SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
พฤติกรรม (BEHAVIOR)
☞ก า ร ต อ บ ส น อ ง ข อ ง สิ ่ง ม ีช ีว ิต ต ่อ ก า ร
เปลี่ย นแปลงของสภาพแวดล้อ ม ทั้ง ภายนอก
ร่างกาย และภายในร่างกายเพื่อการอยู่รอด
☞พฤติก รรมจึง เป็น กลไกอย่า งหนึ ่ง ในการ
รักษาดุลยภาพของร่างกาย (Homeostasis)
การศึกษาพฤติกรรมของสัตว์
☃          พฤติกรรมของสัตว์ เกิดจากการ
ประสานงานกันระหว่างระบบประสาท ระบบ
กล้ามเนื้อ ระบบโครงกระดูก ระบบต่อมไร้
ท่อ และระบบต่อมมีท่อ
การศึกษาพฤติกรรมของสัตว์
1. การศึกษาทางด้านสรีรวิทยา
  (physiological approach)
2. การศึกษาทางด้านจิตวิทยา
  (psychological approach)
การศึกษาพฤติกรรมของสัตว์
การศึกษาพฤติกรรมสัตว์ของนักพฤติกรรมศาสตร์ มี 2 วิธีคือ
1. การสารวจในธรรมชาติ ต้องใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ
   ต้องมีการติดตามเฝ้าดู โดยไม่ให้สัตว์รู้ตัว
2. การศึกษาในห้องทดลอง เป็นการทดลองเพื่อศึกษาพื้นฐานของ
  ระบบประสาทในการแสดงพฤติกรรมต่างๆ
พฤติกรรม (Behavior)
       การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตต่อการเปลี่ยนแปลงของ
สภาพแวดล้อม ทั้งภายนอกร่างกาย และภายในร่างกายเพื่อ
การอยู่รอด
      Gene
                                   Behavior
  Environment
สรุป
    พฤติกรรมของสัตว์เป็นผลจากการ
ทางานร่วมกันระหว่างปัจจัยทางพันธุกรรม
และสภาพแวดล้อม
Gene - ควบคุมพฤติกรรมซึ่งพัฒนาให้เหมาะสม
กับสภาพแวดล้อมโดย Natural selection
     - ควบคุมระดับการเจริญของ
         ระบบประสาท
         ฮอร์โมน
         กล้ามเนื้อ
ขั้นตอนการเกิดพฤติกรรม :
                                                          Integrated
Stimulus                         Recepter
   (สิ่งเร้า)                                               Center
                         (หน่วยรับความรูสึก)
                                        ้
                                                      (สมอง, ไขสันหลัง)

                                                            คาสั่ง

                      Behavior                            Effector
                                                    (หน่วยตอบสนอง)
  - พฤติกรรมจะสลับซับซ้อนมากหรือน้อยขึ้นกับระดับการเจริญของปัจจัยต่าง ๆ
  ในขั้นตอนการเกิดพฤติกรรมนี้
พฤติกรรมจาแนกได้ออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ
     (โดยแสดงพฤติกรรมออกมาได้ในช่วงชีวิตของสิ่งมีชวต)
                                                  ีิ
  1. Innate Behavior : พฤติกรรมทีมีมาแต่กาเนิดและ
                                 ่
       ไม่เปลี่ยนแปลง
 2. Learned Behavior : พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้
ปรับเปลี่ยนได้ขึ้นกับ Experience ในช่วงชีวิต
Innate Behavior
     (Autometic responses to the environment)
              เป็นพฤติกรรมง่าย ๆ มีลักษณะเฉพาะตัวที่ใช้ในการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าชนิดใดชนิดหนึ่ง และพฤติกรรมนี้สตว์ใน species
                                                 ั
เดียวกันจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างหนึ่งเหมือนกัน
(FAP : Fixed - action pattern)
       ตัวอย่าง : การกลืนอาหาร, การตวัดลิ้นจับแมลง
- พฤติกรรมนีได้มาจากกรรมพันธุเ์ ท่านัน ไม่จาเป็นต้องเรียนรูมาก่อน
             ้                       ้                     ้
- พบในสัตว์ชนต่าซึงมีระบบประสาทยังไม่เจริญดี เช่น Protozoa
               ั้ ่
1. Orientation :
        พฤติกรรมการวางตัวของสัตว์ซงจะเกียวข้องกับ
                                     ึ่ ่
การเคลื่อนที่แบ่งได้ 2 แบบ
        1.1 Kinesis พฤติกรรมการเคลื่อนที่โดย
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าด้วยการเคลื่อนที่หนีหรือเข้าหา
โดยไม่มทิศทาง
        ี
          เช่น Paramecium, Isopod (ตัวกะปิ)
1.2 Taxis พฤติกรรมการเคลื่อนที่เข้าหาสิ่งเร้า
อย่างมีทศทางที่แน่นอน
        ิ
        เช่น หนอนแมลงวัน, เห็บ, ยุง
- สัตว์จะต้องมี Sensory receptor ที่เหมาะสมกับสิ่งเร้า
- ช่วยให้ให้สัตว์หาตาแหน่งของบ้านได้ถูกต้อง
Kinesis
รู ปพารามีเซี ยม Kinesis Taxis Schooling
Learned Behavior
      Learning เป็นการเพิ่ม fitness (การอยู่รอดและ
สืบพันธุ์) ให้แก่สัตว์
       พฤติกรรมที่ต้องอาศัยประสบการณ์ที่มีในอดีตมา
ปรับปรุงในพฤติกรรมที่เกิดขึ้น แบ่งออกได้ หลายแบบ
ดังนี้
1. HABITUATION (ความเคยชิน)
         เป็นการลดภาระการตอบสนองของสัตว์ ทาให้
ประหยัดพลังงาน
         พฤติกรรมที่สัตว์เพิกเฉยที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ที่มิได้มีผลต่อการดารงชีวิตเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่ง
เร้านั้นเป็นเวลานาน
2.Conditioning (การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข)
          เป็นพฤติกรรมทีสิ่งเร้าตัวหนึ่งเข้าแทนสิ่งเร้าที่ แท้จริง
                         ่
(สิ่งเร้าเดิม) แล้วชักนาให้เกิดการตอบสนอง ชนิดเดียวกัน

