SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
5 พฤษภาคม 2561
Stephen R. Covey
If you are one of the millions of people who have bought and read Stephen Covey’s ‘The 7
Habits of Highly Effective People’, then you need no further recommendation than this:
3rd Alternative develops further the fifth and sixth habit presented in that book.
เกี่ยวกับผู้ประพันธ์
 Stephen Covey เป็นนักประพันธ์ นักการศึกษา และนักธุรกิจชาว
อเมริกัน ที่นิตยสาร Time จัดให้เป็น "หนึ่งใน 25 ชาวอเมริกันที่มี
อิทธิพลมากที่สุด" ในปี ค.ศ. 1996
 เขามีชื่อเสียงจากหนังสือเรื่อง "The 7 Habits of Highly Effective
People" ซึ่งนิตยสาร Forbes จัดให้เป็น "หนึ่งใน 10 หนังสือทางธุรกิจ
ที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์"
 และยังมีหนังสืออีกหลายเล่มที่ได้รับการกล่าวถึง ได้แก่ "First Things
First", "Principle-Centered Leadership" และ "The 8th Habit"
 หลังจากเกิดอุบัติเหตุการขี่จักรยาน Stephen Covey ได้เสียชีวิตใน
วันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2012 ตอนอายุ 79 ปี
เกริ่นนา
 การติดอยู่ในความคิด "ต่อสู้หรือหลบหนี (fight or flight)" มีมา
ตั้งแต่สมัย Neanderthals แล้วจะมีทางออกอื่นหรือไม่?
 Stephen Covey กล่าวว่า มีอีกทางเลือกหนึ่งให้เลือก คือ
"ทางเลือกที่ 3 (The 3rd Alternative)" ซึ่งเป็นวิถีหนึ่งของชีวิต ที่
สามารถช่วยคุณแก้ปัญหาที่ยากที่สุดในชีวิตได้
ทางเลือกที่ 3
 หนังสือ ทางเลือกที่ 3 ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 2011 และเป็นหนังสือ
เล่มสุดท้ายของ Stephen Covey
 "มีวิธีการแก้ปัญหาที่ยากที่สุดที่เราเผชิญ ที่แม้กระทั่งมองแล้วไม่
สามารถจะแก้ปัญหาได้" เขาเขียน "เกือบทุกชีวิต มีเส้นทาง
วิกฤติที่ตัดผ่าน ในการเลือกหนทางที่มีความเสี่ยงและการ
แตกแยกที่ร้าวลึก แต่ก็ยังมีหนก้าวทางไปข้างหน้า ที่ไม่ใช่วิธีของ
คุณและไม่ใช่วิธีของฉัน แต่เป็นวิธีที่สูงกว่า เป็นวิธีที่ดีกว่าสิ่งที่
เราเคยคิด ผมเรียกมันว่า ทางเลือกที่ 3 (the 3rd Alternative)"
การประนีประนอมและการผนึกพลัง
 ความขัดแย้งส่วนใหญ่มีสองฝ่ าย ไม่มีความขัดแย้งใดที่ดี ไม่ใช่
เพราะผิดทั้งคู่ แต่ตรงกันข้าม ทั้งสองฝ่ ายอาจมีคุณธรรมก็ได้
 การประนีประนอม (Compromising) ทาให้ทั้งสองฝ่ ายสูญเสีย
 การผนึกพลัง (Synergizing) คือทางเลือกที่ 3 ที่มีผลตรงกันข้าม
เป็นสถานการณ์ที่ชนะด้วยกันทั้งสองฝ่ าย เพราะเป็นวิธีการที่
สูงขึ้น เป็นการสังเคราะห์ฝ่ ายตรงข้าม ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่เป็นการ
ประนีประนอมเท่านั้น แต่ยังเป็นการแก้ปัญหาทางความคิดที่
กว้างขึ้น ซึ่งตรงข้ามกับความต้องการของ "ฉัน" และ "คุณ"
เน้นชนะด้วยกัน
