SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
20 กรกฎาคม 2561
By Mel Robbins
Publisher: Savio Republic (February 28, 2017)
The 5 Second Rule is a simple tool that undercuts most of the psychological
weapons your brain employs to keep you from taking action, which will allow
you to procrastinate less, live happier and reach your goals.
 Mel Robbins เป็น vlogger นักลงทุน ผู้ประพันธ์
หนังสือที่ขายดีที่สุด ได้รับรางวัล CNN Legal
Analyst และเป็น Contributing Editor ของ
นิตยสาร SUCCESS
 เธอเป็นที่รู้จักกันดีในการประดิษฐ์ กฎ 5 วินาที
(the 5 Second Rule) และบรรยายในรายการ
TEDx Talks ที่มีคนดูมากที่สุดในโลก
 วีดิทัศน์ของเธอบน www.melrobbins.com และ
บทความในสื่อต่างๆ เข้าถึงผู้ชมได้มากกว่า 10
ล้านคนต่อเดือน
A video blog or video log, usually shortened to vlog, is a form of blog for which the medium is video, and is a form of web
television.
สรุปโดยย่อ
 เรื่อง กฎ 5 วินาที นี้ เกี่ยวกับวิธีการเริ่มต้น
 การผัดวันประกันพรุ่ง เป็นการบอกว่า เรากลัวที่จะเริ่มต้นใช่
หรือไม่ ? Robbins คิดอย่างนั้น และเธอคิดว่า เป็นนิสัยที่เรา
สามารถเปลี่ยนแปลงได้
 เมื่อมีการนับถอยหลัง คุณขัดขวางความคิดที่ไม่ให้คุณดาเนินการ
 อาจใช้เวลาบ้างในการฝึกฝนตัวเองเพื่อใช้กฎนี้ แต่เมื่อคุณเริ่มใช้
มันแล้ว อาจเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพมาก ในการปรับปรุง
ตัวคุณเอง
เกริ่นนา
 ลองนึกดู พวกเราอาจเคย ผัดวันประกันพรุ่ง (procrastinating)
เป็นครั้งคราว
 ชีวิตของเรา ยุ่งอยู่กับการจัดลาดับความสาคัญ ดังนั้น เราจึงการ
เลื่อนทาในสิ่งที่เราทราบว่า จะต้องใช้เวลามาก ทั้งทางร่างกาย
อารมณ์ และสติปัญญา ออกไปก่อน
 การผัดวันประกันพรุ่งเป็นนิสัย ที่เราต้องต่อสู้เพื่อเอาชนะให้ได้
การผัดวันประกันพรุ่ง
 การผัดวันประกันพรุ่ง ไม่ได้การสะท้อนถึงเจตคติ จรรยาบรรณ
ในการทางาน หรือความสามารถของคุณ การผัดวันประกันพรุ่ง
เป็นการกระทาที่ตั้งใจ ช่วยให้เรารับมือกับความเครียด
 ตามธรรมชาติ ถ้าคุณเครียด คุณต้องการหลบหนีความเครียด
 ดังนั้นเราจึงทาในสิ่งที่สมเหตุสมผล เราพยายามที่จะหลีกเลี่ยง
ความเครียด และจะแสวงหาความพึงพอใจในระยะใกล้แทนที่
ทาให้คุณรู้สึกดี เพื่อหลีกเลี่ยงความเครียด
ความเครียด
 ดีเอ็นเอ (DNA) ในบรรพบุรุษของเรา มีการวิวัฒนาการให้พ้นจาก
สภาพแวดล้อมที่มีความเครียด เพื่อช่วยให้เรามีโอกาสในการมี
ชีวิตอยู่รอด
 ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่เราต้องทา การทางาน ความสัมพันธ์ หรือ
สุขภาพของเรา การผัดวันประกันพรุ่ง เป็นหนึ่งกลไกในการ
เผชิญปัญหา ไม่แตกต่างจากสิ่งที่คุณทาในวันนี้ เมื่อคุณหันมา
สนใจกับ Facebook หรือ YouTube แทนการทางานหนัก
 ไม่ใช่งานที่เราหลีกเลี่ยง แต่เป็นความเครียดที่เชื่อมโยงกับงาน
กฎนี้ ทางานได้ผลได้อย่างไร
 กฎนี้ ง่ายอย่างไม่น่าเชื่อ และตรงไปตรงมา แต่อย่าเข้าใจผิด
เพราะ กฎ 5 วินาที ทางานได้โดย
 1. สิ่งแรกที่ต้องทาคือการยอมรับว่าคุณเครียด (The very first
thing to do is to acknowledge that you're stressed)
 2. ตัดสินใจในห้าวินาที ทาตรงกันข้ามกับการตอบสนองต่อ
ความเครียด (Make a five-second decision that is directly
contrary to the stress response)
1. สิ่งแรกที่ต้องทาคือการยอมรับว่าคุณเครียด
 ไม่ต้องวิเคราะห์ หรือแยกแยะ
 เพียงแค่ยอมรับว่าสิ่งที่คุณกาลังเผชิญ ว่าไม่ใช่ความผิดพลาด
ความบกพร่อง หรือไม่มีความสามารถ แต่เป็นการตอบสนองต่อ
ความเครียด และเป็นตัวขับเคลื่อนการตัดสินใจของคุณ
 เป็นการลดแรงกดดัน และช่วยให้ prefrontal cortex ในสมองของ
คุณ มีบทบาทในการตัดสินใจต่อไป
2. ตัดสินใจในห้าวินาที ตรงข้ามกับการตอบสนองต่อความเครียด
 Robbins เรียก การตัดสินใจอย่างกล้าหาญ (decision of courage)
