SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
โรควิตกกังวลทั่วไป
GAD
CONTE
NTที่มาและความสาคัญ ของโครงงาน
วัตถุประสงค์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
โรควิตกกังวลทั่วไป
แหล่งอ้างอิง
ผู้จัดทา
วีดีโอให้ความรู้ และการจัดการเกี่ยวกับโรควิตกกังวล
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในทุกวันเราได้ทากิจกรรมมากมายล้วนเป็นประสบการณ์ทั้งที่ดีและไม่ดีซึ่ง
หากเป็นด้านที่ดีจะทาให้เรามีความมั่นใจในการจะทางานนั้นอีกครั้งและภูมิใจกับ
สิ่งที่กระทาลงไปแต่หากถ้าเป็นผลที่ออกมาด้านไม่ดีหรือเกิดผิพลาดนั้นจะทาให้ฝัง
ใจและเกิดอาการวิตกกังวลเมื่อต้องทาสิ่งต่างๆอีกครั้ง แต่โดยปกติเมื่อเราต้องเจอ
กับสถานการณ์ที่ทาให้เกิดความวิตกกังวลเมื่อเหตุการณ์นั้น คลี่คลายความวิตก
กังวลก็จะหายไปแต่ในทางกลับกันหากมีอาการป่วยเป็นโรควิตกกังวลนั้น
HOME
ผู้ที่ป่วยเป็นโรควิตกกังวลมักจะไม่สามารถปรับตัวกับสิ่งที่เกิดขึ้นได้และ
ยังคงมีความวิตกกังวล เรื่องเดิมวนเวียนในความคิดจนส่งผลกระทบต่อการใช้
ชีวิตประจาวันอย่างมาก เช่น ไม่มีสมาธิในการทางาน ความสัมพันธ์ กับ เพื่อน
ร่วมงานแย่ลง รวมทั้งอาจมีอาการทางกาย เช่น ใจสั่น นอนไม่หลับ และปวดท้อง
บ่อยๆ ซึ่งอาการเหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อผู้ป่วยเองและมีผลต่อคนรอบข้างอย่าง
มากและการป่วยเป็นโรควิตกกังวลนั้นสามารถพบได้ในคนทั่วไปในสังคม ดังนั้น
เราควรมีความรู้และความเข้าใจกับโรควิตกกังวลนี้เพื่อที่จะสามารถอยู่ร่วมกับ
ผู้ป่วยและไม่ส่งผลเสียแก่ผู้ป่วยและสังคม
HOME
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เมื่อเราเข้าใจผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะอาการเราอาจจะ
สามารถช่วยดูแลและทาให้ผ็ป่วยมีอาการที่ดีขึ้นได้ ผู้จัดทาจึงได้
จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องโรควิตกกังวลขึ้นเพื่อเป็นสื่อกลาง
ให้แก่ผู้ป่วยและคนทั่วไปโยผู้จัดทาได้ค้นคว้าเกี่ยวกับสาเหตุ
ลักษณะอาการในหลายรูปแบบและผู้จัดทายังหวังว่ายอกจาก
โครงงานนี้จะมีประโยชน์แก่ตัวผู้จัดทาเองยังสามารถมีประโยชน์
แก่ผู้ที่ศึกษา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
HOME
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาสาเหตุ ลักษณะอาการและการรักษาโรควิตกกังวลทั่วไปที่ถูกต้อง
เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจในเรื่องโรควิตกกังวลทั่วไปมากขึ้น
เพื่อให้ผู้อ่านรู้ถึงสาเหตุและวิธีรักษาโรควิตกกังวลทั่วไปได้อย่างถูกต้อง
HOME
HOME
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้อื่นรู้จักโรควิตกกังวลทั่วไปมากยิ่งขึ้น เพื่อนาไปป้องกันตัวเอง
ไม่ให้มีอาการวิตกกังวลทั่วไป หรือถ้ามีอาการ ก็จะได้แก้ไขได้อย่าง