 ถ้าคุณจาได้เกี่ยวกับ การผนึกพลัง (synergize) เป็นอุปนิสัยที่หก
ของ Covey ที่มีใน 7 อุปนิสัยของคนที่มีประสิทธิภาพสูง
 ในความเป็นจริง "ทางเลือกที่ 3" เป็นรายละเอียดและพฤติกรรม
ที่เกี่ยวข้องกับ "การพึ่งพาอาศัยกันและกัน (Interdependence)
คือ การคิดแบบชนะด้วยกัน (think win-win) และ แสวงหาความ
เข้าใจเขา ก่อนที่จะให้เขาเข้าใจเรา (seek first to understand
than to be understood)"
 การใช้การคิดใหม่ของ ทางเลือกที่ 3 คุณจาเป็นต้องเรียนรู้การใช้
กระบวนทัศน์ในการคิดทั้งสี่แบบ
กระบวนทัศน์ในการคิดทั้งสี่แบบ:
 กระบวนทัศน์ที่ 1: ฉันเห็นตัวเอง (I See Myself)
 กระบวนทัศน์ที่ 2: ฉันเห็นคุณ (I See You)
 กระบวนทัศน์ที่ 3: ฉันมองคุณออกแล้ว (I Seek You Out)
 กระบวนทัศน์ที่ 4: ฉันผนึกพลังกับคุณ (I Synergize with You)
กระบวนทัศน์ที่ 1: ฉันเห็นตัวเอง
 นี่คือรากฐาน ของทุกกระบวนการคิดที่ถูกต้อง
 นั่นคือ การฝึกฝนศิลปะของกรีกโบราณในการ รู้จักตัวเอง
(knowing thyself)
 เนื่องจากเมื่อคุณก้าวออกไปนอกเขตแดนของข้อจากัดและอัตตา
ของคุณแล้ว คุณจะได้รับ "ชัยชนะส่วนตัว (private victory)"
เล็กๆ ซึ่งจะช่วยให้คุณเข้าใจถึงความต้องการของผู้อื่น และ
ปัญหาที่ยังไม่มีทางแก้ที่เกิดขึ้นจริง
กระบวนทัศน์ที่ 2: ฉันเห็นคุณ
 ตอนนี้ คุณเข้าใจเรื่องของคุณด้วยตัวเองแล้ว ลองทาแบบเดียวกัน
กับผู้ที่คุณขัดแย้งด้วย
 เป็นการ เอาใจเขามาใส่ใจเรา (Step outside your shoes and into
the shoes of the other)
กระบวนทัศน์ที่ 3: ฉันมองคุณออกแล้ว
 นี่เป็นคาจากัดความของ Covey ที่ชี้แจงถึงอุปนิสัย "แสวงหา
ความเข้าใจผู้อื่น ก่อนที่จะให้เขาเข้าใจเรา (seek first to
understand than to be understood)" ซึ่งเขากล่าวว่า เป็น
ผลกระทบสาคัญที่สุดในชีวิตของเขา จากอุปนิสัยทั้งเจ็ด (และ
ต่อมามีแปดอุปนิสัย)
 เคล็ดลับง่ายๆ คือ อย่าหวังว่าคนอื่นจะเข้าใจคุณ ถ้าคุณไม่
พยายามทาความเข้าใจกับพวกเขาก่อน
กระบวนทัศน์ที่ 4: ฉันผนึกพลังกับคุณ
 นี่คือขั้นตอนที่ยาวที่สุดและสาคัญที่สุด
 กระบวนการ 4 ขั้นตอนใน การผนึกพลัง (synergizing) คือ
 1. ถามคาถาม ทางเลือกที่ 3 (Ask the 3rd Alternative Question)
 2. กาหนดเกณฑ์ความสาเร็จ (Define Criteria of Success)
 3. สร้างทางเลือกที่ 3 ที่หลากหลาย (Create 3rd Alternatives)
 4. การผนึกพลังจริง (Arrive at Synergy)
1. ถามคาถาม ทางเลือกที่ 3
 Covey กล่าวว่า นี่เป็นการปฏิวัติ เพราะไม่ได้ขอให้ทุกคนละทิ้ง
ความคิดของเขา แต่เป็นการถามคนอื่นๆ เพื่อตรวจสอบว่า
วิธีการของเขาดีที่สุดแล้วหรือไม่
 และคาถามก็คือ "คุณยินดีที่จะหาวิธีแก้ปัญหาที่ดีกว่าที่พวกเรา
ทุกคนคิดขึ้นมาหรือไม่?" (Are you willing to go for a solution
that is better than any of us have come up with yet?)
