SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
กระบวนการทางความคิดของการคิดเชิง
ออกแบบ (Mindsets of Design Thinking)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. เพื่อเข้าใจถึงกระบวนการทางความคิดของการคิดเชิงออกแบบ
2. เพื่อเข้าใจข้อแตกต่างของกระบวนการทางความคิดในแต่ละแบบ
3. เพื่อสามารถนําและประยุกต์กระบวนการทางความคิดดังกล่าวไปใช้ได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
Mindsets หรือในบทนี้ที่พยายามแปลว่า กระบวนการทางความคิด ซึ่งเมื่อเปิด
พจนานุกรมสามารถแปลได้ว่า เป็นความคิด ความเชื่อที่มีผลต่อพฤติกรรม ทัศนคติและอื่นๆ ซึ่ง
ส่วนใหญ่แล้วจะไม่มีการแปลเป็นภาษาไทยแต่ใช้ทับศัพท์ Mindsets เป็นคําเหมือนกันกับ
Attitude (ทัศนคติ) และ Belief (ความเชื่อ) เช่นกัน ดังนั้นอาจจะกล่าวได้ว่า Mindsets เป็นสิ่งที่
กระตุ้นเกิดขึ้นมาจริงภายในของคนใดคนหนึ่ง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะตัวที่เกิดขึ้นมาจากการ
ผสมผสานประสบการณ์องค์ประกอบ การเลี้ยงดูและ ปัจจัยอื่นๆอีกมากมายเปรียบเสมือนลายมือ
ที่ไม่เหมือนกันใน แต่ละคน แต่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงมันได้จากการกระทําในปัจจุบันซึ่งจะ
ส่งผลต่อสิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต ทั้งนี้จะ สังเกตได้ว่า Mindsets เป็นความเชื่อ ทัศนคติซึ่งอยู่ใน
ความคิดของเรา ทําให้พฤติกรรมมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม ความคิด และหลายๆ ครั้งความคิด
สร้างออกมาเป็นจิตใต้สํานึกซึ่งบางครั้งเราไม่อาจสามารถควบคุมได้หรือความคิด ของเราเปลี่ยน
ออกเป็นนิสัยประจําตัวไป อย่างที่พระพุทธเจ้ากล่าวไว้ว่า “จิตของท่านสร้างโลกใบนี้ (It is your
mind that creates this world)” ดังนั้น Mindsets จึงเป็นสิ่งที่สําคัญของการกระทําและ
พฤติกรรมของคน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
Mindset หมายถึง ความคิด ความเชื่อที่จะส่งผลต่อพฤติกรรม และ เป็นสิ่งที่ถูก
สร้างขึ้นในทางความคิดและ ทัศนคติซึ่งอยู่ภายในตัวบุคคล อย่างไรก็ดีจากทฤษฎีการ
ตัดสินใจ (Decision Theory) กล่าวไว้ว่า
Mindset คือ ชุดของข้อสมมุติฐาน กระบวนการ หรือ หมายเหตุที่คนใดคน
หนึ่งหรือหลายคนยึดถือไว้
A mindset is a set of assumptions, methods, or notations held
by one or more people or groups of people
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
ได้กล่าวไว้ว่า ในวรรณกรรมเชิงวิชาการทางจิตวิทยาสังคมได้ แบ่งองค์ประกอบ
ของ Mindset ไว้ 3 ส่วนด้วยกัน ได้แก่
1) Cognitive (Thinking) เป็นส่วนกระบวนความคิด
2) Behavioral (Doing) เป็นส่วนของพฤติกรรมในการกระทํา
3) Affective (Feeling) เป็นส่วนของความรู้สึก
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ว่าเป็นการใช้ส่วนประกอบต่างๆ
จากเครื่องมือของการออกบ แบบไม่ว่าจะเป็นการสร้างความเข้าใจและการทดสอบเพื่อ
นํามาซึ่งนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา โดยการใช้การ คิดเชิงออกแบบนั้นจะมีพื้นฐาน
จากการตัดสินใจจากสิ่งที่ลูกค้าจะต้องการในอนาคต ซึ่งจะไม่อ้างอิงจากข้อมูลใน อดีต
หรือการใช้สัญชาติญาณในการตัดสินใจแทนที่การใช้หลักฐานที่เกิดขึ้น
Design Thinking utilizes elements form the design’s toolkits like
empathy and experimentation to arrive at innovative solutions. By
using design thinking, you make decisions based on what future
customers really want instead of relying only on historical data or
making risky bets based on instinct instead of evidence
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
การคิดเชิงออกแบบเป็นกระบวนการที่ใช้มนุษย์(คน) เป็นศูนย์กลางในการ
สร้างนวัตกรรมซึ่ง ได้ออกแบบจากเครื่องมือในการออกแบบที่ผสมผสานความต้องการ
ของคน ความเป็นไปได้ของ เทคโนโลยีและสิ่งที่ธุรกิจจะต้องมีในการสร้างความสําเร็จ
“Design thinking is a human -centered approach to innovation
that draws from the designer's toolkit to integrate the needs of
people, the possibilities of technology, and the requirements for
business success.” (Tim Brown, CEO of IDEO)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
เป็นความคิดและทัศนคติที่สามารถใช้กระบวนทางการออกแบบซึ่งมุ่งเน้นใน
การใช้คนเป็นศูนย์กลางใน การออกแบบเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
จริงซึ่งเกิดจากความเข้าใจอย่างลึกซึ่ง นิยาม การระดม ความคิด การสร้างต้นแบบ
การทดสอบ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
จากที่กล่าวมาข้างต้น Mindsets ชองการคิดเชิงออกแบบถือว่าเป็นการออกแบบ
โดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง ซึ่งไม่เหมือนกับการแก้ไขปัญหาในรูปแบบอื่น โดยสิ่งที่เกิดขึ้น
จากการคิดเชิงออกแบบเป็นการกระทําอย่างง่ายๆ การ ทําการทดสอบทดลอง ซึ่งอาจจะ
ล้มเหลวช่วงต้นและบ่อยครั้ง นอกจากนี้ยังใช้เวลากับสิ่งที่ไม่รู้คําตอบ แต่ก็ยังมุ่งทํา ต่อไป
การคิดเชิงออกแบบจําเป็นที่จะต้องคิดเชิงบวกและเป็นนักปฏิบัตินักทดลองและทดสอบ
และเป็นผู้ที่เรียนรู้สิ่ง ที่นักออกแบบเชิงความคิดทําคือการทําความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ทําซ้ํา
แล้วซ้ําอีกและพยายามค้นหาสิ่งที่เป็นแรงบันดาลใจในสถานที่ที่ไม่คาดคิด นักออกแบบเชิง
ความคิดจะเชื่อว่าทางแก้ไขปัญหามีอยู่เพียงแต่จะต้องมุ่งมั่นและตั้งใจในการ หาจากคนที่
เป็นกลุ่มเป้าหมายที่จะช่วยแก้ไขปัญหา ซึ่งจะใช้กระบวนการถามคําถามที่ถูกต้อง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
นักออกแบบเชิงความคิดจะทําการคิดไอเดียที่หลากหลายซึ่งบางอย่างทําได้
บางอย่างทําไม่ได้แต่จะสร้าง ไอเดียให้เกิดเป็นรูปธรรมที่จับต้องได้ซึ่งจะสามารถทดสอบได้
และปรับปรุงไอเดียนั้นให้ดีขึ้น ส่วนสุดท้ายคือการ สร้างสรรค์ที่สุดโต่งเพื่อที่จะผลักดันให้
เกิดนวัตกรรมและความมั่นใจที่จะสร้างแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ไม่เคยคิดว่า จะมีมาก่อน
ตั้งแต่เริ่มต้น ด้วยเหตุนี้นักออกแบบเชิงความคิดจะต้องมีMindsets ที่สามารถที่จะเปลี่ยน