ตัวอย่าง หมา + เนื้อ( Stimulus I )                  น้าลายไหล
    หมา + เสียงกระดิ่ง + เนื้อ( Stimulus II )            น้าลายไหล

          หมา + เสียงกระดิง
                          ่                     น้าลายไหล
3. Trial and Error : (การลองผิดลองถูก)
        ซับซ้อนมากกว่า Habituation
        เป็นพฤติกรรมทีสัตว์แสดงออกโดยบังเอิญ
                        ่
แล้วถ้าได้รางวัลก็จะชักนาให้ทาพฤติกรรมเช่นนั้นอีก : การ
ตอบสนอง (Response) ถูกต้องทาให้อยู่รอดและประสบผลสาเร็จ
ในการสืบพันธุ์
         - Reward (ให้รางวัล)
           - Punishment (การลงโทษ)
4. Imprinting (ความฝังใจ): การเรียนรู้ที่จากัดโดยเวลา
       เป็นพฤติกรรมที่สัตว์สามารถจดจาและผูกพันกับแม่หรือพ่อได้
       พฤติกรรมความฝังใจนี้จะเป็นการทางานร่วมกันระหว่าง
กรรมพันธุ์และการเรียนรู้ โดยกรรมพันธุ์จะเป็นตัวกาหนดช่วงเวลาที่
จาเป็น ซึ่งจะเกิดความฝังใจขึ้น ส่วนการเรียนรู้ความผูกพันระหว่าง
       สัตว์กับพ่อแม่หรือวัตถุที่จะทาให้เกิดความฝังใจขึ้น
Imprinting
5. Insight Learning (การรู้จักใช้เหตุผล) :
      เกิดในพวก Primates
        เป็นพฤติกรรมที่มการดัดแปลงมาจากการลองผิดลองถูก โดย
                            ี
การเรียนรู้นี้จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัตว์ตอบสนองได้ถูกต้องเลยใน
ครั้งแรก
สรุป Fixed-action pattern                              Insight
                (Innate)                               (Learned)