"เมื่อคุณกระทาด้วยความกล้าหาญ สมองของคุณไม่ได้เกี่ยวข้อง
แต่หัวใจของคุณพูดก่อนและคุณฟัง"
 แทนที่จะพยายามลดความเครียดโดยคิดว่า "ฉันจะรับมือกับมัน
ได้อย่างไร?" ให้ทาตรงข้าม และตัดสินใจที่จะใช้เวลาห้านาที
ถัดไป ในการทากับสิ่งที่คุณกลัวที่จะทา
ห้าวินาที
 เวลาห้าวินาที เป็นสิ่งสาคัญในการกระตุ้นสมองส่วนที่ทางานได้
อย่างรวดเร็ว รวมถึงการจากัดการทางานส่วนของสมองที่ทาให้
ช้าลง เพื่อ ตัดสินใจและปฏิบัติ (Decide and Act)
 ฟังดูง่ายใช่หรือไม่? เป็นเช่นเดียวกับสิ่งอื่นๆ ในชีวิต ที่ต้องการ
จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมพื้นฐาน ซึ่งต้องใช้เวลาในการสร้าง
นิสัยใหม่
 กุญแจสาคัญคือ การกระตุ้นแล้วทา ไม่ใช่กระตุ้นแล้วคิดเกี่ยวกับ
การทา (activate and then do, not activate and then think about
doing)
เผชิญกับความเครียด
 ถ้าต้องโทรศัพท์ หยิบโทรศัพท์และโทรออก หากเป็นการเขียน
ให้ตัดสินใจที่จะเขียนสิ่งที่คุณทาได้ภายในห้านาทีถัดไป มัน
อาจจะจบลงอย่างไร้ความหมายและถูกโยนทิ้ง หรือมันอาจจะดูดี
มากก็ได้
 มันไม่สาคัญหรอก เพราะตราบเท่าที่คุณตัดสินใจในห้าวินาที ที่
จะกระทาห้านาที คุณได้ทาลายวงจรและพิสูจน์ให้เห็นว่า คุณ
สามารถเผชิญหน้ากับความเครียดได้
3 บทเรียนที่ทาให้แนวคิดในการนับถอยหลัง 5 วินาทีนี้ เหมาะ
สาหรับคุณ
 1. ด้วยการกระทาเล็กๆ น้อยๆ ที่กล้าหาญ กฎ 5 วินาที ทาให้
คุณรู้สึกกลัวน้อยลง เมื่อเวลาผ่านไป
 2. มีเหตุผลสามประการที่ "เวลาที่เหมาะสม (right time)" จะไม่
เกิดขึ้น ดังนั้นคุณต้องเริ่มต้น
 3. กฎ 5 วินาที ช่วยในการแทนที่ความรู้สึกของคุณ ซึ่งเป็น
ยุทธวิธีที่เรียกว่า การแทรกแซงทางจิตวิทยา (psychological
intervention)
บทเรียนที่ 1: กฎ 5 วินาที สร้างความกล้าหาญ เช่นเดียวกับการ
สะสมดอกเบี้ย
 เมื่อเราอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของวีรบุรุษใน
ประวัติศาสตร์ เรามักจะเห็นผู้คนที่กล้าหาญเป็นพิเศษ
 ในความจริง พวกเขาขี้อาย กังวล และกลัวเช่นกัน เพียงแต่ว่า
ตลอดชีวิตของพวกเขา พวกเขาทาสิ่งเล็กน้อยที่กล้าหาญจานวน
มาก ซึ่งจะเพิ่มขึ้นเป็นทั้งหมดที่เราจาได้
Rosa Parks และ Martin Luther King Jr.
 ผู้ประพันธ์ใช้กรณีของ Rosa Parks เป็นตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1
ธันวาคม ค.ศ. 1955 เธอปฏิเสธที่จะลุกขึ้น "ที่นั่งสาหรับคนผิว
สี" ให้กับคนผิวขาวบนรถบัส เธอถูกจับกุม และสี่วันต่อมา ได้มี
นักเทศน์รุ่นเยาว์ มาช่วยจัดระเบียบการประท้วง
 เขาไม่ได้คิดมากและตกลงที่จะเป็นผู้นา ชื่อของนักเทศน์คนนั้น
คือ Martin Luther King Jr.
ชีวิตที่กล้าหาญ
 ทั้งสองคนไม่ทราบว่าการกระทาของพวกเขาจะออกมาเป็นเช่นไร
 ความรู้สึกของพวกเขาบอกพวกเขาว่า ต้องทาอย่างใดอย่างหนึ่ง
ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง และเอาชนะได้ด้วยแรงกระตุ้น
 จากความกล้าหาญเล็ก ๆ น้อย ๆ แต่ละครั้ง ทาให้มีความกล้า
หาญมากขึ้น
 มันเป็นส่วนประกอบหนึ่งและหวังว่าเมื่อคุณแก่แล้ว คุณสามารถ
มองย้อนกลับไปในชีวิตที่กล้าหาญได้
บทที่ 2: คุณไม่ต้องรอ "เวลาที่เหมาะสม (the right time)"
เนื่องจากจะไม่มีวันเกิดขึ้น เพราะเหตุผลสามประการ
 ก่อนอื่น มีข้อเท็จจริงทั่วไปสองข้อคือ หนึ่ง เราทุกคนต้องการ
เปลี่ยนแปลงชีวิตของเราทางใดทางหนึ่ง และสอง เราใช้เวลา
ส่วนใหญ่ รอการเปลี่ยนแปลงที่น่าจะเกิดขึ้ นได้อย่างอัศจรรย์
เวลาที่เหมาะสม
 ข้อแก้ตัวของเราเหมือนกันคือ "ฉันกาลังรอเวลาที่เหมาะสม"
แน่นอน ลึกลงไปในใจ เรารู้ว่า ช่วงเวลาที่ว่านั้นอาจจะไม่มีทาง
มาถึง ผู้ประพันธ์บอกเราว่าทาไมถึงเป็นเช่นนั้น
 เธอเรียกว่า สามเหตุผล (three reasons) คือ
 1. การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งใหม่เสมอ (Change is always new)
 2. มันมักจะมาพร้อมกับความไม่แน่นอน (It always comes
with uncertainty)
 3. มันน่ากลัวเสมอ (It’s always scary)