ให้เป็นการ กระทําดังที่กล่าวมา
ทั้งนี้ทั้งนั้น Mindsets ของการคิดเชิงออกแบบ ที่ได้ถูกนําเสนอจากทาง
นักวิชาการที่สนใจในหัวข้อ Design Thinking และ องค์กรที่ให้คําปรึกษาด้านการคิดเชิง
ออกแบบนั้น ได้ถูกนําเสนอมาอย่างมากมาย อย่างไรก็ดีสําหรับ บทนี้จะนําเสนอ Mindset
จากเอกสารเชิงวิชาการ และ Mindset จาก IDEO ซึ่งเป็นองค์กรที่ให้คําปรึกษาด้านการ
คิดเชิงออกแบบ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
1. Creative Confidence
David Kelley เชื่อว่าทุกคนสามารถที่จะเป็นนักออกแบบได้เพียงแต่ว่ายังไม่ได้
ปลดปล่อยความสามารถของ ตนเองออกมา Creative Confidence เป็นความเชื่อว่าทุกๆ คนมี
ความคิดสร้างสรรค์และความคิดสร้างสรรค์ไม่เป็น ขีดความสามารถในการวาด การออกแบบ แต่
เป็นหนทางของความเข้าใจโลกนี้ดังนั้น Creative Confidence จึงเป็น Mindset ของนัก
ออกแบบที่จะสามารถก้าวข้ามสิ่งบางอย่าง เชื่อในสิ่งที่เป็นสัญชาติญาณ (Intuition) และสามารถ
ที่ ติดตามแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ยังไม่มีใครสามารถที่จะคิดออกได้นอกจากนี้ยังเชื่อว่าจะ
สามารถคิดถึงแนวทางการ แก้ไขปัญหาที่ใหญ่ได้การสร้างความมั่นใจที่จะสร้างสรรค์(Creative
Confidence) จะช่วยผลักดันและขับเคลื่อนให้ เกิดการทําสิ่งต่างๆ ทดสอบและทําอย่างต่อเนื่อง
ซึ่งจะต้องใช้เวลาในการที่จะสร้างและส่วนหนึ่งในการที่จะไปถึงจุด นั้นได้คือการเชื่อว่า
กระบวนการการออกแบบโดยใช้คนเป็นศูนย์กลางจะเปิดเผยแนวทางการสร้างสรรค์ต่อปัญหาทุก
ปัญหาที่เข้ามา และเมื่อสามารถเริ่มจากความสําเร็จเล็กๆ สิ่งที่ตามมาคือความสําเร็จที่ใหญ่ขึ้น
และใหญ่ขึ้น และ สุดท้าย Mindset นี้จะช่วยทําให้เราเป็นบุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ที่แตกต่าง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
Mindsets ในการ “ทํา” (Make it) เป็น ส่วนหนึ่งที่เป็นพลังของความสามารถที่จะจับ
ต้องได้(The power of tangibility) ซึ่งเมื่อเราสามารถที่จะทําไอเดียให้เกิดขึ้นมาเป็นจริงได้จะ
ช่วยทําให้สิ่งต่างๆ เปิดเผยออกมามากกว่า ทฤษฎีจะสามารถทําได้จะเห็นได้ว่าเมื่อสิ่งที่เราต้องการ
ขึ้นการสร้างกระบวนการแก้ไขที่สามารถเกิดผลลัพธ์สู่โลกนี้เรา ไม่สามารถอยู่กับสิ่งที่เป็น
นามธรรม (abstract) ได้ดังนั้นจะต้องทําให้เกิดขึ้นจริงและจับต้องได้นักออกแบบที่ใช้คน เป็น
ศูนย์กลางนั้นเป็นคนทํา ทดลอง และสร้าง ซึ่งสามารถสร้างอะไรบ้างอยากจากสิ่งที่ทิ้งแล้วไม่ว่าจะ
เห็นกล่อง กระดาษ กรรไกร จนไปถึง เครื่องมือที่เกี่ยวกับ Digitals นักออกแบบเชิงความคิดจะ
สร้างไอเดียและทดสอบสิ่งเหล่านั้น เพราะว่าเมื่อสร้างให้เกิดเป็นสิ่งที่จับต้องได้จะทําให้เห็นโอกาส
อีกทั้งยังทําให้เราเห็นถึงความสลับซับซ้อนที่ ไม่เคยคิดมาก่อน การ “ทํา” เป็นแนวทางในการคิด
และช่วยทําให้มองเห็นถึงความเป็นไปได้ในการออกแบบ นอกจากนี้การทําไอเดียให้เกิดขึ้นเป็น
รูปธรรมที่จับต้องได้ส่งผลทําให้สามารถที่แชร์สิ่งเหล่านั้นและทําให้ทราบถึงผล สะท้อนกลับกับสิ่ง
ที่เราทําออกมาได้ซึ่งทําให้ทราบถึงการปรับปรุงไอเดียให้ดีขึ้นต่อไป
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
ความล้มเหลวเป็นเครื่องมือที่มีศักยภาพมากในการเรียนรู้การทดสอบสิ่งที่ออกแบบ
ต้นแบบ รวมไปถึงการ ทดสอบสิ่งที่ทําออกมาจากการทดสอบเป็นหัวใจของการออกแบบโดยใช้
คนเป็นศูนย์กลาง ดังนั้น Mindset ของการใช้ ความล้มเหลวในการเรียนรู้จะเป็นส่วนสําคัญที่จะ
ช่วยทําให้เกิดการพัฒนาขึ้นในการออกแบบ แน่นอนว่านักออกแบบ เชิงความคิดจะค้นหาในการ
แก้ไขปัญหาที่ใหญ่และยอมรับในสิ่งที่ล้มเหลวซึ่งจะทําให้เราเรียนรู้จากความล้มเหลวนั้น จนมีคํา
กล่าวที่ว่า “Fail early to succeed sooner” หรือ “ล้มก่อนเพื่อที่จะสําเร็จเร็วขึ้น” ดังนั้นการ
อนุญาตตัวเอง ให้ล้มเหลวได้เป็นส่วนสําคัญในการสร้างการเรียนรู้และความสําเร็จ นอกจากนี้การ
อนุญาตให้ล้มเหลวจะช่วยทําให้เรา ยอมรับความเสี่ยง และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ Thomas
Edison ยังเคยกล่าวไว้ว่าหลังการทดสอบประดิษฐ์หลอดไฟไว้ ว่า “ฉันไม่ได้ล้มเหลว แต่ฉันได้พบ
กว่ามี 10,000 วิธีการที่มันไม่ทํางาน (I have not failed. I’ve just found 10,000 ways that
won’t work)” การตั้งเป้าว่าจะต้องทําถูกถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องกับการออกแบบสิ่งใหม่ๆ
เนื่องจากว่าสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาไม่มีคําว่าถูกหรือผิด มีเพียงแต่ว่าสามารถแก้ไขปัญหาได้หรือไม่ได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
การเข้าใจอย่างลึกซึ้ง (Empathy) ถือได้ว่าเป็นกระบวนการเริ่มต้นสําหรับการคิด
เชิงออกแบบนอกจากนี้ Empathy เป็นความสามารถในการเข้าไปยืนอยู่ในรองเท้าคนอีก
คนหนึ่ง หรือเข้าใจคนคนนั้นอย่างลึกซึ่ง ไม่ว่าจะเป็น ชีวิตของเขา การออกแบบโดยใช้คน
เป็นศูนย์กลางจําเป็นจะต้องเข้าใจคนๆ นั้น เพื่อที่จะเป็นหนทางหรือแนวทางใน การคนหา
วิธีการแก้ไขปัญหาอย่างมีนวัตกรรม สิ่งที่นักออกแบบเชิงความคิดจะต้องทําความเข้าไปอยู่
ในสภาพของคน ที่เราต้องการแก้ไขปัญหา เราจะต้องเข้าใจสิ่งที่เขาเป็นอยู่รวมไปถึงการ
นําเข้าสู่กระบวนการการออกแบบ ด้วยเหตุนี้ เอง Mindset ในด้าน Empathy จะช่วยทํา
ให้นักออกแบบมองเห็นโลก และโอกาสทั้งหมดในการทําให้ดีขึ้นผ่าน มุมมองใหม่ที่มี
ศักยภาพ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
การอยู่กับความกํากวม (Embrace ambiguity) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการที่นัก
ออกแบบเชิงความคิดเริ่มต้น จากสิ่งที่ไม่รู้คําตอบจนถึงปัญหาที่เขาต้องการค้นหาเพื่อแก้ไข
ดังนั้นการสร้าง Mindset ที่ให้ตัวเองออกไปสู่โลกและ พูดคุยกับผู้คนที่เราต้องการแก้ไข
ปัญหานั้น จะช่วยทําให้เราสามารถเปิดมุมมองใหม่ที่เรายังไม่เคยรู้ได้หลายๆ ครั้งยัง ทําให้
พบแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ไม่คาดคิดได้โดยการเชื่อมั่นว่ากระบวนการออกแบบโดยใช้
คนเป็นศูนย์กลางนั้น จะช่วยชี้ทางไปสู่คําตอบที่เป็นนวัตกรรม นอกจากนี้การเชื่อว่ามัน
มีไอเดียมากกว่านั้น และไม่ยึดติดกับไอเดียใดไอเดีย หนึ่งจะทําให้เกิดกระบวนการที่