2. กาหนดเกณฑ์ความสาเร็จ
 ส่วนนี้ จะเริ่มต้นด้วยคาถามว่า "สิ่งที่ดีกว่าจะมีลักษณะอย่างไร?"
 ความคิดนี้ คืออะไร?
 เพื่อให้เกิดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนในสิ่งที่จะตามมา เกณฑ์ที่ทาให้ทั้ง
สองฝ่ ายพอใจในการอภิปราย
3. สร้างทางเลือกที่ 3 ที่หลากหลาย
 ขั้นตอนนี้ คุณและคู่ของคุณ ปรับกระบวนการคิดแบบกลับหัว
กลับหาง สร้างต้นแบบ มีการระดมความคิดใหม่ๆ และที่สาคัญ
ที่สุดคือ ระงับการตัดสินถูกผิดไว้ชั่วครู่
 เคล็ดลับคืออะไร?
 ให้ทดลองกับความเป็นไปได้ที่สุดโต่ง
 เพราะอย่างน้อย นี่คือส่วนทั้งหมดที่เราคิดได้
4. ผนึกพลังจริง
 จากนี้ เป็นเรื่องง่าย
 เนื่องจากบางส่วนของวิธีการแก้ปัญหาเหล่านี้ จะอยู่ใน ทางเลือก
ที่ 3 (ขั้นตอนที่ 3)
 เป็นการนาสิ่งที่ดีที่สุดจากทั้งสองขั้ว ที่ทาให้ทั้งสองฝ่ ายมี
ความสุขและมีเนื้ อหาสาระ
สรุป
 ทางเลือกที่ 3 เป็นหนังสือเล่มสุดท้ายของ Stephen Covey ที่
ตีพิมพ์ในปีการเสียชีวิตของเขา ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่ผู้ชายที่ยิ่งใหญ่
คนนี้ สามารถให้ได้
 หนังสือนี้ เป็นมากกว่าหนังสือทางธุรกิจ เนื่องจากมีการสอนและ
นาเสนอวิสัยทัศน์ในการเป็นผู้นา ที่เหนือกว่าขอบเขตการทา
ธุรกิจ โดยการครอบคลุมถึงผู้นาทางสังคม ผู้นาที่ไม่แสวงหาผล
กาไร และผู้นาทางการเมือง
บทเรียนจากกระบวนทัศน์ที่ 1: ฉันเห็นตัวเอง
 เรื่องราวของฉันคืออะไร? ฉันจาเป็นต้องเปลี่ยนบทบาทหรือไม่?
 1. ฉันอาจมีจุดบอดเกี่ยวกับตัวเอง อะไรบ้าง?
 2. วัฒนธรรมของฉัน มีอิทธิพลต่อความคิดของฉันอย่างไร?
 3. อะไรคือเหตุผลที่แท้จริงของฉัน?
 4. สมมติฐานของฉันถูกต้องหรือไม่?
 5. มีอะไรบ้าง ที่ทาให้สมมติฐานของฉันไม่สมบูรณ์?
 6. ฉันมีส่วนร่วมในผลลัพธ์ (ตอนจบเรื่อง) ที่ฉันต้องการหรือไม่?
บทเรียนจากกระบวนทัศน์ที่ 2: ฉันเห็นคุณ
 หลังจากนั้น คุณจะต้องเห็นคนอื่น หรือใช้ภาษิตเก่าแก่ของโรมัน
คือ ให้ฟังอีกด้านหนึ่งด้วย (hearing out the other side as well)
 เกี่ยวกับการมองคนอื่นว่าเป็นคน ไม่ใช่สิ่งต่างๆ
 หมายถึง ให้ดูผู้อื่นที่เป็นจริง ไม่เกี่ยวกับอายุ เพศ สัญชาติ
ศาสนา แนวรสนิยมทางเพศ ที่มีอิทธิพลต่อคุณในการมองเขา
บทเรียนจากกระบวนทัศน์ที่ 3: ฉันมองคุณออกแล้ว
 "ฉันมองคุณออกแล้ว (I seek you out)" เป็นการนาทัศนคติคือ
"คุณไม่เห็นด้วย? ฉันจะฟังคุณ (You disagree? I need to listen
to you.)"
 ตรงข้ามกับ "ฉันปกป้องตนเองจากคุณ (I defend myself against
you.)"