 มีเป้าหมาย เพิ่มโอกาสอยู่รอด + โอกาสสืบพันธุ์
ดังนั้น Gene ควบคุมการเรียนรู้
สิ่งต่าง ๆ ด้วยวิธีการต่าง ๆ
    ให้ Fitness กับ Environment
การสื่อสารระหว่างสัตว์
พฤติกรรมสื่อสารระหว่างสัตว์
(animal communication behavior) มีหลายลักษณะดังนี้
1. การสื่อสารด้วยท่าทาง (visual communication) การสื่อสาร
ด้วยท่าทาง พบได้ในสัตว์หลายชนิด เช่น การกระดิกหางของสุนัข
แสดงการต้อนรับ และหางตกแสดงอาการกลัว
การสื่อสารของผึ้ง ศึกษาและทดลองเมื่อปี พ.ศ. 2488 โดย
คาร์ล ฟอน ฟริช (Karl von Frisch) แห่งมหาวิทยาลัยมิวนิค
เยอรมันตะวันตก โดยฟริชพบว่าผึ้งสารวจ(scout honeybee) มี
ความสามารถในการส่งข่าวให้ผึ้งงาน (worker) ทราบได้ว่าที่ใดมี
อาหารและเป็นอาหารชนิดใด โดยที่ผึ้งสารวจจะนาอาหารมายังรังแล้ว
หยอดอาหารนั้นให้ผึ้งในรังทราบต่อจากนั้นผึ้งสารวจจะเต้นราเพื่อ
บอกระยะทางและทิศทางของอาหาร โดยเต้นราเป็น 2 แบบคือ
1. การเต้นราแบบวงกลม (round dance)
  เป็นการสื่อสารเพื่อให้ทราบว่าอาหารอยู่ใกล้กับรังในระยะ
  น้อยกว่า 100 เมตร
2. การเต้นราแบบส่ายท้อง (wagging dance) หรือการเต้นระบา
แบบเลขแปด ซึ่งมีความซับซ้อนกว่าแบบแรกเพราะจะใช้ในการ
สื่อสารบอกตาแหน่งของอาหารและระยะทางของอาหารได้ หลังจากที่
ผึ้งสารวจไปพบแหล่งอาหารจะกลับมารังแล้วเต้นระบาแบบส่ายท้อง
หมุนไปทางขวาทีซ้ายทีเป็นรูปเลขแปด
การสื่อสารของปลาสติกเกิลสามหนาม
2. การสื่อสารด้วยเสียง (SOUND COMMUNICATION)
การสื่อสารด้วยเสียงเป็นการสื่อสารที่คุ้นพบมากในสัตว์ชั้นสูงทั่วๆไป และ
ยังพบในแมลงด้วย
2.1 ใช้บอกชนิดของสัตว์ ซึ่งอยู่ในสปีชีส์เดียวกัน
2.2 ใช้บอกเพศว่าเป็นเพศผู้หรือเพศเมีย
2.3 ใช้บอกตาแหน่งของตนเองให้ทราบว่าอยู่ที่จุดใด
2.4 เป็นการประกาศเขตแดนให้สัตว์ตัวอื่นๆ รู้
2.5 ใช้บอกสัญญาณเตือนภัยหรือข่มขู่
2.6 ใช้บอกความรู้สึกต่างๆ และการเกี้ยวพาราสี
ชนิดของเสียง
1. เสียงเรียกติดต่อ (contact calls) เป็นสัญญาณในการรวมกลุ่มของสัตว์ชนิด
   เดียวกัน เช่น แกะ สิงโตทะเล
2. เสียงเรียกเตือนภัย (warning calls) โดยเมื่อสัตว์ตัวหนึ่งพบว่าจะมีอันตราย
เกิดขึ้นจะส่งเสียงร้องให้สัตว์ตัวอื่น ๆ ทราบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเช่น นก กระรอก
3. เสียงเรียกคู่ (mating calls) เช่น การร้องเรียกคู่ของกบตัวผู้ เพื่อเรียกตัวเมีย
ชนิดของเสียง
ให้เข้ามาผสมพันธุ์ การสีปีกของจิ้งหรีดตัวผู้รียกร้องความสนใจจากตัวเมีย
การขยับปีกของยุงตัวเมีย เพื่อดึงดูดความสนใจของยุงตัวผู้ให้เข้ามาผสม
พันธุ์
4. เสียงกาหนดสถานที่ของวัตถุ (echolocation) เช่น ในโลมาและ
ค้างคาวจะใช้ เสียงในการนาทางและหาอาหาร โดยปล่อยเสียงที่มีความถี่
สูงออกไป และรับเสียงสะท้อนที่เกิดตามมาและมันจะรู้ได้ว่าตาแหน่งของ
วัตถุที่อยู่ข้างหน้าอยู่ที่ตาแหน่งใด
3. การสื่อสารด้วยการสัมผัส (TACTILE COMMUNICATION )
• การสัมผัสเป็นสื่อสาคัญอย่างหนึ่งของสัตว์ การอุ้มกอดซึ่งเป็นการ
  แสดงถึงความรัก ทารกจะมีพัฒนาการดี ถ้าหากแม่เลี้ยงลูกด้วย
  น้านมของแม่เอง ลูกได้รับการสัมผัส ได้รับความอบอุ่นจากแม่
• นักวิทยาศาสตร์กล่าว่า การสัมผัสโดยการโอบกอด จะทาให้หัวใจ
  สูบฉีดโลหิตดีขึ้น ทาให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย
  ได้มากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งเซลล์บริเวณผิวหนังที่สัมผัสการ
  โอบกอดจะได้รับออกซิเจนมากขึ้น ทาให้ภูมิต้านทานโรคเพิ่มขึ้น
  ด้วย
4. การสื่อสารด้วยสารเคมี (CHEMICAL COMMUNICATION)
4.1 ฟีโรโมนที่ทาให้เกิดพฤติกรรมทันที (releaser pheromone)
เช่น สารดึงดูดเพศตรงข้าม (sex attractants) เช่น ฟีโรโมนที่
ผีเสื้อไหมตัวเมียปล่อยออกมาเพื่อดึงดูดความสนใจของผีเสื้อไหมตัว ผู้
4.2 ฟีโรโมนที่ไปกระตุ้น แต่ไม่เกิดพฤติกรรมทันที (primer
pheromone) ฟีโรโมนชนิดนี้จะไปกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางสรีรวิทยา และเกิดพฤติกรรมในเวลาต่อมา เช่น ฟีโรโมนของ
หนูตัวผู้ชักนาให้หนูตัวเมีย เป็นสัดและพร้อมที่จะผสมพันธุ์
ฟีโรโมนของแมลงส่วนใหญ่เป็นสารพวกแอลกอฮอล์โมเลกุลสั้นๆ จึงระเหยไปในอากาศ
ได้ดี จึงสามารถไปกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ ได้ฟีโรโมนที่สาคัญ ได้แก่