ขับเคลื่อนไปข้างหน้า จะเห็นได้ว่าหาว่าเรารู้คําตอบตั้งแต่เริ่มต้นมันไม่สามารถที่จะทํา ให้
เราเรียนรู้อะไรได้และไม่สามารถที่จะคิดสิ่งที่เป็นนวัตกรรมที่สร้างสรรค์ได้ดังนั้น Embrace
Ambiguity จะช่วย ทําให้เราเป็นอิสระเพื่อที่จะมุ่งเข้าหาคําตอบที่เราไม่ได้เริ่มคิดตั้งแต่ต้น
และช่วยผลักดันให้เราสามารถที่จะสร้าง นวัตกรรมและในที่สุดสร้างผลลัพธ์ให้เกิดขึ้นได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
การคิดบวก จะช่วยทําให้เราเข้าถึงสิ่งที่เป็นไปได้โดยเฉพาะไอเดียที่เรายังไม่รู้
คําตอบ แต่คําตอบนั้นยังตั้งอยู่ เพื่อที่เราจะหาพบได้ในการที่จะขับเคลื่อนเพื่อค้นหา
คําตอบ การคิดบวก (Optimism) จะทําให้เราเกิดความคิด สร้างสรรค์ที่มากกว่า กล้าที่จะ
ผลักดันให้เราขับเคลื่อนไปข้างหน้า สิ่งที่เกิดขึ้นคือการคิดบวกทําให้นักออกแบบเชิง
ความคิดอดทนที่จะค้นหาและผ่านอุปสรรคต่างๆได้ซึ่งแน่นอนว่าอุปสรรค์เป็นสิ่งที่ไม่
ปรารถนา แต่บ่อยครับนัก ออกแบบพบว่าอุปสรรคเหล่านั้นช่วยผลักดันทําให้เกิดการสร้าง
แนวทางการแก้ไขปัญหาที่คาดไม่ถึง ดังนั้นความเชื่อใน การคิดบอกว่าที่ว่า ทุกๆ ปัญหา
สามารถแก้ไขได้จึงเป็น Mindset ของนักออกแบบเชิงความคิด
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
การทําซ้ําแล้วซ้ําอีก เป็นกระบวนการที่สําคัญในการแก้ไขปัญหา เนื่องจากว่าการรับฟัง
ปัญหาตอบกลับจาก คนที่เราเข้าไปแก้ไขปัญหานั้นเป็นส่วนสําคัญที่จะช่วยทําให้เกิดการแก้ไข
ปัญหาอย่างมีนวัตกรรม ด้วยเหตุนี้การทําซ้ํา การกลั่นกรอง การปรับปรุงให้ดีขึ้นจะช่วยทําให้เรา
สามารถที่คิดไอเดียใหม่ได้มากขึ้น การพยายามทําลองแนวทาง หลายๆ ทางจะช่วยปลดปล่อย
ความคิดสร้างสรรค์ของเราหรือแม้กระทั้งสามารถค้นหาวิธีการได้เร็วมากขึ้น นอกจากนี้ การทําซ้ํา
จะช่วยทําให้เราประมาณตัวเอง ยอมรับฟังคําตอบสนอง และฝึกฝนตัวเองในการคิดไอเดียใหม่
หลังจากผ่าน การทดลองหรือขั้นตอนในการคิดเชิงออกแบบ การคิดครั้งแรกให้สมบูรณ์(Perfect)
ไม่มีอยู่ในการคิดเชิงออกแบบ แต่ กระบวนการในการสร้าง ทดสอบ และทําซ้ํา จะช่วยให้ไอเดียที่
เกิดขึ้นดีขึ้นทุกครั้งที่ทําใหม่ด้วยเหตุนี้Mindset นี้ ช่วยส่งเสริมทําให้เราสามารถที่ค้นหาสิ่งใหม่
ยอมรับความผิดหรือล้มเหลวเดิม และทําใหม่จนไปถึงจุดที่สามารถ สร้างสรรค์สิ่งที่เป็นนวัตกรรม
ในการออกแบบได้ในที่สุด
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
1. Empathetic toward people’s needs and context
การสร้างความเข้าใจอย่างลึกซึ่งกับความต้องการของคนและบริบทของคน เป็น
ส่วนสําคัญของการออกแบบ โดยใช้มนุษย์หรือคนเป็นศูนย์กลาง (Human-Centered
Design) ซึ่งข้อได้เปรียบสําคัญของการออกแบบที่นําไปสู่ การสร้างนวัตกรรม และโอกาส
ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่Empathy เป็นความสามารถที่จะมองเห็นและรับรู้ถึงประสบ การ
ผ่านการมอง สังเกต คนอีกคนหนึ่ง และทราบได้ว่าคนๆ นั้นทําอะไรและทําไปทําไม
กระบวนการเข้าใจอย่างลึกซึ้ง นั้นอาจจะทําได้ผ่านการทํางานร่วมกัน การรับฟัง การ
สังเกต เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
การเปิดรับความแตกต่างเพื่อสร้างความร่วมมือกันในการทํางานเป็น Mindset ที่
จะช่วยทําให้เกิดโครงการ นวัตกรรมใหม่เนื่องจากว่าทีมงานในการออกแบบเชิงความคิด
จะต้องมาจากหลากหลายสาขา ประสบการณ์และ ความสามารถ ทําให้คนที่เข้ามาร่วมงาน
กันจะมีความสามารถที่จะเข้าร่วมงานกับคนอื่นได้เป็นทีมและสามารถที่จะ เผชิญการ
เปลี่ยนแปลงเชิงพลวัตที่เกิดขึ้นในทีม นอกจากนี้จะต้องเข้าใจถึงการทํางานร่วมกันคนที่
แตกต่างในแง่ของ ลักษณะนิสัย ความสามารถ วิธีการทํางานซึ่งจะสร้างประโยชน์และ
ความได้เปรียบในการสร้างสรรค์งานต่อไป นอกจากนี้Mindset ที่ยอมรับความแตกต่างจะ
ช่วยทําให้สร้างนวัตกรรมที่ดีกว่าคนที่เหมือนกัน ดังน้นความั หลากหลายและแตกต่างที่
เกิดขึ้นในทีมจะเกิดการแลกเปลี่ยนไอเดียและจุดประกายมุมมองที่หลากหลายจะช่วย
ส่งเสริมทําให้เกิดการออกแบบที่มีนวัตกรรม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
การอยากรู้อยากเห็นและการเปิดสู่มุมมองใหม่และการเรียนรู้ใหม่ถือว่าเป็น
Mindset ในการค้นหา แสวงหา หนทางในการแก้ไขปัญหา ในขณะที่นักออกแบบเชิง
ความคิดจะต้องจัดการกับระดับความไม่แน่นอนที่สูง เนื่องจาก กระบวนการค้นหาการ
เรียนรู้ผ่านการค้นหา (Exploring) การทดลอง (Experimenting) การทดสอบ (Testing)
และ การรวบรวมข้อมูลจากหลากหลายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) Mindset ใน
ด้านนี้จะช่วยเป็นส่วนหนึ่งในการ ค้นหา และสร้างการทดสอบเล็กๆ จากหลากหลาย
มุมมองเพื่อที่จะสร้างสรรค์ต้นแบบที่สามารถทดสอบสมมุติฐาน ต่างๆ ได้นอกจากนี้การ
เปิดมุมมองและการอยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่เป็น Mindset ที่จะช่วยทําให้ก้าวเข้าสู่การ
ค้นหาที่ แท้จริงและเป็นส่วนสําคัญกับการออกแบบเชิงความคิด
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
การมีสติต่อกระบวนการและความคิดเป็นการสร้างความตระหนักต่อการทํางานที่
จะต้องทํา ทําไมต้องทํา อย่างนั้น และทําอย่างไร เมื่อเรามีสติต่อการทํางานที่จะแก้ไข
ปัญหาโดยการคิดเชิงออกแบบแล้ว จะช่วยทําให้เรา ทราบและรู้ถึงขั้นตอนในกระบวนการ
ทราบถึงเป้าหมายในทุกช่วงเวลา ด้วยเหตุที่ว่าขั้นตอนในการคิดเชิงออกแบบนั้น มี
กระบวนการที่ขัดแย้งกันไม่ว่าจะเป็นการคิดเชิงรวบรวม (Convergence) และการคิดเชิง
แตกแยก (Divergence) ซึ่งเป็นกระบวนการที่เลือกทางเลือก และสร้างทางเลือก
ตามลําดับ สติต่อกระบวนการและความคิดจะช่วยทําให้ ทราบถึงกระบวนการ หรือทราบ
ถึง รู้ว่ารู้อะไร ในกระบวนการนั้นๆ ดังนั้น Mindset ในการมีสติการตระหนักรู้ถึง
กระบวนการและความคิดนั้น จะช่วยทําให้การออกแบบเชิงความคิดเคลื่อนไปข้างหน้าได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
การเรียนรู้จากประสบการณ์มีส่วนคล้ายคลึงกับการทดสอบและการทําจริงให้
ออกเป็นรูปธรรม Mindset ใน การชื่นชอบที่จะทดลองไอเดีย และสร้างสิ่งที่เป็นจริง เป็น
ส่วนสําคัญในการเปลี่ยนแปลงแนวคิดในการออกแบบที่ไม่ สามารถจับต้องไปไปสู่สิ่งที่
