SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
ทักษะที่จาเป็นสาหรับผู้รู้สารสนเทศ (Information Literacy Skills) โดย ITdoctor

1. การรู้ห้องสมุด (Library literacy) ห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวมสารสนเทศในสาขาวิชาต่างๆ ไว้ในรูปแบบที่หลากหลายทั้งในรูป
สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเลกทรอนิกส์ บุคคลควรรู้วิธีการจัดเก็บสื่อ รู้จักใช้เครื่องมือช่วยค้นต่างๆ รู้จักกลยุทธ์ในการค้นคืน
สารสนเทศแต่ละประเภท รวมทั้งบริการต่างๆ ของห้องสมุด การรู้ห้องสมุดครอบคลุมการรู้แหล่งสารสนเทศอื่นๆด้วย
2. การรู้คอมพิวเตอร์ (Computer Literacy) บุคคลควรรู้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เบื้องต้นในเรื่องของฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ การเชื่อม
ประสาน และการใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์ เช่น การพิมพ์เอกสาร การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การใช้อินเตอร์เน็ตในการ
ติดต่อสื่อสาร รวมถึงการรู้ที่ตั้งของแหล่งสารสนเทศ เป็นต้น
3. การรู้เครือข่าย (Network Literacy) บุคคลควรรู้ขอบเขตและสามารถใช้สารสนเทศทางเครือข่ายที่เชื่อมโยงถึงกันทั่วโลก
สามารถใช้กลยุทธ์การสืบค้นสารสนเทศจากเครือข่าย และการบูรณาการสารสนเทศจากเครือข่ายกับสารสนเทศจากแหล่งอื่นๆ
4. การรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น (Visual Literacy) บุคคลควรสามารถเข้าใจและแปลความหมายสิ่งทีเห็นได้ รวมถึงสามารถคิด
วิเคราะห์ เรียนรู้ แสดงความคิดเห็น และสามารถใช้สิ่งที่เห็นนั้นในการทางานและการดารงชีวิตประจาวันได้ เช่น สัญลักษณ์บุหรี่
และมีเครื่องหมายกากบาททาบอยู่ด้านบน หมายถึง ห้ามสูบบุหรี่ สัญลักษณ์ผู้หญิงอยู่หน้าห้องน้า หมายถึง ห้องน้าสตรี เป็นต้น
5. การรู้สื่อ (Media Literacy) บุคคลควรสามารถเข้าถึง วิเคราะห์ และผลิตสารสนเทศจากสื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ
ดนตรี หนังสือพิมพ์ นิตยสาร เป็นต้น รู้จักเลือกรับสารสนเทศจากสื่อที่แตกต่างกัน รู้ขอบเขตและการเผยแพร่สารสนเทศของสื่อ
เข้าใจถึงอิทธิพลของสื่อ และ สามารถพิจารณาตัดสินได้ว่าสื่อนั้นๆ มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงไร
6. การรู้สารสนเทศดิจิทัล (Digital Literacy) บุคคลควรสามารถเข้าใจและใช้สารสนเทศซึ่งนาเสนอในรูปดิจิทัลผ่านเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เช่น สามารถดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลจากแหล่งทรัพยากรสารสนเทศที่เข้าถึงในระยะไกลมาใช้ได้ รู้ว่าคุณภาพ
สารสนเทศที่มาจากเว็บไซต์ต่างๆ แตกต่างกัน รู้ว่าเว็บไซต์น่าเชื่อถือและเว็บไซต์ไม่น่าเชื่อถือ รู้จักโปรแกรมการค้นหา สามารถ
สืบค้นโดยใช้การสืบค้นขั้นสูง รู้เรื่องของกฎหมายลิขสิทธิ์ และ การอ้างอิงสารสนเทศจากเว็บไชต์ เป็นต้น
7. การมีความรู้ด้านภาษา (Language Literacy) บุคคลควรสามารถกาหนดคาสาคัญสาหรับการค้น ในขั้นตอนการค้นคืน
สารสนเทศที่สาคัญอย่างยิ่งก็คือ การค้นสารสนเทศจากอินเตอร์เนต และการนาเสนอสารสนเทศที่ค้นมาได้ ทั้งภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เนื่องจากเป็นภาษาสากล และสารสนเทศส่วนใหญ่เผยแพร่เป็นภาษาอังกฤษ
8. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) บุคคลควรสามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตัดสินใจเลือกรับสารสนเทศที่
หลากหลาย โดยการพิจารณาทบทวนหาเหตุผล จากสิ่งที่เคยจดจา คาดการณ์ โดยไม่เห็นคล้อยตามสารสนเทศที่นาเสนอทันที
แต่ต้องพิจารณาใคร่ครวญไตร่ตรองด้วยความรอบคอบและมีเหตุผลว่าสิ่งใดสาคัญมีสาระก่อนตัดสินใจเชื่อ
9. การมีจริยธรรมทางสารสนเทศ (Information Ethic) การเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ มีความสาคัญและ
เป็นเป้าหมายหลักของการรู้สารสนเทศ บุคคลควรรู้จกใช้สารสนเทศโดยชอบธรรมบนพื้นฐานของจริยธรรมทางสารสนเทศ เช่น
                                                     ั
การนาข้อความหรือแนวคิดของผู้อื่นมาใช้ในงานของตนจาเป็นต้องอ้างอิงเจ้าของผลงานเดิม การไม่นาข้อมูลที่ขัดต่อศีลธรรมและ
จรรยาบรรณของสังคมไปเผยแพร่ เป็นต้น