ถูกต้อง
ความวิตกกังวล เป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดที่มีประโยชน์
ในบางสถานการณ์ เพราะช่วยให้เราตื่นตัว และพร้อมรับมือกับปัญหาหรือ
เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น อย่างไรก็ตามโรควิตกกังวลมีความแตกต่าง
จากความรู้สึกวิตกกังวลทั่ว ๆไป คนที่เป็นโรควิตกกังวลจะรู้สึกวิตกกังวล
และกลัวอย่างเกินเหตุ จนมีผลทางลบต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน โรควิตก
กังวล เป็นโรคที่พบได้มากในกลุ่มประชากรทั่วไป ปัจจุบันกลุ่มโรควิตกกังวล
ได้
โรควิตกกังวล
ลักษณ์ของผู้ป่วยเป็นโรคเครียด
กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย
หงุดหงิดง่าย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
สมาธิสั้น นอนหลับยาก หรือหลับไม่สนิท
โรควิตกกังวลแบ่งออกได้ 5 ประเภทหลัก
โรควิตกกังวลทั่วไป (Generalized Anxiety Disorder ,
GAD )
โรคแพนิก (Panic Disorder, PD )
โรคกลัวแบบเฉพาะเจาะจง (Phobias)
โรคย้าคิดย้าทา (Obsessive Compulsive Disorder,
OCD)
โรคเครียดหลังเหตุสะเทือนใจ (Post-Traumatic Stress
โรควิตกกังวล
โรควิตกกังวลทั่วไป (Generalized Anxiety
Disorder , CAD )
คือ การมีความกังวลในเรื่องชีวิตประจาวันทั่วๆไปนานและมาก
เกินไป เช่น เรื่องงาน ครอบครัว หรือเรื่องเล็กๆน้อยๆ ทาให้มีผลกระทบต่อ
การใช้ชีวิตประจาวัน ความเครียดและความวิตกกังวลที่ดาเนินไปอย่าง
ต่อเนื่องอาจทาให้เกิดอาการทางร่างกาย เช่น กระวนกระวาย อ่อนเพลีย
หงุดหงิด ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ไม่มีสมาธิ มีปัญหาการนอนหลับ
HOME
เพิ่มเติม
โรคแพนิก (Panic Disorder, PD )
คือ การที่อยู่ดีๆเกิดอาการกลัวและวิตกกังวลขึ้นมาเป็นพักๆโดยไม่มี
สาเหตุหรือมีอาการ เช่น หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น เหงื่อออก เจ็บหน้าอก รู้สึกสาลัก
เวียนหัว คลื่นไส้หรือท้องปั่นป่วน หนาวสั่นหรือร้อนวูบวาบ มือเท้าชา กลัวว่า
ตัวเองจะตาย อาการของแพนิกไม่ใช่เป็นโรคร้ายแรงแต่ทาให้รู้สึกไม่สบายมาก
ดังนั้นผู้ป่วยมักคิดว่าตัวเองกาลังหัวใจวายหรือเป็นโรคที่ร้ายแรงถึงแก่ชีวิต
โรควิตกกังวล
HOME
โรควิตกกังวล
โรคกลัวแบบเฉพาะเจาะจง (Phobias)
คือ การกลัวมากเกินไปเกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่าง
สถานการณ์บางอย่างหรือกิจกรรมบางอย่างที่เฉพาะเจาะจง เช่น
กลัวเลือด กลัวสุนัข กลัวที่แคบ
HOME
โรควิตกกังวล
โรคย้าคิดย้าทา (Obsessive Compulsive
Disorder, OCD)
คือ ความคิดวิตกกังวลที่มีการคิดซ้าๆและมีการตอบสนองต่อ
ความคิดด้วยการทาพฤติกรรมซ้าๆ เช่น คิดว่าลืมล็อคประตูก็จะคอยตรวจ
ซ้าๆว่าล็อคประตูหรือยัง
HOME
โรควิตกกังวล