 ในสายตาของคนที่ใช้กระบวนทัศน์การคิดข้อที่ 3 นี้ ความ
ขัดแย้งไม่ได้เป็นปัญหา แต่เป็นโอกาส
บทเรียนจากกระบวนทัศน์ที่ 4: ฉันผนึกพลังกับคุณ
 คุณเริ่มต้นด้วยการถามทางเลือก: "คุณยินดีที่จะแก้ปัญหาที่ดีกว่า
วิธีใดๆ ที่พวกเรามีหรือไม่?"
 จากนั้น คุณจะกาหนดเกณฑ์ที่จะทาให้ทั้งสองฝ่ ายมีความสุข
 หลังจากนั้น คุณจะระดมความคิดการแก้ปัญหาทุกด้าน และ
ตรวจสอบกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้ล่วงหน้า
 ในที่สุด คุณผนึกพลังร่วมกันได้ นั่นคือ คุณมาถึงทางออกที่
เหนือกว่าความประนีประนอมและใช้เวทีกลาง
 เป็นวิธีที่สูงกว่า คือ "วิธีของเรา" (The higher way. The "our" way.)
Stephen Covey

More Related Content

More from maruay songtanin

391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
378 ทรีมุขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
378 ทรีมุขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx378 ทรีมุขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
378 ทรีมุขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
377 เสตเกตุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
377 เสตเกตุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....377 เสตเกตุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
377 เสตเกตุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
375 กโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
375 กโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx375 กโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
375 กโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
373 มูสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
373 มูสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx373 มูสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
373 มูสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
 
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
378 ทรีมุขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
378 ทรีมุขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx378 ทรีมุขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
378 ทรีมุขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
377 เสตเกตุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
377 เสตเกตุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....377 เสตเกตุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
377 เสตเกตุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
375 กโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
375 กโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx375 กโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
375 กโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
373 มูสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
373 มูสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx373 มูสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
373 มูสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 

ทางเลือกที่สาม 3rd alternative

  • 2. Stephen R. Covey If you are one of the millions of people who have bought and read Stephen Covey’s ‘The 7 Habits of Highly Effective People’, then you need no further recommendation than this: 3rd Alternative develops further the fifth and sixth habit presented in that book.
  • 3. เกี่ยวกับผู้ประพันธ์  Stephen Covey เป็นนักประพันธ์ นักการศึกษา และนักธุรกิจชาว อเมริกัน ที่นิตยสาร Time จัดให้เป็น "หนึ่งใน 25 ชาวอเมริกันที่มี อิทธิพลมากที่สุด" ในปี ค.ศ. 1996  เขามีชื่อเสียงจากหนังสือเรื่อง "The 7 Habits of Highly Effective People" ซึ่งนิตยสาร Forbes จัดให้เป็น "หนึ่งใน 10 หนังสือทางธุรกิจ ที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์"  และยังมีหนังสืออีกหลายเล่มที่ได้รับการกล่าวถึง ได้แก่ "First Things First", "Principle-Centered Leadership" และ "The 8th Habit"  หลังจากเกิดอุบัติเหตุการขี่จักรยาน Stephen Covey ได้เสียชีวิตใน วันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2012 ตอนอายุ 79 ปี
  • 4. เกริ่นนา  การติดอยู่ในความคิด "ต่อสู้หรือหลบหนี (fight or flight)" มีมา ตั้งแต่สมัย Neanderthals แล้วจะมีทางออกอื่นหรือไม่?  Stephen Covey กล่าวว่า มีอีกทางเลือกหนึ่งให้เลือก คือ "ทางเลือกที่ 3 (The 3rd Alternative)" ซึ่งเป็นวิถีหนึ่งของชีวิต ที่ สามารถช่วยคุณแก้ปัญหาที่ยากที่สุดในชีวิตได้
  • 5. ทางเลือกที่ 3  หนังสือ ทางเลือกที่ 3 ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 2011 และเป็นหนังสือ เล่มสุดท้ายของ Stephen Covey  "มีวิธีการแก้ปัญหาที่ยากที่สุดที่เราเผชิญ ที่แม้กระทั่งมองแล้วไม่ สามารถจะแก้ปัญหาได้" เขาเขียน "เกือบทุกชีวิต มีเส้นทาง วิกฤติที่ตัดผ่าน ในการเลือกหนทางที่มีความเสี่ยงและการ แตกแยกที่ร้าวลึก แต่ก็ยังมีหนก้าวทางไปข้างหน้า ที่ไม่ใช่วิธีของ คุณและไม่ใช่วิธีของฉัน แต่เป็นวิธีที่สูงกว่า เป็นวิธีที่ดีกว่าสิ่งที่ เราเคยคิด ผมเรียกมันว่า ทางเลือกที่ 3 (the 3rd Alternative)"
  • 6.