สามารถจับต้องได้การทําสิ่งนี้จะช่วยสร้างความเข้าใจ และสามารถที่จะสื่อสารสิ่งที่เรา
กําลังออกแบบให้กับคนได้อย่างง่ายมากขึ้นร่วมไปถึงช่วยสนับสนุนการได้รับการตอบสนอง
กลับที่จะเป็นข้อมูลที่สําคัญ ในการแก้ไขและพัฒนาการออกแบบให้ดียิ่งขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
การทําอย่างตั้งใจและชัดเจน เป็น Mindset ที่คล้ายกับ Make it ที่กล่าวมา
ข้างต้น “Bias toward action” สะท้อนให้เห็นถึงการมุ่งเน้นพฤติกรรมของการทํา มี
บุคคลที่สําเร็จในวงการธุรกิจหลายคนมักจะกล่าวคําเปรียบเทียบ ที่ว่า “อย่ามัวแต่รํา ให้
ชกเลย” การทําสะท้อนถึงความตั้งใจและชัดเจนกับสิ่งที่คิด และแน่นอนว่าเมื่อทําไปแล้ว
ไม่มี อะไรสมบูรณ์ทั้งหมด 100% หากแต่ว่าเมื่อทําแล้วจะทําให้ทราบว่ามีอะไรผิดจากที่ได้
ตั้งสมมติฐานไว้มีอะไรที่จะต้อง แก้ไข และการ “ทํา” จะทําให้เราเข้าใจถึงกระบวนการใช้
หรือเข้าใจถึงสิ่งที่ออกแบบมาได้อย่างชัดเจน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
การสร้างสรรค์ยังตั้งใจ เป็นกระบวนการสร้างความมั่นใจว่าทุกคนสามารถที่จะมี
แนวคิดอย่างสร้างสรรค์ได้ เฉกเช่นเดียวกับ Creative Confidence ที่กล่าวมากข้างต้น
การส่งเสริมทีมงาน เพื่อนร่วมงานให้เกิดความคิด สร้างสรรค์จะช่วยทําให้สร้าง
สภาพแวดล้อมในองค์กรให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
ยอมรับความไม่แน่นอนและเปิดใจให้กับความเสี่ยง เป็นส่วนสําคัญที่จะต้องเข้าใจ
ว่าจะเกิดขึ้นในการค้นหาใน สิ่งที่ไม่รู้และกําลังต้องการที่จะหาคําตอบ ในสภาพแวดล้อม
และสถานการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนที่ต้องเข้าใจความ ต้องการของคนและผู้ใช้หลายๆ
ครั้งผู้ใช้ที่เราต้องการออกแบบยังไม่ทราบว่าตนเองต้องการอะไร ความเสี่ยงและ ความไม่
แน่นอนเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาในกระบวนการคิดเชิงออกแบบ ดังนั้น Mindset ที่จะยอมรับ
สิ่งต่างๆ ที่ไม่สามารถคาดคะเนได้จะเป็นส่วนหนึ่งที่สามารถทําให้กระบวนการคิดเชิง
ออกแบบเดินต่อไปได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
นักออกแบบเชิงความคิดจะต้องมีMindset ที่จะสามารถรู้ได้ถึงสิ่งที่ต้องการใน
โครงการต่างๆ ที่กําลังทํา การสร้างโมเมนตัมของโครงการและการรวมรวบคนเป็นส่วน
สําคัญที่จะผลักดันโครงการไปข้างหน้าได้อย่างสร้างสรรค์ การช่วยส่งเสริมทีมงานให้เกิด
การออกแบบและสร้างความคิดสร้างสรรค์นั้นมาจากพฤติกรรมและทัศนคติที่เป็นบวก
อาจจะกล่าวได้ว่า Mindset นี้มีส่วนคล้ายคลึงกับ Optimism
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
ความปรารถนาและต้องการที่จะทําในสิ่งที่แตกต่างออกไป เป็น Mindset ที่จะ
สร้างสรรค์สิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน Mindset นี้มีส่วนสัมพันธ์กับความคิดเชิงบวก แต่ความ
ปรารถนาที่จะค้นหาโอกาสที่สร้างการเปลี่ยนแปลงที่มีผลลัพธ์ ในเชิงบวกนั้นจะเป็นส่วน
หนึ่งที่ทําให้นักออกแบบเชิงความคิดต้องการ ดังนั้น Mindset นี้จึงเป็นส่วนกระตุ้นที่สําคัญ
ที่ จะทําให้การออกแบบที่ออกมานั้นเป็นสิ่งที่เกิดการเปลี่ยนแปลง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
การตั้งคําถามที่สําคัญเป็นส่วนประกอบของกระบวนการการคิดเชิงออกแบบที่มี
ขั้นตอนในการเข้าใจ การ นิยาม รวมไปถึงการทดสอบ คําเห็น รวมไปถึงข้อมูลต่างๆ ล้วน
แล้วมาจากการตั้งคําถาม การตั้งคําถามเป็น ความสามารถที่จะเปิดมุมมองใหม่กับความ
เป็นไปได้โดยเฉพาะช่วงเริ่มต้น และ Mindset นี้มีบทบาทที่สําคัญ เนื่องจากว่าจะช่วยทํา
ให้ไอเดียไม่ถูกกดดันโดยไม่ได้มีการทดสอบ ซึ่งไอเดียที่ดีจะสามารถอยู่รอดจากการตั้ง
คําถาม ต่างๆ และพัฒนาไปสู่ผลลัพธ์ที่ยิ่งใหญ่
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
การคิดเชิงออกแบบถือว่าเป็นกระบวนการและ Mindset ซึ่งจําเป็นจะต้องพัฒนา
ควบคู่กันไป อย่างไรก็ดี Mindset ของการคิดเชิงออกแบบอาจกล่าวได้ว่าเป็น Mindset ที่
มีความสําคัญต่อนักศึกษาในการคิด ค้นหา นวัตกรรมใหม่หรือการเผชิญกับสิ่งใหม่ไม่ใช่
เพียงแค่ใช้ในการออกแบบเท่านั้น การสร้าง Mindset ไม่ว่าจะเป็นการ เรียนรู้จากความ
ล้มเหลว การทํา การเข้าใจคน จะเป็นส่วนผลักดันสังคมให้เติบโตขึ้นอย่างมีนวัตกรรม
เพราะ ปลายทางของการคิดเชิงออกแบบ คือการแก้ไขปัญหาอย่างมีนวัตกรรม นอกจากนี้
จะเห็นได้ว่า ไม่ว่าจะเป็น Mindset ที่มาจาก IDEO หรือ Mindset ที่มาจากเอกสารทาง
วิชาการ ต่างมีความคล้ายคลึงกัน ท้ายสุดนี้Creative Confidence จะเป็นส่วนหนึ่งของ
ทุกคน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
1. Mindsets คืออะไร มีบริบทที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง
2. จงยกตัวอย่างสถานการณ์ที่จําเป็นจะต้องใช้Mindset ในการคิดเชิงออกแบบ
และอภิปราย
3. Creative Confidence คืออะไร เป็น Mindset ในลักษณะใด
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 33

More Related Content

What's hot

Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productTeetut Tresirichod
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Mayuree Srikulwong
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาAoun หมูอ้วน
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนNatthawut Sutthi
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการpop Jaturong
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeTeetut Tresirichod
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระKhuanruthai Pomjun
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 

What's hot (20)

Chapter 7 prototype
Chapter 7 prototypeChapter 7 prototype
Chapter 7 prototype
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challenge
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระ
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Similar to Chapter 3 mindsets of design thinking

Design Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptxDesign Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptxMadameMimNattiya1
 
บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์bussaba_pupa
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จmarkable33
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
แบบทดสอบที่1
แบบทดสอบที่1แบบทดสอบที่1
แบบทดสอบที่1Heinrich79
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical groupED-TA-ro
 
ใหม่การพัฒนาชีวิตและสังคม
ใหม่การพัฒนาชีวิตและสังคมใหม่การพัฒนาชีวิตและสังคม
ใหม่การพัฒนาชีวิตและสังคมOh Whoop
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 

Similar to Chapter 3 mindsets of design thinking (20)

Design Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptxDesign Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptx
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
 
Consult
ConsultConsult
Consult
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
แบบทดสอบที่1
แบบทดสอบที่1แบบทดสอบที่1
แบบทดสอบที่1
 
7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
ใหม่การพัฒนาชีวิตและสังคม
ใหม่การพัฒนาชีวิตและสังคมใหม่การพัฒนาชีวิตและสังคม
ใหม่การพัฒนาชีวิตและสังคม
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
Sum scbf
Sum scbfSum scbf
Sum scbf
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 

Chapter 3 mindsets of design thinking

  • 2. 1. เพื่อเข้าใจถึงกระบวนการทางความคิดของการคิดเชิงออกแบบ 2. เพื่อเข้าใจข้อแตกต่างของกระบวนการทางความคิดในแต่ละแบบ 3. เพื่อสามารถนําและประยุกต์กระบวนการทางความคิดดังกล่าวไปใช้ได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
  • 3. Mindsets หรือในบทนี้ที่พยายามแปลว่า กระบวนการทางความคิด ซึ่งเมื่อเปิด พจนานุกรมสามารถแปลได้ว่า เป็นความคิด ความเชื่อที่มีผลต่อพฤติกรรม ทัศนคติและอื่นๆ ซึ่ง ส่วนใหญ่แล้วจะไม่มีการแปลเป็นภาษาไทยแต่ใช้ทับศัพท์ Mindsets เป็นคําเหมือนกันกับ Attitude (ทัศนคติ) และ Belief (ความเชื่อ) เช่นกัน ดังนั้นอาจจะกล่าวได้ว่า Mindsets เป็นสิ่งที่ กระตุ้นเกิดขึ้นมาจริงภายในของคนใดคนหนึ่ง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะตัวที่เกิดขึ้นมาจากการ ผสมผสานประสบการณ์องค์ประกอบ การเลี้ยงดูและ ปัจจัยอื่นๆอีกมากมายเปรียบเสมือนลายมือ ที่ไม่เหมือนกันใน แต่ละคน แต่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงมันได้จากการกระทําในปัจจุบันซึ่งจะ ส่งผลต่อสิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต ทั้งนี้จะ สังเกตได้ว่า Mindsets เป็นความเชื่อ ทัศนคติซึ่งอยู่ใน ความคิดของเรา ทําให้พฤติกรรมมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม ความคิด และหลายๆ ครั้งความคิด สร้างออกมาเป็นจิตใต้สํานึกซึ่งบางครั้งเราไม่อาจสามารถควบคุมได้หรือความคิด ของเราเปลี่ยน ออกเป็นนิสัยประจําตัวไป อย่างที่พระพุทธเจ้ากล่าวไว้ว่า “จิตของท่านสร้างโลกใบนี้ (It is your mind that creates this world)” ดังนั้น Mindsets จึงเป็นสิ่งที่สําคัญของการกระทําและ พฤติกรรมของคน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
  • 4. Mindset หมายถึง ความคิด ความเชื่อที่จะส่งผลต่อพฤติกรรม และ เป็นสิ่งที่ถูก สร้างขึ้นในทางความคิดและ ทัศนคติซึ่งอยู่ภายในตัวบุคคล อย่างไรก็ดีจากทฤษฎีการ ตัดสินใจ (Decision Theory) กล่าวไว้ว่า Mindset คือ ชุดของข้อสมมุติฐาน กระบวนการ หรือ หมายเหตุที่คนใดคน หนึ่งหรือหลายคนยึดถือไว้ A mindset is a set of assumptions, methods, or notations held by one or more people or groups of people ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
  • 5. ได้กล่าวไว้ว่า ในวรรณกรรมเชิงวิชาการทางจิตวิทยาสังคมได้ แบ่งองค์ประกอบ ของ Mindset ไว้ 3 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ 1) Cognitive (Thinking) เป็นส่วนกระบวนความคิด 2) Behavioral (Doing) เป็นส่วนของพฤติกรรมในการกระทํา 3) Affective (Feeling) เป็นส่วนของความรู้สึก ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
  • 6. การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ว่าเป็นการใช้ส่วนประกอบต่างๆ จากเครื่องมือของการออกบ แบบไม่ว่าจะเป็นการสร้างความเข้าใจและการทดสอบเพื่อ นํามาซึ่งนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา โดยการใช้การ คิดเชิงออกแบบนั้นจะมีพื้นฐาน จากการตัดสินใจจากสิ่งที่ลูกค้าจะต้องการในอนาคต ซึ่งจะไม่อ้างอิงจากข้อมูลใน อดีต หรือการใช้สัญชาติญาณในการตัดสินใจแทนที่การใช้หลักฐานที่เกิดขึ้น Design Thinking utilizes elements form the design’s toolkits like empathy and experimentation to arrive at innovative solutions. By using design thinking, you make decisions based on what future customers really want instead of relying only on historical data or making risky bets based on instinct instead of evidence ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
  • 7. การคิดเชิงออกแบบเป็นกระบวนการที่ใช้มนุษย์(คน) เป็นศูนย์กลางในการ สร้างนวัตกรรมซึ่ง ได้ออกแบบจากเครื่องมือในการออกแบบที่ผสมผสานความต้องการ ของคน ความเป็นไปได้ของ เทคโนโลยีและสิ่งที่ธุรกิจจะต้องมีในการสร้างความสําเร็จ “Design thinking is a human -centered approach to innovation that draws from the designer's toolkit to integrate the needs of people, the possibilities of technology, and the requirements for business success.” (Tim Brown, CEO of IDEO) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
