซีล (Gastrocoel) หรือ อาร์เคนเทอรอน (Archenteron) ซึ่งเป็นทางเดินอาหาร ระยะแรก ส่วนรูเปิดออกสู่ภายนอกของช่องนี้ เรียกว่าบลาสโตพอร์ (Blastopore) การเกิดเยื่อคัพภะ ของ เอมบริโอ มีหลายแบบลักษณะต่าง ๆ กัน ดังนี้ 1. อินแวจิเนชัน (Invagination) 2. อีพิโบลี (Epiboly) 3. อินวอลูชัน (Involution) 4. ดีแลมิเนชัน (Delamination การเกิดรูปร่างของเอ็มบริโอ เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องจากกระบวนการที่ต่อเนื่องจากกระบวนการ แกสทรูเลชัน โดยเยื่อคัพภะ จะเจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็นอวัยวะต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพื่อทา หน้าที่ประสานงาน ระหว่างอวัยวะภายในร่างกาย จึงเกิดเป็นระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายของสัตว์ ดังต่อไปนี้ 1. เนื้อเยื่อชั้นนอก (Ectoderm) - ผิวหนัง ขน เขา เล็บ เกล็ด กีบเท้าสัตว์
  • 8. - ระบบประสาท(สมอง,ไขสันหลัง) - ต่อมใต้สมองส่วนหน้า และส่วนกลาง - สารเคลือบฟัน ต่อมน้าลาย - ต่อมหมวกไตชั้นใน ต่อมใต้สมองส่วนท้าย 2. เนื้อเยื่อชั้นกลาง (Mesoderm) - ระบบโครงกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ - ระบบหมุนเวียนโลหิต (หัวใจ เส้นเลือด เลือด ม้าม) - ระบบขับถ่าย (ไต) - ระบบสืบพันธุ์ (อัณฑะ รังไข่) 3. เนื้อเยื่อชั้นใน (Endoderm) - ระบบทางเดินอาหาร (หลอดอาหาร,กระเพาะอาหาร ,ลาไส้ , ตับ , ตับอ่อน) - ระบบหายใจ (หลอดลม , ปอด) - ต่อมทอนซิล หูส่วนกลาง ต่อมไทรอยด์ - ต่อมพาราไทรอยด์ อัลแลนตอยด์ ถุงไข่แดง - กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ การวัดการเติบโต (measurement of growth) เป็นการวัดขนาดที่เพิ่มมากขึ้นทาได้หลายวิธี คือ 1. การวัดน้าหนักที่เพิ่มขึ้น หรือการหามวลของมีชีวิตที่เพิ่มขึ้น การวัดน้าหนักเป็นเกณฑ์ที่ สาคัญที่ใช้ในการวัดการเติบโต เพราะการที่น้าหนักเพิ่มขึ้นได้ เนื่องมากจากเซลล์ของร่างกายเพิ่มมาก ขึ้นหรือมีการสร้างและสะสมของสารต่างๆ ภายในเซลล์และร่างกายมากขึ้น การเพิ่มของน้าหนักจะมี ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับอัตราการเติบโต จึงเหมาะสมที่จะนามาใช้ ในการวัดการเติบโตมากกว่า เกณฑ์อื่นๆ 2. การวัดความสูงที่เพิ่มขึ้น ความสูงที่เพิ่มขึ้นอาจไม่เป็นอัตราส่วนกับมวลหรือน้าหนักที่ เพิ่มขึ้น ดังนั้นการวัดความสูงจึงเป็นการคาดคะเนการเติบโตเท่านั้น
  • 9. 3. การวัดปริมาตรที่เพิ่มขึ้น ปริมาตรที่เพิ่มขึ้นมักจะสัมพันธ์กับน้าหนักที่เพิ่มขึ้น แต่การหา ปริมาตรจะมีความยุ่งนากและลาบากกว่าการหาน้าหนักจึงไม่ค่อยนิยมใช้กันมากนัก 4. การนับจานวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้น การนับจานวนเซลล์จะใช้กับสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กๆ ได้ เช่น การเพิ่มจานวนเซลล์ของสาหร่าย ไม่นิยมใช้กับสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ๆ เส้นโค้งของการเจริญเติบโต (growth