1) ฟีโรโมนทางเพศ (sex pheromone) พบในแมลงหลายชนิด
เช่น ผีเสื้อไหมตัวเมีย จะปล่อยสารแอลกอฮอล์เรียกว่า บอมบายโกล
(Bombygol) เพื่อดึงดูดผีเสื้อไหมตัวผู้ให้มาหาและเกิดการผสมพันธุ์
ผีเสื้อไหมตัวผู้จะมีหนวด มีลักษณะเหมือนฟันหวีเป็นอวัยวะรับกลิ่น
ฟีโรโมนชนิดนี้มีประสิทธิ์ภาพสูง ทาให้ดึงดูดเพศตรงข้ามได้แม้ว่าจะ
อยู่ไกลๆ ในปัจจุบันมีการสังเคราะห์สาร เช่น ยู จีนอล (eugnol)
ซึ่งเลียนแบบฟีโรโมนธรรมชาติ เพื่อดึงดูดแมลงวันทองหรือแมลงวัน
ผลไม้ให้มารวมกันเพื่อกาจัดแมลงได้ครั้งละมากๆ
2) ฟีโรโมนปลุกระดม (aggregation pheromon) เป็นสารที่ใช้
ประโยชน์ ในการปลุกระดมให้มารวมกลุ่มกันเพื่อกินอาหารผสม
พันธุ์หรือวางไข่ ในแหล่งที่เหมาะสม เช่น ด้วงที่ทาลายเปลือกไม้
(bark beetle) ปล่อยฟีโรโมนออกมา เพื่อรวมกลุ่มกันยังต้นไม้ที่
เป็นอาหารได้
3) ฟีโรโมนเตือนภัย (alarm pheromone) สารนี้จะปล่อยออกมา
เมื่อมีอันตราย เช่น
    มีผู้บุกรุกผึ้งหรือต่อที่ทาหน้าที่เป็น ทหาร ยาม จะปล่อย
สารเคมีออกมาให้ผึ้งหรือต่อในรังรู้ ผึ้งเมื่อต่อยผู้บุกรุกแล้วจะปล่อย
สารเคมีเตือนภัยเรียกว่า ไอโซเอมิลแอซิเตต (isoamyl acetate)
ไปให้ผึ้งตัวอื่นรู้เพื่อจะได้ช่วยกันต่อสู้ศัตรูที่บุกรุกเข้ามา
4) ฟีโรโมนตามรอย (trail rhermone) เช่น สุนัขจะ
ปล่อยสารฟีโรโมนไปกับปัสสาวะตลอดทางที่ผ่านไป เพื่อเป็น
เครื่องหมายนาทางและประกาศเขตแดน ผึ้งและมดจะผลิตสาร
จากต่อมดูเฟอร์ (Dufour’s gland) ซึ่งอยู่ติดกับต่อม
เหล็กในทาให้สามารถตามรอยไปยังแหล่งอาหารได้ ผึ้งยังใช้
สารที่สะสมจากดอกไม้เรียกว่า เจรานิ ออล (geraniol) เป็น
สารในการตามรอยด้วย
5) ฟีโรโมนนางพญา (queen – substance pheromone) สารชนิดนี้
พบในแมลงสังคม (social insect) เช่น ผึ้ง ตัวต่อ แตน มด ปลวก
สารชนิดนี้ทาหน้าที่ในการควบคุมสังคม ฟีโรโมนของนางพญาผึ้ง คือ สาร
ที่มีฤทธิ์เป็นกรดคือ กรดคีโตเดเซโนอิก (keto – decenoic acid) สาร
นี้จะปล่อยออกจากตัวนางพญา เมื่อผึ้งงานทาความสะอาดจะได้รับกลิ่นทาง
หนวด และเมื่อเลียตัวนางพญาก็จะได้กินสารนี้ด้วย ทาให้ผึ้งงานเป็นหมัน
และทางานตลอดไป นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เป็น ฟีโรโมนทางเพศ กระตุ้น
ให้ผึ้งตัวผู้ผสมพันธุ์ และยังควบคุมไม่ให้ผึ้งงานผลิตผึ้งนางพญาตัวใหม่
ด้วย ดังนั้นรังผึ้งจึงมี นางพญาเพียงตัวเดียว
ข้อควรทราบ
สารเคมีที่ทาหน้าที่ในการป้องกันตัวช่วยให้ปลอดภัยเรียกว่า
แอลโลโมน (allomone) เช่น ตัวสกั๊งจะปล่อยกลิ่นที่เหม็นมาก
ออกจากต่อมทวารหนัก แมลงตดเมื่ออยู่ในภาวะอันตรายจะปล่อย
สารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นกรด และมีกลิ่นเหม็นมากเพื่อป้องกันตัวทาให้
ศัตรูละทิ้งไป
5. การสื่อสารโดยใช้รหัสแสง (LUMINOUS COMMUNICATION)
การสื่อสารแบบนี้ พบในสัตว์ที่มีกิจกรรมกลางคืน หรือในที่มีแสงน้อย เช่น
ใต้ทะเลลึก ซึ่งไม่มีแสง (aphontic zone) สัตว์กลุ่มนี้ เช่น หิ่งห้อย จะมี
กระบวนการไบโอลูมิเนสเซนซ์ (bioluminescence) โดยการทางานของ
สารลูซิเฟอริน (luciferin) กับ แก๊สออกซิเจน และมีเอนไซม์ ลูซิเฟอเรส
(luciferase) เป็นตัวเร่งปฎิกิริยาและมีพลังงานปลดปล่อยออกมา ในหิ่งห้อยตัว
เมีย บินไม่ได้แต่จะเกาะอยู่บนต้นไม้ เมื่อหิ่งห้อยตัวเมียปล่อยรหัสแสงออกมา ทา
ให้หิ่งห้อยตัวผู้เห็นและรู้ว่าเป็นชนิดเดียวกัน ตัวผู้จะบินไปหาและเกิดการรวมกลุ่ม
ผสมพันธุ์กันโดยไม่ผสมข้ามพันธุ์ เพราะรหัสแสงแต่ละชนิดจะมีลักษณะแตกต่าง
กันไปทาให้มีความเฉพาะเจาะจงของสิ่งมีชีวิตแต่ ละสปีชีส์
Behavior
Behavior
Behavior

More Related Content

What's hot

อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกWichai Likitponrak
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4mrtv3mrtv4
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม on-uma
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
wan
wanwan
wan
 
Evolution
Evolution Evolution
Evolution
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรม
 
เนื้อหาบท3
เนื้อหาบท3เนื้อหาบท3
เนื้อหาบท3
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 