  • 7. การประนีประนอมและการผนึกพลัง  ความขัดแย้งส่วนใหญ่มีสองฝ่ าย ไม่มีความขัดแย้งใดที่ดี ไม่ใช่ เพราะผิดทั้งคู่ แต่ตรงกันข้าม ทั้งสองฝ่ ายอาจมีคุณธรรมก็ได้  การประนีประนอม (Compromising) ทาให้ทั้งสองฝ่ ายสูญเสีย  การผนึกพลัง (Synergizing) คือทางเลือกที่ 3 ที่มีผลตรงกันข้าม เป็นสถานการณ์ที่ชนะด้วยกันทั้งสองฝ่ าย เพราะเป็นวิธีการที่ สูงขึ้น เป็นการสังเคราะห์ฝ่ ายตรงข้าม ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่เป็นการ ประนีประนอมเท่านั้น แต่ยังเป็นการแก้ปัญหาทางความคิดที่ กว้างขึ้น ซึ่งตรงข้ามกับความต้องการของ "ฉัน" และ "คุณ"
  • 8. เน้นชนะด้วยกัน  ถ้าคุณจาได้เกี่ยวกับ การผนึกพลัง (synergize) เป็นอุปนิสัยที่หก ของ Covey ที่มีใน 7 อุปนิสัยของคนที่มีประสิทธิภาพสูง  ในความเป็นจริง "ทางเลือกที่ 3" เป็นรายละเอียดและพฤติกรรม ที่เกี่ยวข้องกับ "การพึ่งพาอาศัยกันและกัน (Interdependence) คือ การคิดแบบชนะด้วยกัน (think win-win) และ แสวงหาความ เข้าใจเขา ก่อนที่จะให้เขาเข้าใจเรา (seek first to understand than to be understood)"  การใช้การคิดใหม่ของ ทางเลือกที่ 3 คุณจาเป็นต้องเรียนรู้การใช้ กระบวนทัศน์ในการคิดทั้งสี่แบบ
  • 9. กระบวนทัศน์ในการคิดทั้งสี่แบบ:  กระบวนทัศน์ที่ 1: ฉันเห็นตัวเอง (I See Myself)  กระบวนทัศน์ที่ 2: ฉันเห็นคุณ (I See You)  กระบวนทัศน์ที่ 3: ฉันมองคุณออกแล้ว (I Seek You Out)  กระบวนทัศน์ที่ 4: ฉันผนึกพลังกับคุณ (I Synergize with You)
  • 10. กระบวนทัศน์ที่ 1: ฉันเห็นตัวเอง  นี่คือรากฐาน ของทุกกระบวนการคิดที่ถูกต้อง  นั่นคือ การฝึกฝนศิลปะของกรีกโบราณในการ รู้จักตัวเอง (knowing thyself)  เนื่องจากเมื่อคุณก้าวออกไปนอกเขตแดนของข้อจากัดและอัตตา ของคุณแล้ว คุณจะได้รับ "ชัยชนะส่วนตัว (private victory)" เล็กๆ ซึ่งจะช่วยให้คุณเข้าใจถึงความต้องการของผู้อื่น และ ปัญหาที่ยังไม่มีทางแก้ที่เกิดขึ้นจริง
  • 11. กระบวนทัศน์ที่ 2: ฉันเห็นคุณ  ตอนนี้ คุณเข้าใจเรื่องของคุณด้วยตัวเองแล้ว ลองทาแบบเดียวกัน กับผู้ที่คุณขัดแย้งด้วย  เป็นการ เอาใจเขามาใส่ใจเรา (Step outside your shoes and into the shoes of the other)
  • 12. กระบวนทัศน์ที่ 3: ฉันมองคุณออกแล้ว  นี่เป็นคาจากัดความของ Covey ที่ชี้แจงถึงอุปนิสัย "แสวงหา ความเข้าใจผู้อื่น ก่อนที่จะให้เขาเข้าใจเรา (seek first to understand than to be understood)" ซึ่งเขากล่าวว่า เป็น ผลกระทบสาคัญที่สุดในชีวิตของเขา จากอุปนิสัยทั้งเจ็ด (และ ต่อมามีแปดอุปนิสัย)  เคล็ดลับง่ายๆ คือ อย่าหวังว่าคนอื่นจะเข้าใจคุณ ถ้าคุณไม่ พยายามทาความเข้าใจกับพวกเขาก่อน
  • 13. กระบวนทัศน์ที่ 4: ฉันผนึกพลังกับคุณ  นี่คือขั้นตอนที่ยาวที่สุดและสาคัญที่สุด  กระบวนการ 4 ขั้นตอนใน การผนึกพลัง (synergizing) คือ  1. ถามคาถาม ทางเลือกที่ 3 (Ask the 3rd Alternative Question)  2. กาหนดเกณฑ์ความสาเร็จ (Define Criteria of Success)  3. สร้างทางเลือกที่ 3 ที่หลากหลาย (Create 3rd Alternatives)  4. การผนึกพลังจริง (Arrive at Synergy)
  • 14.