  • 11. จากที่กล่าวมาข้างต้น Mindsets ชองการคิดเชิงออกแบบถือว่าเป็นการออกแบบ โดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง ซึ่งไม่เหมือนกับการแก้ไขปัญหาในรูปแบบอื่น โดยสิ่งที่เกิดขึ้น จากการคิดเชิงออกแบบเป็นการกระทําอย่างง่ายๆ การ ทําการทดสอบทดลอง ซึ่งอาจจะ ล้มเหลวช่วงต้นและบ่อยครั้ง นอกจากนี้ยังใช้เวลากับสิ่งที่ไม่รู้คําตอบ แต่ก็ยังมุ่งทํา ต่อไป การคิดเชิงออกแบบจําเป็นที่จะต้องคิดเชิงบวกและเป็นนักปฏิบัตินักทดลองและทดสอบ และเป็นผู้ที่เรียนรู้สิ่ง ที่นักออกแบบเชิงความคิดทําคือการทําความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ทําซ้ํา แล้วซ้ําอีกและพยายามค้นหาสิ่งที่เป็นแรงบันดาลใจในสถานที่ที่ไม่คาดคิด นักออกแบบเชิง ความคิดจะเชื่อว่าทางแก้ไขปัญหามีอยู่เพียงแต่จะต้องมุ่งมั่นและตั้งใจในการ หาจากคนที่ เป็นกลุ่มเป้าหมายที่จะช่วยแก้ไขปัญหา ซึ่งจะใช้กระบวนการถามคําถามที่ถูกต้อง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
  • 12. นักออกแบบเชิงความคิดจะทําการคิดไอเดียที่หลากหลายซึ่งบางอย่างทําได้ บางอย่างทําไม่ได้แต่จะสร้าง ไอเดียให้เกิดเป็นรูปธรรมที่จับต้องได้ซึ่งจะสามารถทดสอบได้ และปรับปรุงไอเดียนั้นให้ดีขึ้น ส่วนสุดท้ายคือการ สร้างสรรค์ที่สุดโต่งเพื่อที่จะผลักดันให้ เกิดนวัตกรรมและความมั่นใจที่จะสร้างแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ไม่เคยคิดว่า จะมีมาก่อน ตั้งแต่เริ่มต้น ด้วยเหตุนี้นักออกแบบเชิงความคิดจะต้องมีMindsets ที่สามารถที่จะเปลี่ยน ให้เป็นการ กระทําดังที่กล่าวมา ทั้งนี้ทั้งนั้น Mindsets ของการคิดเชิงออกแบบ ที่ได้ถูกนําเสนอจากทาง นักวิชาการที่สนใจในหัวข้อ Design Thinking และ องค์กรที่ให้คําปรึกษาด้านการคิดเชิง ออกแบบนั้น ได้ถูกนําเสนอมาอย่างมากมาย อย่างไรก็ดีสําหรับ บทนี้จะนําเสนอ Mindset จากเอกสารเชิงวิชาการ และ Mindset จาก IDEO ซึ่งเป็นองค์กรที่ให้คําปรึกษาด้านการ คิดเชิงออกแบบ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
  • 13. 1. Creative Confidence David Kelley เชื่อว่าทุกคนสามารถที่จะเป็นนักออกแบบได้เพียงแต่ว่ายังไม่ได้ ปลดปล่อยความสามารถของ ตนเองออกมา Creative Confidence เป็นความเชื่อว่าทุกๆ คนมี ความคิดสร้างสรรค์และความคิดสร้างสรรค์ไม่เป็น ขีดความสามารถในการวาด การออกแบบ แต่ เป็นหนทางของความเข้าใจโลกนี้ดังนั้น Creative Confidence จึงเป็น Mindset ของนัก ออกแบบที่จะสามารถก้าวข้ามสิ่งบางอย่าง เชื่อในสิ่งที่เป็นสัญชาติญาณ (Intuition) และสามารถ ที่ ติดตามแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ยังไม่มีใครสามารถที่จะคิดออกได้นอกจากนี้ยังเชื่อว่าจะ สามารถคิดถึงแนวทางการ แก้ไขปัญหาที่ใหญ่ได้การสร้างความมั่นใจที่จะสร้างสรรค์(Creative Confidence) จะช่วยผลักดันและขับเคลื่อนให้ เกิดการทําสิ่งต่างๆ ทดสอบและทําอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะต้องใช้เวลาในการที่จะสร้างและส่วนหนึ่งในการที่จะไปถึงจุด นั้นได้คือการเชื่อว่า กระบวนการการออกแบบโดยใช้คนเป็นศูนย์กลางจะเปิดเผยแนวทางการสร้างสรรค์ต่อปัญหาทุก ปัญหาที่เข้ามา และเมื่อสามารถเริ่มจากความสําเร็จเล็กๆ สิ่งที่ตามมาคือความสําเร็จที่ใหญ่ขึ้น และใหญ่ขึ้น และ สุดท้าย Mindset นี้จะช่วยทําให้เราเป็นบุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ที่แตกต่าง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
  • 14. Mindsets ในการ “ทํา” (Make it) เป็น ส่วนหนึ่งที่เป็นพลังของความสามารถที่จะจับ ต้องได้(The power of tangibility) ซึ่งเมื่อเราสามารถที่จะทําไอเดียให้เกิดขึ้นมาเป็นจริงได้จะ ช่วยทําให้สิ่งต่างๆ เปิดเผยออกมามากกว่า ทฤษฎีจะสามารถทําได้จะเห็นได้ว่าเมื่อสิ่งที่เราต้องการ ขึ้นการสร้างกระบวนการแก้ไขที่สามารถเกิดผลลัพธ์สู่โลกนี้เรา ไม่สามารถอยู่กับสิ่งที่เป็น นามธรรม (abstract) ได้ดังนั้นจะต้องทําให้เกิดขึ้นจริงและจับต้องได้นักออกแบบที่ใช้คน เป็น ศูนย์กลางนั้นเป็นคนทํา ทดลอง และสร้าง ซึ่งสามารถสร้างอะไรบ้างอยากจากสิ่งที่ทิ้งแล้วไม่ว่าจะ เห็นกล่อง กระดาษ กรรไกร จนไปถึง เครื่องมือที่เกี่ยวกับ Digitals นักออกแบบเชิงความคิดจะ สร้างไอเดียและทดสอบสิ่งเหล่านั้น เพราะว่าเมื่อสร้างให้เกิดเป็นสิ่งที่จับต้องได้จะทําให้เห็นโอกาส อีกทั้งยังทําให้เราเห็นถึงความสลับซับซ้อนที่ ไม่เคยคิดมาก่อน การ “ทํา” เป็นแนวทางในการคิด และช่วยทําให้มองเห็นถึงความเป็นไปได้ในการออกแบบ นอกจากนี้การทําไอเดียให้เกิดขึ้นเป็น รูปธรรมที่จับต้องได้ส่งผลทําให้สามารถที่แชร์สิ่งเหล่านั้นและทําให้ทราบถึงผล สะท้อนกลับกับสิ่ง ที่เราทําออกมาได้ซึ่งทําให้ทราบถึงการปรับปรุงไอเดียให้ดีขึ้นต่อไป ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
  • 15. ความล้มเหลวเป็นเครื่องมือที่มีศักยภาพมากในการเรียนรู้การทดสอบสิ่งที่ออกแบบ ต้นแบบ รวมไปถึงการ ทดสอบสิ่งที่ทําออกมาจากการทดสอบเป็นหัวใจของการออกแบบโดยใช้ คนเป็นศูนย์กลาง ดังนั้น Mindset ของการใช้ ความล้มเหลวในการเรียนรู้จะเป็นส่วนสําคัญที่จะ ช่วยทําให้เกิดการพัฒนาขึ้นในการออกแบบ แน่นอนว่านักออกแบบ เชิงความคิดจะค้นหาในการ แก้ไขปัญหาที่ใหญ่และยอมรับในสิ่งที่ล้มเหลวซึ่งจะทําให้เราเรียนรู้จากความล้มเหลวนั้น จนมีคํา กล่าวที่ว่า “Fail early to succeed sooner” หรือ “ล้มก่อนเพื่อที่จะสําเร็จเร็วขึ้น” ดังนั้นการ อนุญาตตัวเอง ให้ล้มเหลวได้เป็นส่วนสําคัญในการสร้างการเรียนรู้และความสําเร็จ นอกจากนี้การ อนุญาตให้ล้มเหลวจะช่วยทําให้เรา ยอมรับความเสี่ยง และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ Thomas Edison ยังเคยกล่าวไว้ว่าหลังการทดสอบประดิษฐ์หลอดไฟไว้ ว่า “ฉันไม่ได้ล้มเหลว แต่ฉันได้พบ กว่ามี 10,000 วิธีการที่มันไม่ทํางาน (I have not failed. I’ve just found 10,000 ways that won’t work)” การตั้งเป้าว่าจะต้องทําถูกถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องกับการออกแบบสิ่งใหม่ๆ เนื่องจากว่าสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาไม่มีคําว่าถูกหรือผิด มีเพียงแต่ว่าสามารถแก้ไขปัญหาได้หรือไม่ได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
  • 16. การเข้าใจอย่างลึกซึ้ง (Empathy) ถือได้ว่าเป็นกระบวนการเริ่มต้นสําหรับการคิด เชิงออกแบบนอกจากนี้ Empathy เป็นความสามารถในการเข้าไปยืนอยู่ในรองเท้าคนอีก คนหนึ่ง หรือเข้าใจคนคนนั้นอย่างลึกซึ่ง ไม่ว่าจะเป็น ชีวิตของเขา การออกแบบโดยใช้คน เป็นศูนย์กลางจําเป็นจะต้องเข้าใจคนๆ นั้น เพื่อที่จะเป็นหนทางหรือแนวทางใน การคนหา วิธีการแก้ไขปัญหาอย่างมีนวัตกรรม สิ่งที่นักออกแบบเชิงความคิดจะต้องทําความเข้าไปอยู่ ในสภาพของคน ที่เราต้องการแก้ไขปัญหา เราจะต้องเข้าใจสิ่งที่เขาเป็นอยู่รวมไปถึงการ นําเข้าสู่กระบวนการการออกแบบ ด้วยเหตุนี้ เอง Mindset ในด้าน Empathy จะช่วยทํา ให้นักออกแบบมองเห็นโลก และโอกาสทั้งหมดในการทําให้ดีขึ้นผ่าน มุมมองใหม่ที่มี ศักยภาพ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