โรคเครียดหลังเหตุสะเทือนใจ (Post-Traumatic Stress
Disorder, PTSD)
คือ อาการผิดปกติที่เกิดขึ้นหลังจากประสบกับเหตุการณ์อันเลวร้ายมาก
เช่น เผชิญกับภาวะเฉียดตาย ภาวะภัยพิบัติตามธรรมชาติที่ร้ายแรง ถูกทาร้าย
หรือเห็นคนใกล้ตัวตาย เป็นต้น อาการเกิดขึ้นได้หลายอย่าง ตั้งแต่เงียบเฉย ขาด
การตอบสนอง ตกใจง่าย หวาดกลัว กังวลในเรื่องเล็กน้อย คิดถึงเหตุการณ์นั้น
ซ้าๆและเกิดความกลัวและวิตกกังวลขึ้นมาใหม่เหมือนเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นอีก
ครั้ง รวมถึงหวาดกลัวสิ่งเร้าที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์HOME
โรควิตกกังวล
โรคกังวลทั่วไป
โรควิตกกังวลเป็นโรคทางจิตที่พบได้มากที่สุดโรคหนึ่ง สาเหตุเกิดได้ทั้ง
จาก 2 ปัจจัยหลักดังนี้
1. พันธุกรรมหรือพื้นฐานดั้งเดิม ถ้าพ่อแม่เป็นโรควิตกกังวล ลูกก็มี
โอกาสเป็นโรควิตกกังวลเช่นกัน หรือมีพื้นฐานที่ไม่กล้าแสดงอารมณ์ออกมาและ
การมีสารเคมีในสมองที่ไม่สมดุล
2. สภาพแวดล้อม การเลี้ยงดู การเลียนแบบพฤติกรรมจากพ่อแม่หรือ
คนใกล้ชิด การประสบกับเหตุการณ์ต่างๆที่ก่อให้เกิดโรควิตกกังวล
HOME
ภาวะแทรกซ้อนของโรคกังวลทั่วไป
อาการโรคกังวลทั่วไปที่ไม่ได้รับการรักษาจะแย่ลงเรื่อย ๆ และน าก่อให้เกิด
ปัญหาทางกายภาพและอาการทางจิตอื่น ๆ เช่น:
โรคซึมเศร้า
การใช้สารเสพติด
อาการนอนไม่หลับ
ปัญหาเกี่ยวกับลาใส่และระบบการย่อยอาหาร
อาการปวดหัว
โรควิตกกังวล
โรคกังวลทั่วไป
ภาวะแทรกซ้อนของโรคกังวลทั่วไป
อาการโรคกังวลทั่วไปที่ไม่ได้รับการรักษาจะแย่ลงเรื่อย ๆ และอาจก่อให้เกิด
ปัญหาทางกายภาพและอาการทางจิตอื่น ๆ เช่น
โรคซึมเศร้า
การใช้สารเสพติด
อาการนอนไม่หลับ
ปัญหาเกี่ยวกับลาใส่และระบบการย่อยอาหาร
อาการปวดหัว
แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล
หลังจากการประเมิน และวินิจฉัยว่าเป็นโรควิตกกังวลจริง แพทย์อาจ
พิจารณาการรักษาโดยไม่ใช้ยาก่อนเป็นอันดับแรก โดยการอธิบายถึงโรค และ
อาการที่ผู้ป่วยกาลังเป็นอยู่ แนะนาให้ผู้ป่วยซักถาม รวมถึงญาติของผู้ป่วยด้วย
เพื่อรับคาแนะนาจากแพทย์ในการปฏิบัติตัวเพื่อลดอาการที่อาจเกิดขึ้น
นอกจากนี้แพทย์อาจพิจารณาให้รับประทานยา ควบคู่ไปกับการฝึกสมาธิ ฝึก
จินตนาการ ฝึกคิดในทางบวก
แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล
โรควิตกกังวล สามารถรักษาให้หายได้ หากได้รับคาแนะนา การรักษาจาก
แพทย์อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การรับประทานยาเป็นประจา จนสามารถลดความแรง
ของยา ลดความถี่ในการรับประทานยา จนสามารถหยุดยา และใช้ชีวิตตามปกติ
ได้เหมือนเดิม การรักษาโรควิตกกังวลขึ้นอยู่กับประเภทของโรค การรักษาหลัก
คือ การพูดคุยให้คาปรึกษาด้วยการรับฟัง แสดงความเห็นใจและให้คาอธิบาย