การรอคอย
 สิ่งที่คุณต้องการ จะต้องทาสิ่งใหม่ ที่น่ากลัว และไม่แน่นอน ซึ่ง
ทาให้การรอคอยแม้แต่หนึ่งวัน ก็จะไม่มีอะไรเกิดขึ้น และเป็น
การเสียเวลา
 นั่นเป็นเหตุผลที่ กฎ 5 วินาที สามารถเป็นเพื่อนสนิทของคุณได้
 แม้ว่าการกระทาครั้งแรกที่คุณทามีขนาดเล็กน้อย เช่นการค้นหา
ใน Google หรือการตั้งค่าการแจ้งเตือนในโทรศัพท์ของคุณ ก็เป็น
การกระทาที่เพียงสิ่งเดียวที่สาคัญ
บทเรียนที่ 3: ความรู้สึกเป็นเพียงคาแนะนา ซึ่งเป็นเหตุผลที่คุณควรใช้
การแทรกแซงทางจิตวิทยาแทนที่
 เราต้องกล้าที่จะไม่ต้องรอ แต่ทาไมคนเรามักจะรอนานมากๆ ? เพื่อ
ตอบคาถามนี้ ผู้ประพันธ์อ้างผลงานของนักประสาทวิทยาชื่อดังคือ
Antonio Damasio
 ในหนังสือชื่อ Descartes 'Error เขากล่าวถึงผลการวิจัยของเขาที่
ชี้ให้เห็นว่า 95% ของการตัดสินใจของเรา ถูกตัดสินโดยความรู้สึก
ไม่ใช่ข้อเท็จจริง ดังนั้นเขาจึงเรียกคนเราว่าเป็น "เครื่องจักรมี
ความรู้สึกที่คิดเป็น ไม่ใช่เครื่องจักรคิดเป็นที่มีความรู้สึก (feeling
machines that think, not thinking machines that feel)"
ไม่รู้สึกเช่นนั้น
 กล่าวอีกนัยหนึ่ง ลาดับของเหตุการณ์ที่มักจะไม่ได้คิดแล้วทา แต่
รู้สึกแล้วจึงทา ดังนั้น เหตุผลง่ายๆ ที่เรามักจะไม่ได้ทา คือการที่
เรา "ไม่รู้สึกเช่นนั้น (don’t feel like it)"
 เพื่อแก้ปัญหานี้ นักกีฬามืออาชีพจะพิจารณาคาแนะนาจาก
ความรู้สึกมากกว่าผลที่ดีที่สุด ซึ่งจะช่วยให้พวกเขาใช้แทนที่ได้
นี่เป็น กฎ 5 วินาที และเป็นแรงผลักดันต่อเป้ าหมายของพวกเขา
การแทรกแซงทางจิตวิทยา
 หากคุณเคยคิดว่าคุณไม่สามารถวิ่ง ว่ายน้า หรือขี่จักรยานได้
ต่อไปอีก (เนื่องจากหมดแรง) แต่คุณก็ยังทามันได้ คุณทราบดีว่า
มันเป็นไปได้
 สิ่งที่คุณกาลังทาอยู่นั้นเรียกว่า การแทรกแซงทางจิตวิทยา
(psychological intervention) ในระดับที่เล็กมาก คุณได้เปลี่ยน
พฤติกรรมของคุณ เพื่อส่งผลกระทบต่อความรู้สึกของคุณ
 เลือกพฤติกรรมที่ดี แล้วความรู้สึกที่ดีจะตามมา
 พร้อมหรือยัง? 5 ... 4 ... 3 ... 2 ... 1 ปฏิบัติ!
ผลักดันตนเอง
 ตลอดช่วงชีวิตของคุณ คุณมีพ่อแม่ ครูฝึก ครู เพื่อน และพี่เลี้ยง ที่
คอยผลักดันให้คุณดีขึ้นกว่าเดิม มากกว่าข้อแก้ตัว และใหญ่กว่าความ
กลัวของคุณ
 กฎ 5 วินาที เป็นวิธีแก้ปัญหาแบบง่ายๆ ที่เหมาะสาหรับทุกปัญหาที่
เราเผชิญทั้งหมด
 ความลับคือ ไม่รู้ว่าจะต้องทาอย่างไร แต่รู้วิธีทาให้ตัวเองทาได้ (isn’t
knowing what to do—it’s knowing how to make yourself do it)
ประโยชน์ของ กฎ 5 วินาที คือ
 ทาให้มั่นใจ
 เลิกนิสัยผัดวันประกันพรุ่งและความสงสัยในตนเอง
 เอาชนะความกลัวและความไม่แน่นอน
 หยุดกังวล และรู้สึกมีความสุขมากขึ้น
 แบ่งปันความคิดของคุณด้วยความกล้าหาญ
กฎง่าย ๆ
 ขณะที่คุณมีสัญชาตญาณในการดาเนินการตามเป้ าหมายที่คุณ
ต้องทา ให้ทาในทันที (หรือภายในห้าวินาที) ก่อนที่สมองของคุณ
จะเริ่มเอนเอียงไปทางการผัดวันประกันพรุ่ง
 เทคนิคนี้ ช่วยให้สมองของคุณขจัดความสงสัย ความกลัว และ
อารมณ์ที่ขัดขวางคุณจากการกระทา
 เมื่อคุณเริ่มใช้ กฎ 5 วินาที อย่างถูกต้องแล้ว สิ่งเหล่านี้ จะ
กลายเป็น 5 นาที 5 ชั่วโมง 5 วัน จนกว่าคุณจะเสร็จสิ้นภารกิจ
เริ่มนับถอยหลัง
 Robbins อธิบายถึงวิธีการใช้ กฎ 5 วินาที ในบล็อกของเธอว่า
"เริ่มนับถอยหลังด้วยตัวคุณเอง 5-4-3-2-1 แล้วปฏิบัติ ....
เมื่อคุณเริ่มนับถอยหลัง คุณจะขัดจังหวะนิสัยของการคิดมาก
เกินไป คุณยืนยันการควบคุม คุณเน้นตัวเองในการดาเนินการ
ใหม่ และคุณเปิดใช้งานส่วนที่แตกต่างกันของสมองของคุณ "
 Robbins ยังกล่าวว่า การนับถอยหลัง จะทาให้สมองที่รับรอง
พฤติกรรมการผัดวันประกันพรุ่ง ปรับเปลี่ยนรูปแบบความคิด
ใหม่
สรุป
 วิธีเดียวที่จะต่อสู้กับนิสัยที่ไม่ดีคือ การเต็มใจที่จะทนทุกข์ทรมาน
ภายในห้าวินาทีแรก ก่อนที่ทุกสิ่งทุกอย่างจะจางลง
 หากคุณเรียนรู้วิธีรับมือกับปัญหาเบื้องต้นเหล่านี้ คุณจะได้รับ
ผลตอบแทนที่คุ้มค่า ในชีวิตส่วนตัวและอาชีพของคุณ