curve) เส้นโค้งที่แสดงการเติบโตอาจจะวัดออกมาเป็นหน่วยน้าหนักที่เพิ่มขึ้นต่อหน่วยเวลาที่ เปลี่ยนไป หรือหน่วยความสูงที่เพิ่มขึ้นต่อหน่วยเวลาที่เปลี่ยนไป สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่จะมี เส้นโค้งการ เจริญเติบโตเป็นรูปตัว S หรือ sigmoid curve เสมอ *** เส้นโค้งการเติบโตแบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ คือ 1. ระยะเริ่มต้น เป็นระยะที่สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นเริ่มการเติบโต ในระยะนี้จะเป็นไปอย่างช้าๆ เส้น โค้งการเติบโตจึงมีความชันน้อย 2. ระยะเติบโตอย่างรวดเร็ว เป็นระยะที่ต่อจากระยะแรกโดยที่สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นจะมีการเพิ่ม จานวนเซลล์มีการสร้างสารต่างๆ สะสมในเซลล์มากขึ้นทาให้น้าหนักหรือความสูงหรือจานวนเซลล์ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่วนโค้งการเติบโตจึงชันมากกว่าระยะอื่นๆ 3. ระยะคงที่ เป็นระยะที่มีการเติบโตสิ้นสุดแล้ว ทาให้น้าหนัก ความสูงหรือขนาดของ สิ่งมีชีวิต ไม่เพิ่มขึ้นและค่อนข้างจะคงที่อยู่อย่างนั้นตลอดไป 4. ระยะสิ้นสุด เมื่อสิ่งมีชีวิตเติบโตถึงที่สุดแล้ว และถ้าปล่อยเวลาต่อไปอีกก็จะถึงระยะเวลาที่ ร่วงโรยเสื่อมโทรมในที่สุดก็จะตายไป
  • 10. *** ในสัตว์พวกที่มีโครงร่างแข็งนอกตัว (exoskeleton) จะมีแบบแผนของการเติบโตแตกต่างจาก สิ่งมีชีวิตทั่วไป เช่น มวนน้าชนิดหนึ่ง จะมีแบบแผนแบบขั้นบันได *** การเจริญเติบโตหลังระยะเอ็มบริโอของสัตว์ สัตว์บางชนิดเช่น แมลงและกบ มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะเจริญเติบโต โดยรูปร่างขณะที่ เป็นตัวอ่อนและตัวเต็มวัยแตกต่างกันมาก เรียกการเปลี่ยนแปลงแบบนี้ว่า เมทามอร์โฟซิส (metamorphosis) 1. เมทามอร์โฟซิสของแมลง แบ่งออกเป็น 4 แบบคือ 1.1 ไม่มีเมทามอร์โฟซิส (without metamorphosis หรือ ametamorphosis ) ตัวอ่อนที่ ฟักออกจากไข่มีรูปร่างเหมือนกับพ่อแม่ทุกอย่าง แล้วตัวอ่อนก็ค่อย ๆ เจริญเติบโตแล้วลอกคราบเจริญ เป็นตัวเต็มวัยต่อไป เช่น แมลงสามง่าม แมลงหางดีด 1.2 มีเมทามอร์โฟซิสแบบค่อยเป็นค่อยไป (gradual metamorphosis) ตัวอ่อนที่ฟักออกมา จากไข่มีรูปร่างคล้ายพ่อแม่ แต่มีอวัยวะบางอย่างไม่ครบ เช่น ไม่มีปีก เมื่อแมลงโตขึ้นและลอกคราบ ปีกจะเริ่มงอกขึ้นเรียกตัวอ่อนระยะนี้ว่า นิมฟ์ (nymph) ต่อจากนั้นก็จะมีการลอกคราบหลายครั้งและ เจริญเป็นตัวเต็มวัยต่อไป เช่น ตั๊กแตน แมลงสาบ ปลวก เหา ไร่ไก่ จักจั่น
  • 11. 1.3 มีเมทามอร์โฟซิสแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete metamorphosis) มีลักษณะคล้ายแบบ ค่อยเป็นค่อยไป แต่ขณะที่เจริญเติบโตนั้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างมากกว่า ตัวอ่อนมักเจริญอยู่ในน้า หายใจด้วยเหงือกเรียกว่า ไนแอด (naiad) ต่อจากนั้นตัวอ่อนจะลอกคราบขึ้นมาอยู่บนบกและหายใจ ด้วยระบบท่อลม เช่น ชีปะขาว แมลงปอ 1.4 มีเมทามอร์โฟซิสแบบสมบูรณ์ (complete metamorphosis) โดยมีการเจริญ เปลี่ยนแปลงรูปร่างของร่างกาย เป็น 4 ขั้นตอนด้วยกัน