การทาจิตบาบัด การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม
(Cognitive Behavior Therapy หรือ CBT) และการ
รักษาด้วยยาซึ่งมียาหลายกลุ่มที่สามารถกินเพื่อลดอาการวิตกกังวล
แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล
1. การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (Cognitive
Behavior Therapy หรือ CBT)
CBT คือจิตบาบัด คือการพูดคุยแลกเปลี่ยน เพื่อบาบัดปัญหาที่เรา
อยากจะจัดการ ดั้งเดิมแล้วมันเป็นศาสตร์ที่ใช้กับโรคซึมเศร้า โดยมีหลักการอยู่
ว่า คนซึมเศร้าเพราะมีวิธีคิดที่บิดเบือนจนทาให้เกิดความเศร้าขึ้นมา เช่น คิดโทษ
ตัวเองว่าตัวเองไม่ดี คิดมองโลกในแง่ลบมากเกินไป CBT ก็เลยมีกระบวนการ
ที่จะปรับความคิด หรือ cognitive เพื่อให้อารมณ์เศร้าดีขึ้น
1. การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (Cognitive
Behavior Therapy หรือ CBT)
อีกส่วนคือการปรับพฤติกรรม หรือ bahavior เพราะพฤติกรรมบางอย่าง
ถ้ายังทาอยู่ก็อาจเสริมให้เศร้าต่อไป เช่น การไม่ออกไปไหน เก็บตัวอยู่กับบ้าน ในทาง
ตรงกันข้ามถ้าเปลี่ยนพฤติกรรม ทาตัวให้แอคทีฟขึ้น อาการเศร้าก็จะลดลงจิตแพทย์จะ
เป็นผู้ประเมินและวินิจฉัยโรคก่อนว่าคนไข้เป็นอะไร พอได้ผลวินิจฉัย แพทย์ก็จะ
วางแผนรักษา ซึ่งมีทั้งส่วนของการใช้ยาในกรณีที่พบว่าอาการเกี่ยวข้องกับสารเคมีใน
สมอง และอีกส่วนหนึ่งเรียกว่าการรักษาทางจิตสังคม เป็นการรักษาแบบไม่ใช้ยา แต่ใช้
การพูดคุย ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ
แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล
แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล
เช่น ครอบครัวบาบัด เอาครอบครัวมาคุยกัน, การให้คาปรึกษา ให้
คาแนะนาเฉยๆ, จิตบาบัดแขนงดั้งเดิม ของ ซิกมันด์ ฟรอยด์ ที่เรียกว่า
Psychodynamics หรือ Psychotherapy ไปจนถึง
CBT ที่เป็นส่วนนึงในการรักษาทางจิตสังคมเช่นกัน CBT ถูกใช้มา
หลายสิบปีแล้ว จากที่ใช้กับโรคซึมเศร้าแล้วได้ผลดี ก็เลยถูกเอาไปใช้กับ
ปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิตหรือการใช้ชีวิตทั้งหลาย
1. การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม
(Cognitive Behavior Therapy หรือ CBT)
เช่น วิตกกังวล อารมณ์โกรธ การใช้สารเสพติด ผู้มีปัญหาการกิน ฯลฯ
ในช่วงหลัง ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพจิตทุกอย่างจะมี CBT เข้ามาเป็น
องค์ประกอบในการบาบัดแบบหนึ่ง ร่วมกับการบาบัดแบบอื่นๆ จุดเด่นของ
CBT คือเป็นการรักษาทางจิตสังคมที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์รองรับ
มากที่สุด ทฤษฎีที่สร้างขึ้นมาจะถูกนาไปตรวจสอบด้วยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ว่ากลไกของโรคเป็นอย่างนั้นจริงหรือเปล่า และตัวการรักษาที่