  • 17. การอยู่กับความกํากวม (Embrace ambiguity) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการที่นัก ออกแบบเชิงความคิดเริ่มต้น จากสิ่งที่ไม่รู้คําตอบจนถึงปัญหาที่เขาต้องการค้นหาเพื่อแก้ไข ดังนั้นการสร้าง Mindset ที่ให้ตัวเองออกไปสู่โลกและ พูดคุยกับผู้คนที่เราต้องการแก้ไข ปัญหานั้น จะช่วยทําให้เราสามารถเปิดมุมมองใหม่ที่เรายังไม่เคยรู้ได้หลายๆ ครั้งยัง ทําให้ พบแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ไม่คาดคิดได้โดยการเชื่อมั่นว่ากระบวนการออกแบบโดยใช้ คนเป็นศูนย์กลางนั้น จะช่วยชี้ทางไปสู่คําตอบที่เป็นนวัตกรรม นอกจากนี้การเชื่อว่ามัน มีไอเดียมากกว่านั้น และไม่ยึดติดกับไอเดียใดไอเดีย หนึ่งจะทําให้เกิดกระบวนการที่ ขับเคลื่อนไปข้างหน้า จะเห็นได้ว่าหาว่าเรารู้คําตอบตั้งแต่เริ่มต้นมันไม่สามารถที่จะทํา ให้ เราเรียนรู้อะไรได้และไม่สามารถที่จะคิดสิ่งที่เป็นนวัตกรรมที่สร้างสรรค์ได้ดังนั้น Embrace Ambiguity จะช่วย ทําให้เราเป็นอิสระเพื่อที่จะมุ่งเข้าหาคําตอบที่เราไม่ได้เริ่มคิดตั้งแต่ต้น และช่วยผลักดันให้เราสามารถที่จะสร้าง นวัตกรรมและในที่สุดสร้างผลลัพธ์ให้เกิดขึ้นได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
  • 18. การคิดบวก จะช่วยทําให้เราเข้าถึงสิ่งที่เป็นไปได้โดยเฉพาะไอเดียที่เรายังไม่รู้ คําตอบ แต่คําตอบนั้นยังตั้งอยู่ เพื่อที่เราจะหาพบได้ในการที่จะขับเคลื่อนเพื่อค้นหา คําตอบ การคิดบวก (Optimism) จะทําให้เราเกิดความคิด สร้างสรรค์ที่มากกว่า กล้าที่จะ ผลักดันให้เราขับเคลื่อนไปข้างหน้า สิ่งที่เกิดขึ้นคือการคิดบวกทําให้นักออกแบบเชิง ความคิดอดทนที่จะค้นหาและผ่านอุปสรรคต่างๆได้ซึ่งแน่นอนว่าอุปสรรค์เป็นสิ่งที่ไม่ ปรารถนา แต่บ่อยครับนัก ออกแบบพบว่าอุปสรรคเหล่านั้นช่วยผลักดันทําให้เกิดการสร้าง แนวทางการแก้ไขปัญหาที่คาดไม่ถึง ดังนั้นความเชื่อใน การคิดบอกว่าที่ว่า ทุกๆ ปัญหา สามารถแก้ไขได้จึงเป็น Mindset ของนักออกแบบเชิงความคิด ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
  • 19. การทําซ้ําแล้วซ้ําอีก เป็นกระบวนการที่สําคัญในการแก้ไขปัญหา เนื่องจากว่าการรับฟัง ปัญหาตอบกลับจาก คนที่เราเข้าไปแก้ไขปัญหานั้นเป็นส่วนสําคัญที่จะช่วยทําให้เกิดการแก้ไข ปัญหาอย่างมีนวัตกรรม ด้วยเหตุนี้การทําซ้ํา การกลั่นกรอง การปรับปรุงให้ดีขึ้นจะช่วยทําให้เรา สามารถที่คิดไอเดียใหม่ได้มากขึ้น การพยายามทําลองแนวทาง หลายๆ ทางจะช่วยปลดปล่อย ความคิดสร้างสรรค์ของเราหรือแม้กระทั้งสามารถค้นหาวิธีการได้เร็วมากขึ้น นอกจากนี้ การทําซ้ํา จะช่วยทําให้เราประมาณตัวเอง ยอมรับฟังคําตอบสนอง และฝึกฝนตัวเองในการคิดไอเดียใหม่ หลังจากผ่าน การทดลองหรือขั้นตอนในการคิดเชิงออกแบบ การคิดครั้งแรกให้สมบูรณ์(Perfect) ไม่มีอยู่ในการคิดเชิงออกแบบ แต่ กระบวนการในการสร้าง ทดสอบ และทําซ้ํา จะช่วยให้ไอเดียที่ เกิดขึ้นดีขึ้นทุกครั้งที่ทําใหม่ด้วยเหตุนี้Mindset นี้ ช่วยส่งเสริมทําให้เราสามารถที่ค้นหาสิ่งใหม่ ยอมรับความผิดหรือล้มเหลวเดิม และทําใหม่จนไปถึงจุดที่สามารถ สร้างสรรค์สิ่งที่เป็นนวัตกรรม ในการออกแบบได้ในที่สุด ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
  • 21. 1. Empathetic toward people’s needs and context การสร้างความเข้าใจอย่างลึกซึ่งกับความต้องการของคนและบริบทของคน เป็น ส่วนสําคัญของการออกแบบ โดยใช้มนุษย์หรือคนเป็นศูนย์กลาง (Human-Centered Design) ซึ่งข้อได้เปรียบสําคัญของการออกแบบที่นําไปสู่ การสร้างนวัตกรรม และโอกาส ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่Empathy เป็นความสามารถที่จะมองเห็นและรับรู้ถึงประสบ การ ผ่านการมอง สังเกต คนอีกคนหนึ่ง และทราบได้ว่าคนๆ นั้นทําอะไรและทําไปทําไม กระบวนการเข้าใจอย่างลึกซึ้ง นั้นอาจจะทําได้ผ่านการทํางานร่วมกัน การรับฟัง การ สังเกต เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
  • 22. การเปิดรับความแตกต่างเพื่อสร้างความร่วมมือกันในการทํางานเป็น Mindset ที่ จะช่วยทําให้เกิดโครงการ นวัตกรรมใหม่เนื่องจากว่าทีมงานในการออกแบบเชิงความคิด จะต้องมาจากหลากหลายสาขา ประสบการณ์และ ความสามารถ ทําให้คนที่เข้ามาร่วมงาน กันจะมีความสามารถที่จะเข้าร่วมงานกับคนอื่นได้เป็นทีมและสามารถที่จะ เผชิญการ เปลี่ยนแปลงเชิงพลวัตที่เกิดขึ้นในทีม นอกจากนี้จะต้องเข้าใจถึงการทํางานร่วมกันคนที่ แตกต่างในแง่ของ ลักษณะนิสัย ความสามารถ วิธีการทํางานซึ่งจะสร้างประโยชน์และ ความได้เปรียบในการสร้างสรรค์งานต่อไป นอกจากนี้Mindset ที่ยอมรับความแตกต่างจะ ช่วยทําให้สร้างนวัตกรรมที่ดีกว่าคนที่เหมือนกัน ดังน้นความั หลากหลายและแตกต่างที่ เกิดขึ้นในทีมจะเกิดการแลกเปลี่ยนไอเดียและจุดประกายมุมมองที่หลากหลายจะช่วย ส่งเสริมทําให้เกิดการออกแบบที่มีนวัตกรรม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
  • 23. การอยากรู้อยากเห็นและการเปิดสู่มุมมองใหม่และการเรียนรู้ใหม่ถือว่าเป็น Mindset ในการค้นหา แสวงหา หนทางในการแก้ไขปัญหา ในขณะที่นักออกแบบเชิง ความคิดจะต้องจัดการกับระดับความไม่แน่นอนที่สูง เนื่องจาก กระบวนการค้นหาการ เรียนรู้ผ่านการค้นหา (Exploring) การทดลอง (Experimenting) การทดสอบ (Testing) และ การรวบรวมข้อมูลจากหลากหลายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) Mindset ใน ด้านนี้จะช่วยเป็นส่วนหนึ่งในการ ค้นหา และสร้างการทดสอบเล็กๆ จากหลากหลาย มุมมองเพื่อที่จะสร้างสรรค์ต้นแบบที่สามารถทดสอบสมมุติฐาน ต่างๆ ได้นอกจากนี้การ เปิดมุมมองและการอยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่เป็น Mindset ที่จะช่วยทําให้ก้าวเข้าสู่การ ค้นหาที่ แท้จริงและเป็นส่วนสําคัญกับการออกแบบเชิงความคิด ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