คือ ไข่ (egg) แล้วฟักเป็นตัวอ่อนหรือตัว หนอน (larva) ซึ่งกินอาหารเก่งมากและเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ต่อจากนั้นจึงเป็น ดักแด้ (pupa) หยุดกินอาหารมักใช้ใยหรือใบไม้หุ้มตัวและฟักตัวอยู่ระยะหนึ่ง ตัวเต็มวัย (adult) ออก จากเกราะและสืบพันธุ์ได้ต่อไป เช่น ด้วง ผีเสื้อ แมลงวัน ยุง ผึ้ง ไหม 2. เมทามอร์โฟซิสของกบ กบมีการผสมพันธุ์และวางไข่ในน้า ซึ่งตามปกติแล้วฤดูผสมพันธุ์นั้นคือ ฤดูฝน ไข่ไม่มีเปลือก หุ้มแต่มีวุ้นหุ้มอยู่รอบ ๆ หลังจากปฏิสนธิ 3-12 ชั่วโมงจะมีการแบ่งเซลล์เกิดขึ้น ตัวอ่อนจะงอกหาง เมื่ออายุได้ 4 วัน วันที่ 6 หลังจากปฏิสนธิตัวอ่อนจะฟักออกจากไข่เป็นลูกอ๊อด ว่ายน้าและหายใจด้วย เหงือก ซึ่งอยู่ภายนอก มีการงอกขาหลังและขาหน้าตามลาดับ ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างต่อโดย หางจะหดสั้นเข้า ขึ้นมาอาศัยอยู่บนบกได้ หายใจด้วยปอดและผิวหนังแทนเหงือก พออายุได้ 3 ปี ก็จะ เป็นกบที่สมบูรณ์และสืบพันธุ์ได้ต่อไป %%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%
  • 12. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............ แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development) 1. การเติบโต (Growth) ของสิ่งมีชีวิตจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ ก. ได้รับ Growth hormone จากต่อมใต้สมอง ข. เซลล์มีการแบ่งตัวแล้วทาให้ขนาดเพิ่มขึ้น ค. มีการดูดซึมของสารเข้าไปในเซลล์ ง. มีการเพิ่มปริมาณไซโทพลาซึมจากการสังเคราะห์ 2. การที่ระยะคลีเวจ (Cleavage) ของไก่ เกิดเฉพาะบริเวณเล็ก ๆ ที่ปลอดจากไข่แดง (Yolk) นั้นเป็นเพราะ ก. ไข่แดงมีมากไม่สามารถแบ่งตัวได้ ข. ไข่แดงอยู่ในแวคิวโอล ค. ไข่แดงอยู่นอกเซลล์ ง. ไข่แดงเป็นสารอาหารสาหรับตัวอ่อน 3. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีวิธีป้องกันไม่ให้ลูกอ่อนได้รับอันตรายโดย ก. สร้างสายรก ข. สร้างกระเป๋าหน้าท้อง ค. สร้างเปลือกหุ้มไข่ ง. ข้อ ก, ข และ ค ถูก 4. ระยะสุดท้ายของเอ็มบริโอของคนสิ้นสุดลงเมื่อประมาณ ก. 30 วันหลังปฏิสนธิ ข. 60 วันหลังปฏิสนธิ ค. 90 วัน หลังปฏิสนธิ ง. ระยะที่คลอด 5. ในกระบวนการเจริญเติบโตของตัวอ่อนของสัตว์ ระบบอวัยวะที่เจริญก่อนระบบอื่นคือระบบ ก. ประสาท ข. ทางเดินอาหาร ค. หมุนเวียนโลหิต ง. ระยะที่คลอด 6. เอ็มบริโอของสัตว์ปีกแลกเปลี่ยนแก๊สทางใด ก. ถุงน้าคร่า ข. แอลแลนทอยส์ ค. เส้นเลือดจากเอ็มบริโอ ง. เส้นเลือดจากไข่แดงสู่หัวใจ 7. ตัวอ่อนของสัตว์ที่เจริญอยู่ภายนอกตัวแม่นั้น การเจริญเติบโตขึ้นอยู่กับ ก. อาหารจากตัวแม่ ข. อาหารใน Yolk ค. ปริมาณ Amnion ง. ปริมาณ Allantois 8. คลีเวจมีลักษณะพิเศษของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส คือ ก. นิวเคลียสไม่แยกออกจากกัน ข. ไม่มีการเจริญเติบโตของเซลล์เหล่านั้น ค. ไม่มีการสร้างใยสปินเดิลเพื่อดึงโครโมโซม ง. เยื่อพลาสมาของเซลล์ลูกไม่แยกจากกัน 9. อวัยวะที่มีอัตราการเติบโตน้อยที่สุดภายหลังเกิด คือ ก. กระดูก ข. หัวใจ ค. สมอง ง. รังไข่ 10. ของเสียที่เป็นสารประกอบไนโตรเจนของเอ็มบริโอของนกและสัตว์เลื้อยคลานจะ ก. แพร่ออกจากไข่โดยผ่านทาง Chorioallantoic membrane ข. เก็บสะสมไว้ในไข่จนกว่าจะออกเป็นตัว ค. ละลายอยู่ใน Amnion fluid ง. ไม่มีการสร้างขึ้นมาในขณะอยู่ในไข่