ออกแบบมา ก็ถูกนาไปวิจัยก่อนว่าใช้กับคนไข้ได้
1. การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (Cognitive
Behavior Therapy หรือ CBT)
แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล
แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล
2. การใช้ยา
พรีกาบาลิน พรีกาบาลินคือยารุ่นใหม่ส าหรับ โรค GAD ออกฤทธิ์โดย
การควบคุมสารเคมีในสมอง เช่น กรดกลูตามิก นอร์เอพิเนฟริน และ GABA
เพื่อการบรรเทาอาการ จากผลศึกษาตามคลินิก พบว่ายามีผลกับโรค GAD
ออกฤทธิ์เร็ว (ประมาณ 1 สัปดาห์) มีผลข้างเคียงเช่นท าให้วิงเวียนศีรษะและรู้
ศึกเหนื่อยล้า แต่ผลกระทบน้อยกว่ายารุ่นก่อน ยานี้ไม่มีคุณสมบัติของสารเสพติด
และไม่มีผลข้างเคียงของSSRI เช่น อาการคลื่นไส้ อาการนอนไม่หลับ ปัญหา
ทางเพศ ยาสามารถลดอาการเจ็บปวดและอาการนอนไม่สงบที่มีGAD เป็น
แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล
2. การใช้ยา
ยาเพื่อกระตุ้นการหลั่งเซโรโทนิน (SSRI) SSRI ควบคุมระดับสาร
เซโรโทนินในสมอง ผลข้างเคียงช่วงแรก ๆ คือ อาการคลื่นไส้นอนไม่หลับ และความ
เหนื่อยล้า อาการเหล่านี้จะหายไปหลังการใช้ยาไปช่วงระยะหนึ่ง ยาช่วยลดอาการ
ทางกายภาพและทางอารมณ์ของ GAD ให้ผลที่ดีกว่า ยาระงับประสาทและยา
นอนหลับ และไม่มีสารเสพติดกับผลลัพธ์ในระยะยาว ประเภทของ SSRI มีดังนี้
พาร็อกซีทีน, ฟลูออกซิทีน กับ เซอร์ทราลีน
แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล
ยากลุ่มที่ออกฤทธิ์ยับยั้งนอเรพิเนฟรินและเซโรโทนิน (SNRI)
SNRI มีคุณสมบัติคล้ายSSRI แต่นอกจากมีผลกับ เซโรโทนิน
แล้ว ยังมีผลกับ นอร์เอพิเนฟรินด้วย นอกจากนี้ยายังออกฤทธิ์เร็วกว่า
SSRIด้วย ผลข้างเคียงในช่วงแรกคือ เวียนศีรษะ ปวดหัว คลื่นไส้ และ
นอนไม่หลับ อย่างไรก็ตามอาการจะลดลงแล้วหายไปหลังจากระยะเวลา
หนึ่ง
2. การใช้ยา
แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล
2. การใช้ยา
เบนโซไดอะซีปีน เบนโซไดอะซีปีนเคยเป็นยาสามัญที่ใช้ส าหรับ
การแก้ GAD ใช้ระงับประสาท ออกฤทธิ์เร็ว แต่ไม่สามารถแก้โรคได้
นอกจากนี้หากใช้ยานี้เป็นระยะเวลานานจะมีผลข้างเคียงที่ร้ายแรง เช่น
การติดยา สูญเสียความทรงจ าและระบบความคิด ฯลฯ ด้วยเหตุนี้ยานี้
เลยถูกก าหนดให้ใช้ได้แค่ชั่วคราว โดยปกติแล้วจะใช้กับ SSRI
ในช่วงแรกๆของการบ าบัดด้วย SSRI ประเภทของ ยาเบนโซไดอะซี
ปีนมีดังนี้ยาอัลปราโซแลม , ยาลอราซีแพม
แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล
2. การใช้ยา
ยารักษาอาการซึมเศร้ากลุ่มไตรไซคลิก (TCA) TCA เป็นยาประเภท
ยาต้านโรคซึมเศร้า ไม่ค่อยได้ใช้ในยุคปัจจุบัน เป็นยาระระงับประสาทและช่วยให้
นอนหลับ แต่มีผลข้างเคียงเยอะ เช่นอาการง่วงนอน อ่อนเพลีย ปัญหาเกี่ยวกับ