 เป็นความคิดที่เรียบง่าย ฟังแล้วไร้สาระ แต่ก็ได้ผลดี
—Mel Robbins
สามกลเม็ด
 ต่อไปนี้ คือสามสิ่งที่คุณสามารถเรียนรู้จาก กฎ 5 วินาที ซึ่งจะ
เพิ่มประสิทธิภาพการทางานของคุณ และลดการ
ผัดวันประกันพรุ่ง คือ
 1. นับถอยหลังเริ่มต้นที่ห้า (Count backward starting at five)
 2. ดาเนินการ (Take action)
 3. กล้าได้กล้าเสีย (Be courageous)
1. คุณสามารถนับถอยหลังเริ่มตั้งที่ห้า
 การดาเนินการนี้ จะทาให้คุณรู้จุดสิ้นสุด ซึ่งจะทาให้คุณต้อง
รับผิดชอบในการดาเนินการทันที
 "คุณจาเป็นต้องรู้สึกกลัว และ 5-4-3-2-1 ทามันซะ"
2. ดาเนินการ
 การผัดวันประกันพรุ่งและการล่าช้าที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ จะเป็นนิสัย
ที่พอกพูนขึ้น เมื่อเวลาผ่านไป
 ผู้นาที่ประสบความสาเร็จ คานวณชัยชนะของพวกเขา อันเป็นผล
มาจากชัยชนะเล็ก ๆ ในแต่ละวัน
 Robbins กล่าวเสริมว่า "เมื่อคุณทาไปเรื่อยๆ มันจะง่ายขึ้น"
3. กล้าได้กล้าเสีย
 การผัดวันประกันพรุ่ง เป็นผลโดยตรงจากความกังวลอย่าง
ต่อเนื่อง และการพูดถึงตนเองเชิงลบ
 Robbins กล่าวว่า "ในการปรับปรุงสิ่งใด คุณต้องมีความกล้าหาญ
ที่จะทดลองทา"
– Mel Robbins
ต่อไปนี้ เป็นเคล็ดลับเพื่อให้คุณจัดลาดับความสาคัญของงาน ที่
จาเป็นต่อเป้ าหมายระยะยาว
 1. อดทนต่อความรู้สึกไม่สุขสบาย (Savor the discomfort)
 2. ซอยขั้นตอนออกเป็นเล็ก ๆ (Take baby steps)
 3. หลีกเลี่ยงตัวรบกวน (Stay away from distractions)
 4. ระลึกถึงเป้ าประสงค์ของคุณ (Reflect on your goals)
 5. ไม่ทางานหลายรายการพร้อมกัน (Stop multitasking)
1. อดทนต่อความรู้สึกไม่สุขสบาย
 การกระทาครั้งแรกอาจรู้สึกเจ็บปวด (พูดด้วยอารมณ์) ให้
ยอมรับว่า มันเป็นสิ่งที่คุณไม่ต้องการทาหรือหลีกเลี่ยง เพราะ
ความเครียด
 เตือนตัวเองว่า ความสาเร็จอันยิ่งใหญ่ทุกประการ ต้องมีการ
เสียสละและการทางานอย่างหนัก คุณจะไม่มีวันได้ลิ้มรส
ความสาเร็จ หากคุณไม่ได้ออกจากเขตสบาย ๆ ของคุณ หลังจาก
เอาชนะส่วนที่ยากลาบาก มีรางวัลที่ยิ่งใหญ่กว่ารออยู่
2. ซอยขั้นตอนออกเป็นเล็ก ๆ
 แม้แต่นักกีฬาโอลิมปิก และหน่วยซีลของกองทัพเรือสหรัฐ ก็ยัง
ต้องพึ่งพาขั้นตอนเล็ก ๆ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายที่ยิ่งใหญ่ และ
ก้าวออกจากโซนความสะดวกสบายของพวกเขา
 นั่นเป็นเพราะการวิจัยของ Harvard ชี้ให้เห็นว่า การทาให้
เป้ าหมายของคุณลดลงในขั้นตอนเล็ก ๆ ทุกวัน เป็นวิธีที่ง่าย
ที่สุด ในการเข้าถึงความสาเร็จที่ยิ่งใหญ่เหล่านั้น
 และมันง่ายมาก ที่จะทาให้การก้าวกระโดดครั้งแรก ที่ทาให้คุณ
ไม่ต้องคิดถึงเป้ าหมายที่ยิ่งใหญ่
3. หลีกเลี่ยงตัวรบกวน
 ตัวรบกวนมีทุกหนทุกแห่ง บางครั้งก็ปลอมตัวเป็นกิจกรรมที่ดู
เหมือนคุ้มค่า แล้วมันจะใช้เวลาอันมีค่าของคุณ แลกกับสิ่งไม่มี
ประโยชน์อะไร
 อย่าใช้เวลาส่วนใหญ่กับสิ่งต่างๆ ที่ไม่ได้นาคุณเข้าใกล้เป้ าหมาย
สาคัญถัดไปของคุณ
 ถ้าทาได้ ทิ้งไป หรือปิดสิ่งนั้นเสีย
4. ระลึกถึงเป้ าประสงค์ของคุณ
 ในช่วงเวลาที่คุณยังไม่สามารถทาให้ตัวเองลุกขึ้นทาอะไรได้ ไม่มี
ทางออกที่ดีกว่า การเตือนตัวเองถึงเป้ าหมายที่รอคุณอยู่
 เนื่องจากคุณได้กาหนดชนิดของคนที่คุณต้องการจะเป็น และ
จานวนของความสาเร็จที่คุณต้องการบรรลุ คุณมีเหตุผลมาก
พอที่จะกระทา
 โปรดจาไว้ว่า หากคุณไม่ได้กระทาในขณะนี้ หรือภายใน 5 วินาที
นี้ คุณจะยังคงเป็นบุคคลเดียวกันกับคุณเมื่อวานนี้ เว้นแต่คุณจะ
ทาอะไรบางอย่างเกี่ยวกับเรื่องนี้
5. ไม่ทางานหลายรายการพร้อมกัน
 การมีสิ่งต่างๆ หลายรายการที่ต้องทาเป็นสิ่งที่ดี แต่ก็ไม่ได้
หมายความว่า คุณต้องทาทั้งหมดในเวลาเดียวกัน
 การทางานหลายอย่าง ทาให้คุณต้องแบ่งความสนใจของคุณ ทา
ให้เกิดความยุ่งยากในกระบวนการคิดของคุณ
 ถ้าคุณต้องการทาสิ่งต่างๆ ให้เลือกทาสิ่งหนึ่งต่อครั้ง อย่า
พยายามทาหลายสิ่งหลายอย่าง เพราะคุณจะทาอะไรไม่สาเร็จ
เลย
Buddha