  • 13. 11. โครงสร้างคู่ใดของเอ็มบริโอที่ทาหน้าที่เหมือนกัน ก. แอลแลนทอยส์ ปอด ข. แอลแลนทอยส์ ถุงน้าคร่า ค. แอลแลนทอยส์ รก ง. รก ถุงน้าคร่า 12. วุ้นที่อยู่รอบ ๆ ไข่กบทาหน้าที่ ก. ป้องกันไม่ให้ได้รับอันตราย ข. ป้องกันตัวไรน้าไม่ให้เข้าไปกินไข่ ค. ป้องกันไม่ให้ไข่แต่ละใบเบียดกันมากเกินไป ง. เป็นอาหารสาหรับเลี้ยงเอ็มบริโอขณะเติบโต 13. รกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีโครงสร้างที่ประกอบด้วย ก. Chorion และ Allantois ข. Uterus และ Amnion ค. Chorionic mesoderm และ Allantois stalk ง. เยื่อบุ Uterus และ Allantonic mesoderm และ Chorion 14. ในหญิงอายุ 20-35 ปี ไข่ที่หลุดออกจากรังไข่โดยมากจะเป็นเซลล์ในระยะใดของไมโอซิส และหลังจาก ปฏิสนธิแล้ว ตัวอ่อนจะฝังตัวในเยื่อบุมดลูกประมาณวันที่เท่าใดของรอบประจาเดือน ก. ระยะก่อนเริ่มมีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส , ประมาณวันที่ 7 ข. ระยะหลังไมโอซิสขั้นที่ 1 แล้ว, ประมาณวันที่ 7 ค. ระยะหลังไมโอซิสขั้นที่ 2 แล้ว, ประมาณวันที่ 21 ง. ระยะหลังไมโอซิสขั้นที่ 2 แล้ว, ประมาณวันที่ 18 15. เมื่อคอร์ปัสลูเทียมสลายตัวภายในสองสัปดาห์ย่อมแสดงว่า ก. การฝังตัวจะเกิดขึ้นภายใน 1 สัปดาห์ ข. การเกิดคลีเวจของเอ็มบริโอไม่สมบูรณ์ ค. ประจาเดือนในเดือนนั้นผิดปกติ ง. ไม่มีปฏิสนธิเกิดขึ้น 16. สัตว์เลื้อยคลานสามารถเติบโตในบริเวณแห้งแล้ง อาจเนื่องมาจากข้อใด ก. เอ็มบริโออยู่ภายในถุงน้าที่เรียกว่า amnion ข. มีที่เก็บของเสีย คือ allantois ค. ไข่อยู่ภายในลาตัวจนกว่าจะถูกปฏิสนธิ และมีเปลือกแข็งหุ้ม ง. ถูกทุกข้อ 17. ในระยะ Gasturlation การพัฒนาเนื้อเยื่อชั้นนอกจะกลายเป็นอวัยวะในข้อใด ก. notochord ข. enamel ค. tonsil ง. ovary 18. สัตว์ในข้อใดที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างในการเจริญเติบโต ก. ปลา กบ ข. แมงมุม ม้าน้า ค. ดาวทะเล ไก่ ง. แมลงวัน ด้วง 19. ข้อใดไม่จัดเป็นการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต ก. การเพิ่มปริมาตรของเซลล์ ข. การเพิ่มจานวนเซลล์ ค. การเปลี่ยนแปลงเนื้อเยื่อเป็นอวัยวะ ง. การปฏิสนธิ 20. การสืบพันธุ์ข้อใดสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้ดีเมื่อกาหนดให้ A= budding B= Meristem culture C= Conjugation D= parthenogenesis ก. A และ B ข. B และ C ค. C และ D ง. A และ D