  • 15. 1. ถามคาถาม ทางเลือกที่ 3  Covey กล่าวว่า นี่เป็นการปฏิวัติ เพราะไม่ได้ขอให้ทุกคนละทิ้ง ความคิดของเขา แต่เป็นการถามคนอื่นๆ เพื่อตรวจสอบว่า วิธีการของเขาดีที่สุดแล้วหรือไม่  และคาถามก็คือ "คุณยินดีที่จะหาวิธีแก้ปัญหาที่ดีกว่าที่พวกเรา ทุกคนคิดขึ้นมาหรือไม่?" (Are you willing to go for a solution that is better than any of us have come up with yet?)
  • 16. 2. กาหนดเกณฑ์ความสาเร็จ  ส่วนนี้ จะเริ่มต้นด้วยคาถามว่า "สิ่งที่ดีกว่าจะมีลักษณะอย่างไร?"  ความคิดนี้ คืออะไร?  เพื่อให้เกิดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนในสิ่งที่จะตามมา เกณฑ์ที่ทาให้ทั้ง สองฝ่ ายพอใจในการอภิปราย
  • 17. 3. สร้างทางเลือกที่ 3 ที่หลากหลาย  ขั้นตอนนี้ คุณและคู่ของคุณ ปรับกระบวนการคิดแบบกลับหัว กลับหาง สร้างต้นแบบ มีการระดมความคิดใหม่ๆ และที่สาคัญ ที่สุดคือ ระงับการตัดสินถูกผิดไว้ชั่วครู่  เคล็ดลับคืออะไร?  ให้ทดลองกับความเป็นไปได้ที่สุดโต่ง  เพราะอย่างน้อย นี่คือส่วนทั้งหมดที่เราคิดได้
  • 18. 4. ผนึกพลังจริง  จากนี้ เป็นเรื่องง่าย  เนื่องจากบางส่วนของวิธีการแก้ปัญหาเหล่านี้ จะอยู่ใน ทางเลือก ที่ 3 (ขั้นตอนที่ 3)  เป็นการนาสิ่งที่ดีที่สุดจากทั้งสองขั้ว ที่ทาให้ทั้งสองฝ่ ายมี ความสุขและมีเนื้ อหาสาระ
  • 19.
  • 20. สรุป  ทางเลือกที่ 3 เป็นหนังสือเล่มสุดท้ายของ Stephen Covey ที่ ตีพิมพ์ในปีการเสียชีวิตของเขา ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่ผู้ชายที่ยิ่งใหญ่ คนนี้ สามารถให้ได้  หนังสือนี้ เป็นมากกว่าหนังสือทางธุรกิจ เนื่องจากมีการสอนและ นาเสนอวิสัยทัศน์ในการเป็นผู้นา ที่เหนือกว่าขอบเขตการทา ธุรกิจ โดยการครอบคลุมถึงผู้นาทางสังคม ผู้นาที่ไม่แสวงหาผล กาไร และผู้นาทางการเมือง
  • 21. บทเรียนจากกระบวนทัศน์ที่ 1: ฉันเห็นตัวเอง  เรื่องราวของฉันคืออะไร? ฉันจาเป็นต้องเปลี่ยนบทบาทหรือไม่?  1. ฉันอาจมีจุดบอดเกี่ยวกับตัวเอง อะไรบ้าง?  2. วัฒนธรรมของฉัน มีอิทธิพลต่อความคิดของฉันอย่างไร?  3. อะไรคือเหตุผลที่แท้จริงของฉัน?  4. สมมติฐานของฉันถูกต้องหรือไม่?  5. มีอะไรบ้าง ที่ทาให้สมมติฐานของฉันไม่สมบูรณ์?  6. ฉันมีส่วนร่วมในผลลัพธ์ (ตอนจบเรื่อง) ที่ฉันต้องการหรือไม่?