More Related Content

Similar to กฎ 5 วินาที 5 second rule

บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์bussaba_pupa
 
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss maruay songtanin
 
Design Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptxDesign Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptxMadameMimNattiya1
 
เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
 เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdfmaruay songtanin
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จmarkable33
 
หลักการเบื้องต้นของการแก้ปัญหา
หลักการเบื้องต้นของการแก้ปัญหาหลักการเบื้องต้นของการแก้ปัญหา
หลักการเบื้องต้นของการแก้ปัญหาNalatporn
 

Similar to กฎ 5 วินาที 5 second rule (12)

บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
 
Design Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptxDesign Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptx
 
เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
 เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
 
The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
 
หลักการเบื้องต้นของการแก้ปัญหา
หลักการเบื้องต้นของการแก้ปัญหาหลักการเบื้องต้นของการแก้ปัญหา
หลักการเบื้องต้นของการแก้ปัญหา
 
7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)
 
สาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียดสาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียด
 
Yyam.mmook
Yyam.mmookYyam.mmook
Yyam.mmook
 
คู่มือดับทุกข์
คู่มือดับทุกข์คู่มือดับทุกข์
คู่มือดับทุกข์
 

More from maruay songtanin

200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

กฎ 5 วินาที 5 second rule

  • 2. By Mel Robbins Publisher: Savio Republic (February 28, 2017) The 5 Second Rule is a simple tool that undercuts most of the psychological weapons your brain employs to keep you from taking action, which will allow you to procrastinate less, live happier and reach your goals.
  • 3.  Mel Robbins เป็น vlogger นักลงทุน ผู้ประพันธ์ หนังสือที่ขายดีที่สุด ได้รับรางวัล CNN Legal Analyst และเป็น Contributing Editor ของ นิตยสาร SUCCESS  เธอเป็นที่รู้จักกันดีในการประดิษฐ์ กฎ 5 วินาที (the 5 Second Rule) และบรรยายในรายการ TEDx Talks ที่มีคนดูมากที่สุดในโลก  วีดิทัศน์ของเธอบน www.melrobbins.com และ บทความในสื่อต่างๆ เข้าถึงผู้ชมได้มากกว่า 10 ล้านคนต่อเดือน A video blog or video log, usually shortened to vlog, is a form of blog for which the medium is video, and is a form of web television.
  • 4. สรุปโดยย่อ  เรื่อง กฎ 5 วินาที นี้ เกี่ยวกับวิธีการเริ่มต้น  การผัดวันประกันพรุ่ง เป็นการบอกว่า เรากลัวที่จะเริ่มต้นใช่ หรือไม่ ? Robbins คิดอย่างนั้น และเธอคิดว่า เป็นนิสัยที่เรา สามารถเปลี่ยนแปลงได้  เมื่อมีการนับถอยหลัง คุณขัดขวางความคิดที่ไม่ให้คุณดาเนินการ  อาจใช้เวลาบ้างในการฝึกฝนตัวเองเพื่อใช้กฎนี้ แต่เมื่อคุณเริ่มใช้ มันแล้ว อาจเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพมาก ในการปรับปรุง ตัวคุณเอง
  • 5. เกริ่นนา  ลองนึกดู พวกเราอาจเคย ผัดวันประกันพรุ่ง (procrastinating) เป็นครั้งคราว  ชีวิตของเรา ยุ่งอยู่กับการจัดลาดับความสาคัญ ดังนั้น เราจึงการ เลื่อนทาในสิ่งที่เราทราบว่า จะต้องใช้เวลามาก ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ และสติปัญญา ออกไปก่อน  การผัดวันประกันพรุ่งเป็นนิสัย ที่เราต้องต่อสู้เพื่อเอาชนะให้ได้
  • 6. การผัดวันประกันพรุ่ง  การผัดวันประกันพรุ่ง ไม่ได้การสะท้อนถึงเจตคติ จรรยาบรรณ ในการทางาน หรือความสามารถของคุณ การผัดวันประกันพรุ่ง เป็นการกระทาที่ตั้งใจ ช่วยให้เรารับมือกับความเครียด  ตามธรรมชาติ ถ้าคุณเครียด คุณต้องการหลบหนีความเครียด  ดังนั้นเราจึงทาในสิ่งที่สมเหตุสมผล เราพยายามที่จะหลีกเลี่ยง ความเครียด และจะแสวงหาความพึงพอใจในระยะใกล้แทนที่ ทาให้คุณรู้สึกดี เพื่อหลีกเลี่ยงความเครียด