  • 14. 21. ข้อใดไม่เป็นจริงในระยะ cleavage ของ zygote สัตว์ ก. แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส ข. เพิ่มอัตราส่วนของนิวเคลียส : ไซโทรพลาซึม ค. เพิ่มอัตราส่วนของพื้นที่ผิว : ปริมาตร ง. มีขนาดโตขึ้น 22. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแบบใด สอดคล้องกับสิ่งมีชีวิตที่กาหนดไว้ในตาราง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ กลุ่มสิ่งมีชีวิต ก. Sporulation รา เห็ด พลาสโมเดียม ข. Binary fission พลานาเรีย ยูกลีนา อะมีบา ค. Parthenogenesis เพลี้ย โรติเฟอร์ พยาธิไส้เดือน ง. Budding ฟองน้า ยีสต์ ไฮดรา 23. ในสัตว์ที่เจริญเติบโตในมดลูก ตับอ่อนที่เติบโตขึ้นมาได้อาหารจากมารดาอย่างไร ก. ได้รับเลือดจากแม่โดยตรง ข. โมเลกุลของอาหารแพร่จากระบบเลือดแม่สู่ระบบเลือดลูก ค. รับวัตถุดิบเป็นสารอนินทรีย์จากแม่มาสังเคราะห์โมเลกุลอาหารที่ต้องการ ง. เซลล์ของตัวอ่อนสังเคราะห์โมเลกุลอาหารด้วยตนเอง 24. ไข่กบที่ผสมกับเชื้อตัวผู้แล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นเอ็มบริโอ ลูกอ็อดและ ลูกกบ ตามลาดับ การ เปลี่ยนแปลงจาก ลูกอ๊อดมาเป็นลูกกบนั้นเรียกว่า ก. Cleavage ข. Parthenogenesis ค. Metamorphosis ง. Maturation zone 25. ของเสียที่เป็นสารประกอบไนโตรเจนของเอ็มบริโอของนกและสัตว์เลื้อยคลานจะถูกกาจัดแล้วนาไปไว้ที่ใด ก.แพร่ออกจากไข่โดยผ่านทาง chorioallantoic membrane มาเก็บไว้ที่เปลือก ข. เก็บสะสมไว้ในไข่แดงจนกว่าจะออกมาเป็นตัว ค. ละลายอยู่ใน amniotic fluid ง. เก็บในแวคิลโอลขนาดใหญ่ภายในเซลล์ไข 26. การแลกเปลี่ยนก๊าซของเอ็มบริโอไข่ไก่เกิดขึ้นที่ใด ก. ไข่แดง ข. ไข่ขาว ค. Allantois ง. Amnion 27. ไข่ไก่ขณะที่กาลังฟักอยู่นั้นจะขับถ่าย N – Waste ออกมาในรูปของสารในข้อใด ก. NH3 ข. Urea ค. Uric acid ง. Ketone bodies 28. การพัฒนาของเนื้อเยื่อในข้อใดที่ไม่สอดคล้องกัน ก. Mesoderm – notochord ข. Ectoderm – eye lens ค. Ectoderm – liver ง. Endoderm – lungs 29. ลักษณะในข้อใดที่พบในทุกระยะของการเจรญเติบโตของแมลง A= มีขา B = มีท่อลม C = มีการลอกคราบ D= มีเอกโซสเกเลนตัน E = มีเมทามอร์โฟซิส ก. A และ B ข. B และ D ค. C และ D ง. C D และ E
  • 15. 30. จากภาพตัดขวางที่กาหนดให้ รูปใดเป็นการเจริญของเอ็มบริโอของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม (A) และสัตว์ ครึ่งบกครึ่งน้า (B) ตามลาดับ ก. (A) M (B) P ข. (A) N (B) Q ค. (A) P (B) Q ง. (A) M (B) N @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@ ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............ กระดาษคาตอบแบบทดสอบ เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์ (Animal Growth and Development)  ก่อนเรียน วันที่...........................  หลังเรียน วันที่........................... ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ก ข ค ง ข้อ 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ก ข ค ง ได้ .......................คะแนน คะแนนเต็ม 30 คะแนน ลงชื่อ..................................................ผู้ตรวจ (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน วันที่ตรวจ............................................