  • 22. บทเรียนจากกระบวนทัศน์ที่ 2: ฉันเห็นคุณ  หลังจากนั้น คุณจะต้องเห็นคนอื่น หรือใช้ภาษิตเก่าแก่ของโรมัน คือ ให้ฟังอีกด้านหนึ่งด้วย (hearing out the other side as well)  เกี่ยวกับการมองคนอื่นว่าเป็นคน ไม่ใช่สิ่งต่างๆ  หมายถึง ให้ดูผู้อื่นที่เป็นจริง ไม่เกี่ยวกับอายุ เพศ สัญชาติ ศาสนา แนวรสนิยมทางเพศ ที่มีอิทธิพลต่อคุณในการมองเขา
  • 23. บทเรียนจากกระบวนทัศน์ที่ 3: ฉันมองคุณออกแล้ว  "ฉันมองคุณออกแล้ว (I seek you out)" เป็นการนาทัศนคติคือ "คุณไม่เห็นด้วย? ฉันจะฟังคุณ (You disagree? I need to listen to you.)"  ตรงข้ามกับ "ฉันปกป้องตนเองจากคุณ (I defend myself against you.)"  ในสายตาของคนที่ใช้กระบวนทัศน์การคิดข้อที่ 3 นี้ ความ ขัดแย้งไม่ได้เป็นปัญหา แต่เป็นโอกาส
  • 24. บทเรียนจากกระบวนทัศน์ที่ 4: ฉันผนึกพลังกับคุณ  คุณเริ่มต้นด้วยการถามทางเลือก: "คุณยินดีที่จะแก้ปัญหาที่ดีกว่า วิธีใดๆ ที่พวกเรามีหรือไม่?"  จากนั้น คุณจะกาหนดเกณฑ์ที่จะทาให้ทั้งสองฝ่ ายมีความสุข  หลังจากนั้น คุณจะระดมความคิดการแก้ปัญหาทุกด้าน และ ตรวจสอบกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้ล่วงหน้า  ในที่สุด คุณผนึกพลังร่วมกันได้ นั่นคือ คุณมาถึงทางออกที่ เหนือกว่าความประนีประนอมและใช้เวทีกลาง  เป็นวิธีที่สูงกว่า คือ "วิธีของเรา" (The higher way. The "our" way.)

Editor's Notes

  1. Stephen Covey was an American writer, educator, and businessman, named by “Time” magazine one of the “25 Most Influential Americans” back in 1996. He rose to fame with “The 7 Habits of Highly Effective People,” a book “Forbes” magazine recently named one of the 10 best business books in history. Many books followed, among them “First Things First”, “Principle-Centered Leadership” and “The 8th Habit.” After a cycling accident, Stephen Covey passed away on July 16, 2012, at the age of 79.
  2. Stuck in a “fight or flight” mentality ever since the days of the Neanderthals and unable to break free? Well, Stephen Covey says that there’s an alternative to these two options. It’s “The 3rd Alternative” – and it’s a way of life. And it can help you solve life’s most difficult problems.
  3. “The 3rd Alternative” was published in 2011; and, unfortunately, it ended up being Stephen Covey’s last book. “There is a way to solve the toughest problems we face, even those that look unsolvable,” he writes. “There is a path that cuts through nearly all life’s dilemmas and deep divisions. There is a way forward. It’s not your way, and it’s not my way. It’s a higher way. It’s a better way than any of us have thought of before. I call it ‘the 3rd Alternative’.”