  • 7. ความเครียด  ดีเอ็นเอ (DNA) ในบรรพบุรุษของเรา มีการวิวัฒนาการให้พ้นจาก สภาพแวดล้อมที่มีความเครียด เพื่อช่วยให้เรามีโอกาสในการมี ชีวิตอยู่รอด  ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่เราต้องทา การทางาน ความสัมพันธ์ หรือ สุขภาพของเรา การผัดวันประกันพรุ่ง เป็นหนึ่งกลไกในการ เผชิญปัญหา ไม่แตกต่างจากสิ่งที่คุณทาในวันนี้ เมื่อคุณหันมา สนใจกับ Facebook หรือ YouTube แทนการทางานหนัก  ไม่ใช่งานที่เราหลีกเลี่ยง แต่เป็นความเครียดที่เชื่อมโยงกับงาน
  • 8. กฎนี้ ทางานได้ผลได้อย่างไร  กฎนี้ ง่ายอย่างไม่น่าเชื่อ และตรงไปตรงมา แต่อย่าเข้าใจผิด เพราะ กฎ 5 วินาที ทางานได้โดย  1. สิ่งแรกที่ต้องทาคือการยอมรับว่าคุณเครียด (The very first thing to do is to acknowledge that you're stressed)  2. ตัดสินใจในห้าวินาที ทาตรงกันข้ามกับการตอบสนองต่อ ความเครียด (Make a five-second decision that is directly contrary to the stress response)
  • 9. 1. สิ่งแรกที่ต้องทาคือการยอมรับว่าคุณเครียด  ไม่ต้องวิเคราะห์ หรือแยกแยะ  เพียงแค่ยอมรับว่าสิ่งที่คุณกาลังเผชิญ ว่าไม่ใช่ความผิดพลาด ความบกพร่อง หรือไม่มีความสามารถ แต่เป็นการตอบสนองต่อ ความเครียด และเป็นตัวขับเคลื่อนการตัดสินใจของคุณ  เป็นการลดแรงกดดัน และช่วยให้ prefrontal cortex ในสมองของ คุณ มีบทบาทในการตัดสินใจต่อไป
  • 10. 2. ตัดสินใจในห้าวินาที ตรงข้ามกับการตอบสนองต่อความเครียด  Robbins เรียก การตัดสินใจอย่างกล้าหาญ (decision of courage) "เมื่อคุณกระทาด้วยความกล้าหาญ สมองของคุณไม่ได้เกี่ยวข้อง แต่หัวใจของคุณพูดก่อนและคุณฟัง"  แทนที่จะพยายามลดความเครียดโดยคิดว่า "ฉันจะรับมือกับมัน ได้อย่างไร?" ให้ทาตรงข้าม และตัดสินใจที่จะใช้เวลาห้านาที ถัดไป ในการทากับสิ่งที่คุณกลัวที่จะทา
  • 11. ห้าวินาที  เวลาห้าวินาที เป็นสิ่งสาคัญในการกระตุ้นสมองส่วนที่ทางานได้ อย่างรวดเร็ว รวมถึงการจากัดการทางานส่วนของสมองที่ทาให้ ช้าลง เพื่อ ตัดสินใจและปฏิบัติ (Decide and Act)  ฟังดูง่ายใช่หรือไม่? เป็นเช่นเดียวกับสิ่งอื่นๆ ในชีวิต ที่ต้องการ จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมพื้นฐาน ซึ่งต้องใช้เวลาในการสร้าง นิสัยใหม่  กุญแจสาคัญคือ การกระตุ้นแล้วทา ไม่ใช่กระตุ้นแล้วคิดเกี่ยวกับ การทา (activate and then do, not activate and then think about doing)
  • 12. เผชิญกับความเครียด  ถ้าต้องโทรศัพท์ หยิบโทรศัพท์และโทรออก หากเป็นการเขียน ให้ตัดสินใจที่จะเขียนสิ่งที่คุณทาได้ภายในห้านาทีถัดไป มัน อาจจะจบลงอย่างไร้ความหมายและถูกโยนทิ้ง หรือมันอาจจะดูดี มากก็ได้  มันไม่สาคัญหรอก เพราะตราบเท่าที่คุณตัดสินใจในห้าวินาที ที่ จะกระทาห้านาที คุณได้ทาลายวงจรและพิสูจน์ให้เห็นว่า คุณ สามารถเผชิญหน้ากับความเครียดได้
  • 13. 3 บทเรียนที่ทาให้แนวคิดในการนับถอยหลัง 5 วินาทีนี้ เหมาะ สาหรับคุณ  1. ด้วยการกระทาเล็กๆ น้อยๆ ที่กล้าหาญ กฎ 5 วินาที ทาให้ คุณรู้สึกกลัวน้อยลง เมื่อเวลาผ่านไป  2. มีเหตุผลสามประการที่ "เวลาที่เหมาะสม (right time)" จะไม่ เกิดขึ้น ดังนั้นคุณต้องเริ่มต้น  3. กฎ 5 วินาที ช่วยในการแทนที่ความรู้สึกของคุณ ซึ่งเป็น ยุทธวิธีที่เรียกว่า การแทรกแซงทางจิตวิทยา (psychological intervention)
  • 14. บทเรียนที่ 1: กฎ 5 วินาที สร้างความกล้าหาญ เช่นเดียวกับการ สะสมดอกเบี้ย  เมื่อเราอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของวีรบุรุษใน ประวัติศาสตร์ เรามักจะเห็นผู้คนที่กล้าหาญเป็นพิเศษ  ในความจริง พวกเขาขี้อาย กังวล และกลัวเช่นกัน เพียงแต่ว่า ตลอดชีวิตของพวกเขา พวกเขาทาสิ่งเล็กน้อยที่กล้าหาญจานวน มาก ซึ่งจะเพิ่มขึ้นเป็นทั้งหมดที่เราจาได้
  • 15. Rosa Parks และ Martin Luther King Jr.  ผู้ประพันธ์ใช้กรณีของ Rosa Parks เป็นตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1955 เธอปฏิเสธที่จะลุกขึ้น "ที่นั่งสาหรับคนผิว สี" ให้กับคนผิวขาวบนรถบัส เธอถูกจับกุม และสี่วันต่อมา ได้มี นักเทศน์รุ่นเยาว์ มาช่วยจัดระเบียบการประท้วง  เขาไม่ได้คิดมากและตกลงที่จะเป็นผู้นา ชื่อของนักเทศน์คนนั้น คือ Martin Luther King Jr.
  • 16. ชีวิตที่กล้าหาญ  ทั้งสองคนไม่ทราบว่าการกระทาของพวกเขาจะออกมาเป็นเช่นไร  ความรู้สึกของพวกเขาบอกพวกเขาว่า ต้องทาอย่างใดอย่างหนึ่ง ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง และเอาชนะได้ด้วยแรงกระตุ้น  จากความกล้าหาญเล็ก ๆ น้อย ๆ แต่ละครั้ง ทาให้มีความกล้า หาญมากขึ้น  มันเป็นส่วนประกอบหนึ่งและหวังว่าเมื่อคุณแก่แล้ว คุณสามารถ มองย้อนกลับไปในชีวิตที่กล้าหาญได้