Similar to Behavior

ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1Abhai Lawan
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12pon-pp
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioresupreechafkk
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์subhapit
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต Thitaree Samphao
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningunyaparn
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์pronjit.32
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์pronpron
 

Similar to Behavior (20)

พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
Animal behaviour53
Animal behaviour53Animal behaviour53
Animal behaviour53
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 

More from Nokko Bio

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายNokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงNokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายNokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนNokko Bio
 
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อNokko Bio
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อNokko Bio
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองNokko Bio
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการNokko Bio
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกNokko Bio
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสงNokko Bio
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกNokko Bio
 

More from Nokko Bio (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Ans sns
Ans snsAns sns
Ans sns
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสง
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 

Behavior

  • 1.
  • 2. พฤติกรรม (BEHAVIOR) ☞ก า ร ต อ บ ส น อ ง ข อ ง สิ ่ง ม ีช ีว ิต ต ่อ ก า ร เปลี่ย นแปลงของสภาพแวดล้อ ม ทั้ง ภายนอก ร่างกาย และภายในร่างกายเพื่อการอยู่รอด ☞พฤติก รรมจึง เป็น กลไกอย่า งหนึ ่ง ในการ รักษาดุลยภาพของร่างกาย (Homeostasis)
  • 3. การศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ ☃ พฤติกรรมของสัตว์ เกิดจากการ ประสานงานกันระหว่างระบบประสาท ระบบ กล้ามเนื้อ ระบบโครงกระดูก ระบบต่อมไร้ ท่อ และระบบต่อมมีท่อ
  • 4. การศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ 1. การศึกษาทางด้านสรีรวิทยา (physiological approach) 2. การศึกษาทางด้านจิตวิทยา (psychological approach)
  • 5. การศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ การศึกษาพฤติกรรมสัตว์ของนักพฤติกรรมศาสตร์ มี 2 วิธีคือ 1. การสารวจในธรรมชาติ ต้องใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ต้องมีการติดตามเฝ้าดู โดยไม่ให้สัตว์รู้ตัว 2. การศึกษาในห้องทดลอง เป็นการทดลองเพื่อศึกษาพื้นฐานของ ระบบประสาทในการแสดงพฤติกรรมต่างๆ
  • 6. พฤติกรรม (Behavior) การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตต่อการเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อม ทั้งภายนอกร่างกาย และภายในร่างกายเพื่อ การอยู่รอด Gene Behavior Environment
  • 7. สรุป พฤติกรรมของสัตว์เป็นผลจากการ ทางานร่วมกันระหว่างปัจจัยทางพันธุกรรม และสภาพแวดล้อม
  • 8. Gene - ควบคุมพฤติกรรมซึ่งพัฒนาให้เหมาะสม กับสภาพแวดล้อมโดย Natural selection - ควบคุมระดับการเจริญของ ระบบประสาท ฮอร์โมน กล้ามเนื้อ
  • 9. ขั้นตอนการเกิดพฤติกรรม : Integrated Stimulus Recepter (สิ่งเร้า) Center (หน่วยรับความรูสึก) ้ (สมอง, ไขสันหลัง) คาสั่ง Behavior Effector (หน่วยตอบสนอง) - พฤติกรรมจะสลับซับซ้อนมากหรือน้อยขึ้นกับระดับการเจริญของปัจจัยต่าง ๆ ในขั้นตอนการเกิดพฤติกรรมนี้