ความจา ทาให้น้ าหนักเพิ่ม และหัวใจเต้นผิดปกติการใช้TCA เกินขนาดสามารถ
ถึงแก่ชีวิตได้และผู้ป่วยเป็นโรคหัวใจไม่ควรใช้ ประเภทของ TCA มีดังนี้ยาอิมิพรา
มีนและยาอะมิทริปไทลีน
การป้องกัน
โรควิตกกังวลสามารถป้องกันได้โดยการใช้ชีวิตอย่างมีสุขภาพ ด้วยการ
กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ
กับที่ร่างกายต้องการ หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ ทากิจกรรมที่ผ่อนคลาย
นอกจากนี้ควรฝึกสติเพื่อรู้ทันอารมณ์ของตัวเองว่าความเครียดว่ามีมากเกินไป
หรือไม่ รวมถึงการทาสมาธิเพื่อให้จิตใจสงบอยู่กับปัจจุบันและให้สมองได้ผ่อน
คลาย
โรควิตกกังวล
https://www.youtube.com/watch?v=7vcrmNcH-Kg
การกาจัดปัญหาโรควิตกกังวล
https://www.youtube.com/watch?v=_-XHkRHO3bk
ผู้จัดทา
น.ส.นันท์นภัส ลิคะสิริ ม.6/8 เลขที่36
น.ส.ศุภิสรา กาละดี ม.6/8 เลขที่39
แหล่งอ้างอิง
กองบรรณาธิการ HD (ออนไลน์). (2020). สืบค้นจาก :
https://www.honestdocs.co/generalised-anxiety-
disorder-2
[25 ตุลาคม 2562]
โรงพยาบาลวิภาวดี (Vibhavadi Hospital PCL.) (ออนไลน์). (2561).
สืบค้นจาก :https://www.pobpad.com/gad-
[ 25 ตุลาคม 2562]
ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ (ออนไลน์). (2019). สืบค้นจาก:
https://www.the101.world/cognitive-behavior-
therapy/
[ 25 ตุลาคม 2562]
Hospital Authority (ออนไลน์). (2018). สืบค้นจาก:

More Related Content

Similar to Yyam.mmook

งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14Min Chatchadaporn
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararudsvuthiarpa
 
เทคนิคการใช้ CฺBT
เทคนิคการใช้ CฺBTเทคนิคการใช้ CฺBT
เทคนิคการใช้ CฺBTWebsite_SEO _Boy
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyleAtivitt Crystalbell
 
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้Press Trade
 
5 second rule 5 วินาที
5 second rule 5 วินาที5 second rule 5 วินาที
5 second rule 5 วินาทีmaruay songtanin
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 

Similar to Yyam.mmook (12)

งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
 
เทคนิคการใช้ CฺBT
เทคนิคการใช้ CฺBTเทคนิคการใช้ CฺBT
เทคนิคการใช้ CฺBT
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyle
 
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
 
5 second rule 5 วินาที
5 second rule 5 วินาที5 second rule 5 วินาที
5 second rule 5 วินาที
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
Book club 2
Book club 2Book club 2
Book club 2
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 

Yyam.mmook