  • 17. บทที่ 2: คุณไม่ต้องรอ "เวลาที่เหมาะสม (the right time)" เนื่องจากจะไม่มีวันเกิดขึ้น เพราะเหตุผลสามประการ  ก่อนอื่น มีข้อเท็จจริงทั่วไปสองข้อคือ หนึ่ง เราทุกคนต้องการ เปลี่ยนแปลงชีวิตของเราทางใดทางหนึ่ง และสอง เราใช้เวลา ส่วนใหญ่ รอการเปลี่ยนแปลงที่น่าจะเกิดขึ้ นได้อย่างอัศจรรย์
  • 18. เวลาที่เหมาะสม  ข้อแก้ตัวของเราเหมือนกันคือ "ฉันกาลังรอเวลาที่เหมาะสม" แน่นอน ลึกลงไปในใจ เรารู้ว่า ช่วงเวลาที่ว่านั้นอาจจะไม่มีทาง มาถึง ผู้ประพันธ์บอกเราว่าทาไมถึงเป็นเช่นนั้น  เธอเรียกว่า สามเหตุผล (three reasons) คือ  1. การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งใหม่เสมอ (Change is always new)  2. มันมักจะมาพร้อมกับความไม่แน่นอน (It always comes with uncertainty)  3. มันน่ากลัวเสมอ (It’s always scary)
  • 19. การรอคอย  สิ่งที่คุณต้องการ จะต้องทาสิ่งใหม่ ที่น่ากลัว และไม่แน่นอน ซึ่ง ทาให้การรอคอยแม้แต่หนึ่งวัน ก็จะไม่มีอะไรเกิดขึ้น และเป็น การเสียเวลา  นั่นเป็นเหตุผลที่ กฎ 5 วินาที สามารถเป็นเพื่อนสนิทของคุณได้  แม้ว่าการกระทาครั้งแรกที่คุณทามีขนาดเล็กน้อย เช่นการค้นหา ใน Google หรือการตั้งค่าการแจ้งเตือนในโทรศัพท์ของคุณ ก็เป็น การกระทาที่เพียงสิ่งเดียวที่สาคัญ
  • 20. บทเรียนที่ 3: ความรู้สึกเป็นเพียงคาแนะนา ซึ่งเป็นเหตุผลที่คุณควรใช้ การแทรกแซงทางจิตวิทยาแทนที่  เราต้องกล้าที่จะไม่ต้องรอ แต่ทาไมคนเรามักจะรอนานมากๆ ? เพื่อ ตอบคาถามนี้ ผู้ประพันธ์อ้างผลงานของนักประสาทวิทยาชื่อดังคือ Antonio Damasio  ในหนังสือชื่อ Descartes 'Error เขากล่าวถึงผลการวิจัยของเขาที่ ชี้ให้เห็นว่า 95% ของการตัดสินใจของเรา ถูกตัดสินโดยความรู้สึก ไม่ใช่ข้อเท็จจริง ดังนั้นเขาจึงเรียกคนเราว่าเป็น "เครื่องจักรมี ความรู้สึกที่คิดเป็น ไม่ใช่เครื่องจักรคิดเป็นที่มีความรู้สึก (feeling machines that think, not thinking machines that feel)"
  • 21. ไม่รู้สึกเช่นนั้น  กล่าวอีกนัยหนึ่ง ลาดับของเหตุการณ์ที่มักจะไม่ได้คิดแล้วทา แต่ รู้สึกแล้วจึงทา ดังนั้น เหตุผลง่ายๆ ที่เรามักจะไม่ได้ทา คือการที่ เรา "ไม่รู้สึกเช่นนั้น (don’t feel like it)"  เพื่อแก้ปัญหานี้ นักกีฬามืออาชีพจะพิจารณาคาแนะนาจาก ความรู้สึกมากกว่าผลที่ดีที่สุด ซึ่งจะช่วยให้พวกเขาใช้แทนที่ได้ นี่เป็น กฎ 5 วินาที และเป็นแรงผลักดันต่อเป้ าหมายของพวกเขา
  • 22. การแทรกแซงทางจิตวิทยา  หากคุณเคยคิดว่าคุณไม่สามารถวิ่ง ว่ายน้า หรือขี่จักรยานได้ ต่อไปอีก (เนื่องจากหมดแรง) แต่คุณก็ยังทามันได้ คุณทราบดีว่า มันเป็นไปได้  สิ่งที่คุณกาลังทาอยู่นั้นเรียกว่า การแทรกแซงทางจิตวิทยา (psychological intervention) ในระดับที่เล็กมาก คุณได้เปลี่ยน พฤติกรรมของคุณ เพื่อส่งผลกระทบต่อความรู้สึกของคุณ  เลือกพฤติกรรมที่ดี แล้วความรู้สึกที่ดีจะตามมา  พร้อมหรือยัง? 5 ... 4 ... 3 ... 2 ... 1 ปฏิบัติ!
  • 23. ผลักดันตนเอง  ตลอดช่วงชีวิตของคุณ คุณมีพ่อแม่ ครูฝึก ครู เพื่อน และพี่เลี้ยง ที่ คอยผลักดันให้คุณดีขึ้นกว่าเดิม มากกว่าข้อแก้ตัว และใหญ่กว่าความ กลัวของคุณ  กฎ 5 วินาที เป็นวิธีแก้ปัญหาแบบง่ายๆ ที่เหมาะสาหรับทุกปัญหาที่ เราเผชิญทั้งหมด  ความลับคือ ไม่รู้ว่าจะต้องทาอย่างไร แต่รู้วิธีทาให้ตัวเองทาได้ (isn’t knowing what to do—it’s knowing how to make yourself do it)
  • 24. ประโยชน์ของ กฎ 5 วินาที คือ  ทาให้มั่นใจ  เลิกนิสัยผัดวันประกันพรุ่งและความสงสัยในตนเอง  เอาชนะความกลัวและความไม่แน่นอน  หยุดกังวล และรู้สึกมีความสุขมากขึ้น  แบ่งปันความคิดของคุณด้วยความกล้าหาญ
  • 25. กฎง่าย ๆ  ขณะที่คุณมีสัญชาตญาณในการดาเนินการตามเป้ าหมายที่คุณ ต้องทา ให้ทาในทันที (หรือภายในห้าวินาที) ก่อนที่สมองของคุณ จะเริ่มเอนเอียงไปทางการผัดวันประกันพรุ่ง  เทคนิคนี้ ช่วยให้สมองของคุณขจัดความสงสัย ความกลัว และ อารมณ์ที่ขัดขวางคุณจากการกระทา  เมื่อคุณเริ่มใช้ กฎ 5 วินาที อย่างถูกต้องแล้ว สิ่งเหล่านี้ จะ กลายเป็น 5 นาที 5 ชั่วโมง 5 วัน จนกว่าคุณจะเสร็จสิ้นภารกิจ
  • 26. เริ่มนับถอยหลัง  Robbins อธิบายถึงวิธีการใช้ กฎ 5 วินาที ในบล็อกของเธอว่า "เริ่มนับถอยหลังด้วยตัวคุณเอง 5-4-3-2-1 แล้วปฏิบัติ .... เมื่อคุณเริ่มนับถอยหลัง คุณจะขัดจังหวะนิสัยของการคิดมาก เกินไป คุณยืนยันการควบคุม คุณเน้นตัวเองในการดาเนินการ ใหม่ และคุณเปิดใช้งานส่วนที่แตกต่างกันของสมองของคุณ "  Robbins ยังกล่าวว่า การนับถอยหลัง จะทาให้สมองที่รับรอง พฤติกรรมการผัดวันประกันพรุ่ง ปรับเปลี่ยนรูปแบบความคิด ใหม่