  • 10. พฤติกรรมจาแนกได้ออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ (โดยแสดงพฤติกรรมออกมาได้ในช่วงชีวิตของสิ่งมีชวต) ีิ 1. Innate Behavior : พฤติกรรมทีมีมาแต่กาเนิดและ ่ ไม่เปลี่ยนแปลง 2. Learned Behavior : พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ ปรับเปลี่ยนได้ขึ้นกับ Experience ในช่วงชีวิต
  • 11. Innate Behavior (Autometic responses to the environment) เป็นพฤติกรรมง่าย ๆ มีลักษณะเฉพาะตัวที่ใช้ในการ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าชนิดใดชนิดหนึ่ง และพฤติกรรมนี้สตว์ใน species ั เดียวกันจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างหนึ่งเหมือนกัน (FAP : Fixed - action pattern) ตัวอย่าง : การกลืนอาหาร, การตวัดลิ้นจับแมลง - พฤติกรรมนีได้มาจากกรรมพันธุเ์ ท่านัน ไม่จาเป็นต้องเรียนรูมาก่อน ้ ้ ้ - พบในสัตว์ชนต่าซึงมีระบบประสาทยังไม่เจริญดี เช่น Protozoa ั้ ่
  • 12. 1. Orientation : พฤติกรรมการวางตัวของสัตว์ซงจะเกียวข้องกับ ึ่ ่ การเคลื่อนที่แบ่งได้ 2 แบบ 1.1 Kinesis พฤติกรรมการเคลื่อนที่โดย ตอบสนองต่อสิ่งเร้าด้วยการเคลื่อนที่หนีหรือเข้าหา โดยไม่มทิศทาง ี เช่น Paramecium, Isopod (ตัวกะปิ)
  • 13. 1.2 Taxis พฤติกรรมการเคลื่อนที่เข้าหาสิ่งเร้า อย่างมีทศทางที่แน่นอน ิ เช่น หนอนแมลงวัน, เห็บ, ยุง - สัตว์จะต้องมี Sensory receptor ที่เหมาะสมกับสิ่งเร้า - ช่วยให้ให้สัตว์หาตาแหน่งของบ้านได้ถูกต้อง
  • 15.
  • 16.
  • 17. Learned Behavior Learning เป็นการเพิ่ม fitness (การอยู่รอดและ สืบพันธุ์) ให้แก่สัตว์ พฤติกรรมที่ต้องอาศัยประสบการณ์ที่มีในอดีตมา ปรับปรุงในพฤติกรรมที่เกิดขึ้น แบ่งออกได้ หลายแบบ ดังนี้
  • 18. 1. HABITUATION (ความเคยชิน) เป็นการลดภาระการตอบสนองของสัตว์ ทาให้ ประหยัดพลังงาน พฤติกรรมที่สัตว์เพิกเฉยที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้า ที่มิได้มีผลต่อการดารงชีวิตเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่ง เร้านั้นเป็นเวลานาน
  • 19.
  • 20. 2.Conditioning (การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข) เป็นพฤติกรรมทีสิ่งเร้าตัวหนึ่งเข้าแทนสิ่งเร้าที่ แท้จริง ่ (สิ่งเร้าเดิม) แล้วชักนาให้เกิดการตอบสนอง ชนิดเดียวกัน ตัวอย่าง หมา + เนื้อ( Stimulus I ) น้าลายไหล หมา + เสียงกระดิ่ง + เนื้อ( Stimulus II ) น้าลายไหล หมา + เสียงกระดิง ่ น้าลายไหล
  • 21. 3. Trial and Error : (การลองผิดลองถูก) ซับซ้อนมากกว่า Habituation เป็นพฤติกรรมทีสัตว์แสดงออกโดยบังเอิญ ่ แล้วถ้าได้รางวัลก็จะชักนาให้ทาพฤติกรรมเช่นนั้นอีก : การ ตอบสนอง (Response) ถูกต้องทาให้อยู่รอดและประสบผลสาเร็จ ในการสืบพันธุ์ - Reward (ให้รางวัล) - Punishment (การลงโทษ)
  • 22.
  • 23. 4. Imprinting (ความฝังใจ): การเรียนรู้ที่จากัดโดยเวลา เป็นพฤติกรรมที่สัตว์สามารถจดจาและผูกพันกับแม่หรือพ่อได้ พฤติกรรมความฝังใจนี้จะเป็นการทางานร่วมกันระหว่าง กรรมพันธุ์และการเรียนรู้ โดยกรรมพันธุ์จะเป็นตัวกาหนดช่วงเวลาที่ จาเป็น ซึ่งจะเกิดความฝังใจขึ้น ส่วนการเรียนรู้ความผูกพันระหว่าง สัตว์กับพ่อแม่หรือวัตถุที่จะทาให้เกิดความฝังใจขึ้น
  • 25. 5. Insight Learning (การรู้จักใช้เหตุผล) : เกิดในพวก Primates เป็นพฤติกรรมที่มการดัดแปลงมาจากการลองผิดลองถูก โดย ี การเรียนรู้นี้จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัตว์ตอบสนองได้ถูกต้องเลยใน ครั้งแรก สรุป Fixed-action pattern Insight (Innate) (Learned) มีเป้าหมาย เพิ่มโอกาสอยู่รอด + โอกาสสืบพันธุ์
  • 26. ดังนั้น Gene ควบคุมการเรียนรู้ สิ่งต่าง ๆ ด้วยวิธีการต่าง ๆ ให้ Fitness กับ Environment