  • 24. การมีสติต่อกระบวนการและความคิดเป็นการสร้างความตระหนักต่อการทํางานที่ จะต้องทํา ทําไมต้องทํา อย่างนั้น และทําอย่างไร เมื่อเรามีสติต่อการทํางานที่จะแก้ไข ปัญหาโดยการคิดเชิงออกแบบแล้ว จะช่วยทําให้เรา ทราบและรู้ถึงขั้นตอนในกระบวนการ ทราบถึงเป้าหมายในทุกช่วงเวลา ด้วยเหตุที่ว่าขั้นตอนในการคิดเชิงออกแบบนั้น มี กระบวนการที่ขัดแย้งกันไม่ว่าจะเป็นการคิดเชิงรวบรวม (Convergence) และการคิดเชิง แตกแยก (Divergence) ซึ่งเป็นกระบวนการที่เลือกทางเลือก และสร้างทางเลือก ตามลําดับ สติต่อกระบวนการและความคิดจะช่วยทําให้ ทราบถึงกระบวนการ หรือทราบ ถึง รู้ว่ารู้อะไร ในกระบวนการนั้นๆ ดังนั้น Mindset ในการมีสติการตระหนักรู้ถึง กระบวนการและความคิดนั้น จะช่วยทําให้การออกแบบเชิงความคิดเคลื่อนไปข้างหน้าได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
  • 25. การเรียนรู้จากประสบการณ์มีส่วนคล้ายคลึงกับการทดสอบและการทําจริงให้ ออกเป็นรูปธรรม Mindset ใน การชื่นชอบที่จะทดลองไอเดีย และสร้างสิ่งที่เป็นจริง เป็น ส่วนสําคัญในการเปลี่ยนแปลงแนวคิดในการออกแบบที่ไม่ สามารถจับต้องไปไปสู่สิ่งที่ สามารถจับต้องได้การทําสิ่งนี้จะช่วยสร้างความเข้าใจ และสามารถที่จะสื่อสารสิ่งที่เรา กําลังออกแบบให้กับคนได้อย่างง่ายมากขึ้นร่วมไปถึงช่วยสนับสนุนการได้รับการตอบสนอง กลับที่จะเป็นข้อมูลที่สําคัญ ในการแก้ไขและพัฒนาการออกแบบให้ดียิ่งขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
  • 26. การทําอย่างตั้งใจและชัดเจน เป็น Mindset ที่คล้ายกับ Make it ที่กล่าวมา ข้างต้น “Bias toward action” สะท้อนให้เห็นถึงการมุ่งเน้นพฤติกรรมของการทํา มี บุคคลที่สําเร็จในวงการธุรกิจหลายคนมักจะกล่าวคําเปรียบเทียบ ที่ว่า “อย่ามัวแต่รํา ให้ ชกเลย” การทําสะท้อนถึงความตั้งใจและชัดเจนกับสิ่งที่คิด และแน่นอนว่าเมื่อทําไปแล้ว ไม่มี อะไรสมบูรณ์ทั้งหมด 100% หากแต่ว่าเมื่อทําแล้วจะทําให้ทราบว่ามีอะไรผิดจากที่ได้ ตั้งสมมติฐานไว้มีอะไรที่จะต้อง แก้ไข และการ “ทํา” จะทําให้เราเข้าใจถึงกระบวนการใช้ หรือเข้าใจถึงสิ่งที่ออกแบบมาได้อย่างชัดเจน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
  • 27. การสร้างสรรค์ยังตั้งใจ เป็นกระบวนการสร้างความมั่นใจว่าทุกคนสามารถที่จะมี แนวคิดอย่างสร้างสรรค์ได้ เฉกเช่นเดียวกับ Creative Confidence ที่กล่าวมากข้างต้น การส่งเสริมทีมงาน เพื่อนร่วมงานให้เกิดความคิด สร้างสรรค์จะช่วยทําให้สร้าง สภาพแวดล้อมในองค์กรให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
  • 28. ยอมรับความไม่แน่นอนและเปิดใจให้กับความเสี่ยง เป็นส่วนสําคัญที่จะต้องเข้าใจ ว่าจะเกิดขึ้นในการค้นหาใน สิ่งที่ไม่รู้และกําลังต้องการที่จะหาคําตอบ ในสภาพแวดล้อม และสถานการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนที่ต้องเข้าใจความ ต้องการของคนและผู้ใช้หลายๆ ครั้งผู้ใช้ที่เราต้องการออกแบบยังไม่ทราบว่าตนเองต้องการอะไร ความเสี่ยงและ ความไม่ แน่นอนเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาในกระบวนการคิดเชิงออกแบบ ดังนั้น Mindset ที่จะยอมรับ สิ่งต่างๆ ที่ไม่สามารถคาดคะเนได้จะเป็นส่วนหนึ่งที่สามารถทําให้กระบวนการคิดเชิง ออกแบบเดินต่อไปได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
  • 29. นักออกแบบเชิงความคิดจะต้องมีMindset ที่จะสามารถรู้ได้ถึงสิ่งที่ต้องการใน โครงการต่างๆ ที่กําลังทํา การสร้างโมเมนตัมของโครงการและการรวมรวบคนเป็นส่วน สําคัญที่จะผลักดันโครงการไปข้างหน้าได้อย่างสร้างสรรค์ การช่วยส่งเสริมทีมงานให้เกิด การออกแบบและสร้างความคิดสร้างสรรค์นั้นมาจากพฤติกรรมและทัศนคติที่เป็นบวก อาจจะกล่าวได้ว่า Mindset นี้มีส่วนคล้ายคลึงกับ Optimism ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
  • 30. ความปรารถนาและต้องการที่จะทําในสิ่งที่แตกต่างออกไป เป็น Mindset ที่จะ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน Mindset นี้มีส่วนสัมพันธ์กับความคิดเชิงบวก แต่ความ ปรารถนาที่จะค้นหาโอกาสที่สร้างการเปลี่ยนแปลงที่มีผลลัพธ์ ในเชิงบวกนั้นจะเป็นส่วน หนึ่งที่ทําให้นักออกแบบเชิงความคิดต้องการ ดังนั้น Mindset นี้จึงเป็นส่วนกระตุ้นที่สําคัญ ที่ จะทําให้การออกแบบที่ออกมานั้นเป็นสิ่งที่เกิดการเปลี่ยนแปลง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
  • 31. การตั้งคําถามที่สําคัญเป็นส่วนประกอบของกระบวนการการคิดเชิงออกแบบที่มี ขั้นตอนในการเข้าใจ การ นิยาม รวมไปถึงการทดสอบ คําเห็น รวมไปถึงข้อมูลต่างๆ ล้วน แล้วมาจากการตั้งคําถาม การตั้งคําถามเป็น ความสามารถที่จะเปิดมุมมองใหม่กับความ เป็นไปได้โดยเฉพาะช่วงเริ่มต้น และ Mindset นี้มีบทบาทที่สําคัญ เนื่องจากว่าจะช่วยทํา ให้ไอเดียไม่ถูกกดดันโดยไม่ได้มีการทดสอบ ซึ่งไอเดียที่ดีจะสามารถอยู่รอดจากการตั้ง คําถาม ต่างๆ และพัฒนาไปสู่ผลลัพธ์ที่ยิ่งใหญ่ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
  • 32. การคิดเชิงออกแบบถือว่าเป็นกระบวนการและ Mindset ซึ่งจําเป็นจะต้องพัฒนา ควบคู่กันไป อย่างไรก็ดี Mindset ของการคิดเชิงออกแบบอาจกล่าวได้ว่าเป็น Mindset ที่ มีความสําคัญต่อนักศึกษาในการคิด ค้นหา นวัตกรรมใหม่หรือการเผชิญกับสิ่งใหม่ไม่ใช่ เพียงแค่ใช้ในการออกแบบเท่านั้น การสร้าง Mindset ไม่ว่าจะเป็นการ เรียนรู้จากความ ล้มเหลว การทํา การเข้าใจคน จะเป็นส่วนผลักดันสังคมให้เติบโตขึ้นอย่างมีนวัตกรรม เพราะ ปลายทางของการคิดเชิงออกแบบ คือการแก้ไขปัญหาอย่างมีนวัตกรรม นอกจากนี้ จะเห็นได้ว่า ไม่ว่าจะเป็น Mindset ที่มาจาก IDEO หรือ Mindset ที่มาจากเอกสารทาง วิชาการ ต่างมีความคล้ายคลึงกัน ท้ายสุดนี้Creative Confidence จะเป็นส่วนหนึ่งของ ทุกคน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
  • 33. 1. Mindsets คืออะไร มีบริบทที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง 2. จงยกตัวอย่างสถานการณ์ที่จําเป็นจะต้องใช้Mindset ในการคิดเชิงออกแบบ และอภิปราย 3. Creative Confidence คืออะไร เป็น Mindset ในลักษณะใด ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 33