  • 27. สรุป  วิธีเดียวที่จะต่อสู้กับนิสัยที่ไม่ดีคือ การเต็มใจที่จะทนทุกข์ทรมาน ภายในห้าวินาทีแรก ก่อนที่ทุกสิ่งทุกอย่างจะจางลง  หากคุณเรียนรู้วิธีรับมือกับปัญหาเบื้องต้นเหล่านี้ คุณจะได้รับ ผลตอบแทนที่คุ้มค่า ในชีวิตส่วนตัวและอาชีพของคุณ  เป็นความคิดที่เรียบง่าย ฟังแล้วไร้สาระ แต่ก็ได้ผลดี
  • 29. สามกลเม็ด  ต่อไปนี้ คือสามสิ่งที่คุณสามารถเรียนรู้จาก กฎ 5 วินาที ซึ่งจะ เพิ่มประสิทธิภาพการทางานของคุณ และลดการ ผัดวันประกันพรุ่ง คือ  1. นับถอยหลังเริ่มต้นที่ห้า (Count backward starting at five)  2. ดาเนินการ (Take action)  3. กล้าได้กล้าเสีย (Be courageous)
  • 30. 1. คุณสามารถนับถอยหลังเริ่มตั้งที่ห้า  การดาเนินการนี้ จะทาให้คุณรู้จุดสิ้นสุด ซึ่งจะทาให้คุณต้อง รับผิดชอบในการดาเนินการทันที  "คุณจาเป็นต้องรู้สึกกลัว และ 5-4-3-2-1 ทามันซะ"
  • 31. 2. ดาเนินการ  การผัดวันประกันพรุ่งและการล่าช้าที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ จะเป็นนิสัย ที่พอกพูนขึ้น เมื่อเวลาผ่านไป  ผู้นาที่ประสบความสาเร็จ คานวณชัยชนะของพวกเขา อันเป็นผล มาจากชัยชนะเล็ก ๆ ในแต่ละวัน  Robbins กล่าวเสริมว่า "เมื่อคุณทาไปเรื่อยๆ มันจะง่ายขึ้น"
  • 32. 3. กล้าได้กล้าเสีย  การผัดวันประกันพรุ่ง เป็นผลโดยตรงจากความกังวลอย่าง ต่อเนื่อง และการพูดถึงตนเองเชิงลบ  Robbins กล่าวว่า "ในการปรับปรุงสิ่งใด คุณต้องมีความกล้าหาญ ที่จะทดลองทา"
  • 34. ต่อไปนี้ เป็นเคล็ดลับเพื่อให้คุณจัดลาดับความสาคัญของงาน ที่ จาเป็นต่อเป้ าหมายระยะยาว  1. อดทนต่อความรู้สึกไม่สุขสบาย (Savor the discomfort)  2. ซอยขั้นตอนออกเป็นเล็ก ๆ (Take baby steps)  3. หลีกเลี่ยงตัวรบกวน (Stay away from distractions)  4. ระลึกถึงเป้ าประสงค์ของคุณ (Reflect on your goals)  5. ไม่ทางานหลายรายการพร้อมกัน (Stop multitasking)
  • 35. 1. อดทนต่อความรู้สึกไม่สุขสบาย  การกระทาครั้งแรกอาจรู้สึกเจ็บปวด (พูดด้วยอารมณ์) ให้ ยอมรับว่า มันเป็นสิ่งที่คุณไม่ต้องการทาหรือหลีกเลี่ยง เพราะ ความเครียด  เตือนตัวเองว่า ความสาเร็จอันยิ่งใหญ่ทุกประการ ต้องมีการ เสียสละและการทางานอย่างหนัก คุณจะไม่มีวันได้ลิ้มรส ความสาเร็จ หากคุณไม่ได้ออกจากเขตสบาย ๆ ของคุณ หลังจาก เอาชนะส่วนที่ยากลาบาก มีรางวัลที่ยิ่งใหญ่กว่ารออยู่
  • 36. 2. ซอยขั้นตอนออกเป็นเล็ก ๆ  แม้แต่นักกีฬาโอลิมปิก และหน่วยซีลของกองทัพเรือสหรัฐ ก็ยัง ต้องพึ่งพาขั้นตอนเล็ก ๆ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายที่ยิ่งใหญ่ และ ก้าวออกจากโซนความสะดวกสบายของพวกเขา  นั่นเป็นเพราะการวิจัยของ Harvard ชี้ให้เห็นว่า การทาให้ เป้ าหมายของคุณลดลงในขั้นตอนเล็ก ๆ ทุกวัน เป็นวิธีที่ง่าย ที่สุด ในการเข้าถึงความสาเร็จที่ยิ่งใหญ่เหล่านั้น  และมันง่ายมาก ที่จะทาให้การก้าวกระโดดครั้งแรก ที่ทาให้คุณ ไม่ต้องคิดถึงเป้ าหมายที่ยิ่งใหญ่
  • 37. 3. หลีกเลี่ยงตัวรบกวน  ตัวรบกวนมีทุกหนทุกแห่ง บางครั้งก็ปลอมตัวเป็นกิจกรรมที่ดู เหมือนคุ้มค่า แล้วมันจะใช้เวลาอันมีค่าของคุณ แลกกับสิ่งไม่มี ประโยชน์อะไร  อย่าใช้เวลาส่วนใหญ่กับสิ่งต่างๆ ที่ไม่ได้นาคุณเข้าใกล้เป้ าหมาย สาคัญถัดไปของคุณ  ถ้าทาได้ ทิ้งไป หรือปิดสิ่งนั้นเสีย
  • 38. 4. ระลึกถึงเป้ าประสงค์ของคุณ  ในช่วงเวลาที่คุณยังไม่สามารถทาให้ตัวเองลุกขึ้นทาอะไรได้ ไม่มี ทางออกที่ดีกว่า การเตือนตัวเองถึงเป้ าหมายที่รอคุณอยู่  เนื่องจากคุณได้กาหนดชนิดของคนที่คุณต้องการจะเป็น และ จานวนของความสาเร็จที่คุณต้องการบรรลุ คุณมีเหตุผลมาก พอที่จะกระทา  โปรดจาไว้ว่า หากคุณไม่ได้กระทาในขณะนี้ หรือภายใน 5 วินาที นี้ คุณจะยังคงเป็นบุคคลเดียวกันกับคุณเมื่อวานนี้ เว้นแต่คุณจะ ทาอะไรบางอย่างเกี่ยวกับเรื่องนี้
  • 39. 5. ไม่ทางานหลายรายการพร้อมกัน  การมีสิ่งต่างๆ หลายรายการที่ต้องทาเป็นสิ่งที่ดี แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่า คุณต้องทาทั้งหมดในเวลาเดียวกัน  การทางานหลายอย่าง ทาให้คุณต้องแบ่งความสนใจของคุณ ทา ให้เกิดความยุ่งยากในกระบวนการคิดของคุณ  ถ้าคุณต้องการทาสิ่งต่างๆ ให้เลือกทาสิ่งหนึ่งต่อครั้ง อย่า พยายามทาหลายสิ่งหลายอย่าง เพราะคุณจะทาอะไรไม่สาเร็จ เลย