  • 27. การสื่อสารระหว่างสัตว์ พฤติกรรมสื่อสารระหว่างสัตว์ (animal communication behavior) มีหลายลักษณะดังนี้ 1. การสื่อสารด้วยท่าทาง (visual communication) การสื่อสาร ด้วยท่าทาง พบได้ในสัตว์หลายชนิด เช่น การกระดิกหางของสุนัข แสดงการต้อนรับ และหางตกแสดงอาการกลัว
  • 28. การสื่อสารของผึ้ง ศึกษาและทดลองเมื่อปี พ.ศ. 2488 โดย คาร์ล ฟอน ฟริช (Karl von Frisch) แห่งมหาวิทยาลัยมิวนิค เยอรมันตะวันตก โดยฟริชพบว่าผึ้งสารวจ(scout honeybee) มี ความสามารถในการส่งข่าวให้ผึ้งงาน (worker) ทราบได้ว่าที่ใดมี อาหารและเป็นอาหารชนิดใด โดยที่ผึ้งสารวจจะนาอาหารมายังรังแล้ว หยอดอาหารนั้นให้ผึ้งในรังทราบต่อจากนั้นผึ้งสารวจจะเต้นราเพื่อ บอกระยะทางและทิศทางของอาหาร โดยเต้นราเป็น 2 แบบคือ
  • 29. 1. การเต้นราแบบวงกลม (round dance) เป็นการสื่อสารเพื่อให้ทราบว่าอาหารอยู่ใกล้กับรังในระยะ น้อยกว่า 100 เมตร
  • 30. 2. การเต้นราแบบส่ายท้อง (wagging dance) หรือการเต้นระบา แบบเลขแปด ซึ่งมีความซับซ้อนกว่าแบบแรกเพราะจะใช้ในการ สื่อสารบอกตาแหน่งของอาหารและระยะทางของอาหารได้ หลังจากที่ ผึ้งสารวจไปพบแหล่งอาหารจะกลับมารังแล้วเต้นระบาแบบส่ายท้อง หมุนไปทางขวาทีซ้ายทีเป็นรูปเลขแปด
  • 31.
  • 33. 2. การสื่อสารด้วยเสียง (SOUND COMMUNICATION) การสื่อสารด้วยเสียงเป็นการสื่อสารที่คุ้นพบมากในสัตว์ชั้นสูงทั่วๆไป และ ยังพบในแมลงด้วย 2.1 ใช้บอกชนิดของสัตว์ ซึ่งอยู่ในสปีชีส์เดียวกัน 2.2 ใช้บอกเพศว่าเป็นเพศผู้หรือเพศเมีย 2.3 ใช้บอกตาแหน่งของตนเองให้ทราบว่าอยู่ที่จุดใด 2.4 เป็นการประกาศเขตแดนให้สัตว์ตัวอื่นๆ รู้ 2.5 ใช้บอกสัญญาณเตือนภัยหรือข่มขู่ 2.6 ใช้บอกความรู้สึกต่างๆ และการเกี้ยวพาราสี
  • 34. ชนิดของเสียง 1. เสียงเรียกติดต่อ (contact calls) เป็นสัญญาณในการรวมกลุ่มของสัตว์ชนิด เดียวกัน เช่น แกะ สิงโตทะเล 2. เสียงเรียกเตือนภัย (warning calls) โดยเมื่อสัตว์ตัวหนึ่งพบว่าจะมีอันตราย เกิดขึ้นจะส่งเสียงร้องให้สัตว์ตัวอื่น ๆ ทราบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเช่น นก กระรอก 3. เสียงเรียกคู่ (mating calls) เช่น การร้องเรียกคู่ของกบตัวผู้ เพื่อเรียกตัวเมีย
  • 35. ชนิดของเสียง ให้เข้ามาผสมพันธุ์ การสีปีกของจิ้งหรีดตัวผู้รียกร้องความสนใจจากตัวเมีย การขยับปีกของยุงตัวเมีย เพื่อดึงดูดความสนใจของยุงตัวผู้ให้เข้ามาผสม พันธุ์ 4. เสียงกาหนดสถานที่ของวัตถุ (echolocation) เช่น ในโลมาและ ค้างคาวจะใช้ เสียงในการนาทางและหาอาหาร โดยปล่อยเสียงที่มีความถี่ สูงออกไป และรับเสียงสะท้อนที่เกิดตามมาและมันจะรู้ได้ว่าตาแหน่งของ วัตถุที่อยู่ข้างหน้าอยู่ที่ตาแหน่งใด
  • 36. 3. การสื่อสารด้วยการสัมผัส (TACTILE COMMUNICATION ) • การสัมผัสเป็นสื่อสาคัญอย่างหนึ่งของสัตว์ การอุ้มกอดซึ่งเป็นการ แสดงถึงความรัก ทารกจะมีพัฒนาการดี ถ้าหากแม่เลี้ยงลูกด้วย น้านมของแม่เอง ลูกได้รับการสัมผัส ได้รับความอบอุ่นจากแม่ • นักวิทยาศาสตร์กล่าว่า การสัมผัสโดยการโอบกอด จะทาให้หัวใจ สูบฉีดโลหิตดีขึ้น ทาให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ได้มากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งเซลล์บริเวณผิวหนังที่สัมผัสการ โอบกอดจะได้รับออกซิเจนมากขึ้น ทาให้ภูมิต้านทานโรคเพิ่มขึ้น ด้วย
  • 37. 4. การสื่อสารด้วยสารเคมี (CHEMICAL COMMUNICATION) 4.1 ฟีโรโมนที่ทาให้เกิดพฤติกรรมทันที (releaser pheromone) เช่น สารดึงดูดเพศตรงข้าม (sex attractants) เช่น ฟีโรโมนที่ ผีเสื้อไหมตัวเมียปล่อยออกมาเพื่อดึงดูดความสนใจของผีเสื้อไหมตัว ผู้ 4.2 ฟีโรโมนที่ไปกระตุ้น แต่ไม่เกิดพฤติกรรมทันที (primer pheromone) ฟีโรโมนชนิดนี้จะไปกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางสรีรวิทยา และเกิดพฤติกรรมในเวลาต่อมา เช่น ฟีโรโมนของ หนูตัวผู้ชักนาให้หนูตัวเมีย เป็นสัดและพร้อมที่จะผสมพันธุ์