  4. Namely, that most conflicts have two sides and that neither of them is the right one. Not because they are both wrong, but, quite contrary, because they both have inherent merits. Compromising makes both sides lose. Synergizing – i.e., the 3rd alternative – has the opposite effect. It’s a win-win situation because it’s the higher way, the synthesis of two opposing theses, which doesn’t work merely as a compromise, but also as a mind-widening solution which transcends the needs of the “I” and “You.”
  5. If you remember well, synergize was the sixth of Covey’s original seven habits of highly efficient people. And, in fact, “The 3rd Alternative” is a detailed look at it and its related habits from the “Interdependence” spectrum: “think win-win” and “seek first to understand than to be understood.” To acquire a 3rd alternative mind mode, you need to learn to apply four thinking paradigms.
  6. The four thinking paradigms: Paradigm 1: I See Myself Paradigm 2: I See You Paradigm 3: I Seek You Out Paradigm 4: I Synergize with You
  7. Paradigm 1: I See Myself This is the obvious foundation of every proper thinking process. That is, practicing the Ancient Greek art of knowing thyself. Because once you step outside of the boundaries of your limitations and ego, you achieve a small “private victory” which will help you understand the needs of the other and the real problem behind the lack of solution.
  8. Paradigm 2: I See You Now that you’ve understood your side of the story for yourself try doing the same with the story of the one you have a conflict with. Step outside your shoes and into the shoes of the other.
  9. Paradigm 3: I Seek You Out This is Covey’s final extrapolation and clarification of the “seek first to understand than to be understood” habit – which he mentions that had had the most significant impact on his life out of all seven (and, later on, eight) habits. The trick is simple: Don’t expect the others to understand you if you don’t put the effort to understand them first.
  10. Paradigm 4: I Synergize with You This is, obviously, the longest and most important part of the 4-step process towards synergizing. And is, in fact, split into four processes itself. 1. Ask the 3rd Alternative Question 2. Define Criteria of Success 3. Create 3rd Alternatives 4. Arrive at Synergy
  11. 1. Ask the 3rd Alternative Question Covey says it’s revolutionary since it doesn’t ask anyone to give up his idea; it merely asks the other to check if his approach is the best one. And the question? Here it is: “Are you willing to go for a solution that is better than any of us have come up with yet?“
  12. 2. Define Criteria of Success This part starts with a question itself: “What would better look like?” The idea? To come up with a clear vision of what’s to follow, criteria which will satisfy both parties in the discussion.
  13. 3. Create 3rd Alternatives During this part, you and your partner turn the thinking process upside down, creating prototypes, brainstorming new frameworks, and, most importantly, suspending judgment for a while. The trick? Experimenting with radical possibilities. Because, after all, they are the ones we see the least.
  14. 4. Arrive at Synergy It’s easy from thereon. Because some of these solutions will be the 3rd alternative. And it will incorporate the best from both worlds, making both sides happy and content.
  15. The 3rd Alternative, Stephen Covey’s last book — actually published in the very year of his death — is perhaps more than this great man could give. It is more, much more than a ‘business’ book, as the vision of leadership it teaches and embodies surpasses by far the realm of business. It widely covers the adjoining fields of social leadership, nonprofit leadership and political leadership.
  16. Paradigm 1: I See Myself What’s my story? Do I need to change the script? 1. Where might I have blind spots about myself? 2. How has my cultural programming influenced my thinking? 3. What are my real motives? 4. Are my assumptions accurate? 5. In what way are my assumptions incomplete? 6. Am I contributing to an outcome – an end to the story – that I really want?
  17. Paradigm 2: I See You Afterward, you need to move on to seeing the other, or, to use an old Roman adage, hearing out the other side as well. It’s about seeing others as people instead of things. Which means: see the other in terms of what he actually is, and not in terms of what his age, sex, nationality, religion, sexual orientation influence you to see him.
  18. Paradigm 3: I Seek You Out “I seek you out” is all about adopting the attitude of “You disagree? I need to listen to you.” It is the exact opposite of “I defend myself against you.” In the eyes of someone using thinking paradigm 3, a conflict is not a problem, but an opportunity.
  19. Paradigm 4: I Synergize with You You start by asking the other the 3rd alternative revolutionary question: “Are you willing to go for a solution that is better than any of us have come up with yet?“ Then you move on to defining the criteria which will make both parties happy. Afterward, you brainstorm radical solutions and check them against the pre-defined criteria. Finally, you synergize, i.e., you arrive at a solution which transcends compromises and middle grounds. The higher way. The “our” way.