  • 38. ฟีโรโมนของแมลงส่วนใหญ่เป็นสารพวกแอลกอฮอล์โมเลกุลสั้นๆ จึงระเหยไปในอากาศ ได้ดี จึงสามารถไปกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ ได้ฟีโรโมนที่สาคัญ ได้แก่ 1) ฟีโรโมนทางเพศ (sex pheromone) พบในแมลงหลายชนิด เช่น ผีเสื้อไหมตัวเมีย จะปล่อยสารแอลกอฮอล์เรียกว่า บอมบายโกล (Bombygol) เพื่อดึงดูดผีเสื้อไหมตัวผู้ให้มาหาและเกิดการผสมพันธุ์ ผีเสื้อไหมตัวผู้จะมีหนวด มีลักษณะเหมือนฟันหวีเป็นอวัยวะรับกลิ่น ฟีโรโมนชนิดนี้มีประสิทธิ์ภาพสูง ทาให้ดึงดูดเพศตรงข้ามได้แม้ว่าจะ อยู่ไกลๆ ในปัจจุบันมีการสังเคราะห์สาร เช่น ยู จีนอล (eugnol) ซึ่งเลียนแบบฟีโรโมนธรรมชาติ เพื่อดึงดูดแมลงวันทองหรือแมลงวัน ผลไม้ให้มารวมกันเพื่อกาจัดแมลงได้ครั้งละมากๆ
  • 39. 2) ฟีโรโมนปลุกระดม (aggregation pheromon) เป็นสารที่ใช้ ประโยชน์ ในการปลุกระดมให้มารวมกลุ่มกันเพื่อกินอาหารผสม พันธุ์หรือวางไข่ ในแหล่งที่เหมาะสม เช่น ด้วงที่ทาลายเปลือกไม้ (bark beetle) ปล่อยฟีโรโมนออกมา เพื่อรวมกลุ่มกันยังต้นไม้ที่ เป็นอาหารได้
  • 40. 3) ฟีโรโมนเตือนภัย (alarm pheromone) สารนี้จะปล่อยออกมา เมื่อมีอันตราย เช่น มีผู้บุกรุกผึ้งหรือต่อที่ทาหน้าที่เป็น ทหาร ยาม จะปล่อย สารเคมีออกมาให้ผึ้งหรือต่อในรังรู้ ผึ้งเมื่อต่อยผู้บุกรุกแล้วจะปล่อย สารเคมีเตือนภัยเรียกว่า ไอโซเอมิลแอซิเตต (isoamyl acetate) ไปให้ผึ้งตัวอื่นรู้เพื่อจะได้ช่วยกันต่อสู้ศัตรูที่บุกรุกเข้ามา
  • 41. 4) ฟีโรโมนตามรอย (trail rhermone) เช่น สุนัขจะ ปล่อยสารฟีโรโมนไปกับปัสสาวะตลอดทางที่ผ่านไป เพื่อเป็น เครื่องหมายนาทางและประกาศเขตแดน ผึ้งและมดจะผลิตสาร จากต่อมดูเฟอร์ (Dufour’s gland) ซึ่งอยู่ติดกับต่อม เหล็กในทาให้สามารถตามรอยไปยังแหล่งอาหารได้ ผึ้งยังใช้ สารที่สะสมจากดอกไม้เรียกว่า เจรานิ ออล (geraniol) เป็น สารในการตามรอยด้วย
  • 42. 5) ฟีโรโมนนางพญา (queen – substance pheromone) สารชนิดนี้ พบในแมลงสังคม (social insect) เช่น ผึ้ง ตัวต่อ แตน มด ปลวก สารชนิดนี้ทาหน้าที่ในการควบคุมสังคม ฟีโรโมนของนางพญาผึ้ง คือ สาร ที่มีฤทธิ์เป็นกรดคือ กรดคีโตเดเซโนอิก (keto – decenoic acid) สาร นี้จะปล่อยออกจากตัวนางพญา เมื่อผึ้งงานทาความสะอาดจะได้รับกลิ่นทาง หนวด และเมื่อเลียตัวนางพญาก็จะได้กินสารนี้ด้วย ทาให้ผึ้งงานเป็นหมัน และทางานตลอดไป นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เป็น ฟีโรโมนทางเพศ กระตุ้น ให้ผึ้งตัวผู้ผสมพันธุ์ และยังควบคุมไม่ให้ผึ้งงานผลิตผึ้งนางพญาตัวใหม่ ด้วย ดังนั้นรังผึ้งจึงมี นางพญาเพียงตัวเดียว
  • 43. ข้อควรทราบ สารเคมีที่ทาหน้าที่ในการป้องกันตัวช่วยให้ปลอดภัยเรียกว่า แอลโลโมน (allomone) เช่น ตัวสกั๊งจะปล่อยกลิ่นที่เหม็นมาก ออกจากต่อมทวารหนัก แมลงตดเมื่ออยู่ในภาวะอันตรายจะปล่อย สารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นกรด และมีกลิ่นเหม็นมากเพื่อป้องกันตัวทาให้ ศัตรูละทิ้งไป
  • 44. 5. การสื่อสารโดยใช้รหัสแสง (LUMINOUS COMMUNICATION) การสื่อสารแบบนี้ พบในสัตว์ที่มีกิจกรรมกลางคืน หรือในที่มีแสงน้อย เช่น ใต้ทะเลลึก ซึ่งไม่มีแสง (aphontic zone) สัตว์กลุ่มนี้ เช่น หิ่งห้อย จะมี กระบวนการไบโอลูมิเนสเซนซ์ (bioluminescence) โดยการทางานของ สารลูซิเฟอริน (luciferin) กับ แก๊สออกซิเจน และมีเอนไซม์ ลูซิเฟอเรส (luciferase) เป็นตัวเร่งปฎิกิริยาและมีพลังงานปลดปล่อยออกมา ในหิ่งห้อยตัว เมีย บินไม่ได้แต่จะเกาะอยู่บนต้นไม้ เมื่อหิ่งห้อยตัวเมียปล่อยรหัสแสงออกมา ทา ให้หิ่งห้อยตัวผู้เห็นและรู้ว่าเป็นชนิดเดียวกัน ตัวผู้จะบินไปหาและเกิดการรวมกลุ่ม ผสมพันธุ์กันโดยไม่ผสมข้ามพันธุ์ เพราะรหัสแสงแต่ละชนิดจะมีลักษณะแตกต่าง กันไปทาให้มีความเฉพาะเจาะจงของสิ่งมีชีวิตแต่ ละสปีชีส์