More Related Content

What's hot

ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
Chuleekorn Rakchart
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
Srion Janeprapapong
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
Unit%201[1]
Unit%201[1]Unit%201[1]
Unit%201[1]
numpueng
 

What's hot (19)

บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
พฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศพฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
กลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterกลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpter
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
knowledgebasesociety
knowledgebasesocietyknowledgebasesociety
knowledgebasesociety
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 
Unit%201[1]
Unit%201[1]Unit%201[1]
Unit%201[1]
 
Information Literacy
Information LiteracyInformation Literacy
Information Literacy
 
เรื่องที่ 4 ทรัพยากรสารสนเทศ
เรื่องที่ 4 ทรัพยากรสารสนเทศเรื่องที่ 4 ทรัพยากรสารสนเทศ
เรื่องที่ 4 ทรัพยากรสารสนเทศ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
PPT qualitative research kriangkrai
PPT qualitative research kriangkraiPPT qualitative research kriangkrai
PPT qualitative research kriangkrai
 

Viewers also liked

Digital Literacy
Digital LiteracyDigital Literacy
Digital Literacy
kellihoward
 

Viewers also liked (20)

Digital literacy for Glyndŵr University 170913
Digital literacy for Glyndŵr University 170913Digital literacy for Glyndŵr University 170913
Digital literacy for Glyndŵr University 170913
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
12 Career Ready Practices and Technology
12 Career Ready Practices and Technology12 Career Ready Practices and Technology
12 Career Ready Practices and Technology
 
Digital Literacy Skills
Digital Literacy SkillsDigital Literacy Skills
Digital Literacy Skills
 
Introduction to digital literacy for adult education esol
Introduction to digital literacy for adult education esolIntroduction to digital literacy for adult education esol
Introduction to digital literacy for adult education esol
 
From Digital Literacy to Digital Fluency
From Digital Literacy to Digital FluencyFrom Digital Literacy to Digital Fluency
From Digital Literacy to Digital Fluency
 
Digital Literacy for Common Core Educators
Digital Literacy for Common Core EducatorsDigital Literacy for Common Core Educators
Digital Literacy for Common Core Educators
 
What is digital literacy?
What is digital literacy?What is digital literacy?
What is digital literacy?
 
Media literacy workshop
Media literacy workshopMedia literacy workshop
Media literacy workshop
 
HUM121_30072013 (Information Access)
HUM121_30072013 (Information Access)HUM121_30072013 (Information Access)
HUM121_30072013 (Information Access)
 
Digital Curation and Methods for Teaching Digital Literacy Skills
Digital Curation and Methods for Teaching Digital Literacy SkillsDigital Curation and Methods for Teaching Digital Literacy Skills
Digital Curation and Methods for Teaching Digital Literacy Skills
 
Teaching New Literacy in a Digital World
Teaching New Literacy in a Digital WorldTeaching New Literacy in a Digital World
Teaching New Literacy in a Digital World
 
Teaching new literacy in a digital environment
Teaching new literacy in a digital environmentTeaching new literacy in a digital environment
Teaching new literacy in a digital environment
 
Teaching New Literacy in Digital Environment (Digital Literacy)
Teaching New Literacy in Digital Environment (Digital Literacy)Teaching New Literacy in Digital Environment (Digital Literacy)
Teaching New Literacy in Digital Environment (Digital Literacy)
 
Digital Literacy | Why it matters
Digital Literacy | Why it mattersDigital Literacy | Why it matters
Digital Literacy | Why it matters
 
Digital Literacy Power Point
Digital  Literacy Power PointDigital  Literacy Power Point
Digital Literacy Power Point
 
Digital literacy
Digital literacyDigital literacy
Digital literacy
 
Digital Literacy
Digital LiteracyDigital Literacy
Digital Literacy
 
Information Literacy And Digital Literacy: Life Long Learning Initiatives
Information Literacy And Digital Literacy: Life Long Learning InitiativesInformation Literacy And Digital Literacy: Life Long Learning Initiatives
Information Literacy And Digital Literacy: Life Long Learning Initiatives
 
Top 10 Benefits of Digital Literacy
Top 10 Benefits of Digital LiteracyTop 10 Benefits of Digital Literacy
Top 10 Benefits of Digital Literacy
 

Similar to Digital literacy

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
chushi1991
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
chushi1991
 
ใบความรู้ที่ 1.1
ใบความรู้ที่ 1.1ใบความรู้ที่ 1.1
ใบความรู้ที่ 1.1
Nicharee Piwjan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
Chaiwit Khempanya
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
Sujit Chuajine
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
She's Mammai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Ariya Soparux
 

Similar to Digital literacy (20)

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
01
0101
01
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
ใบความรู้ที่ 1.1
ใบความรู้ที่ 1.1ใบความรู้ที่ 1.1
ใบความรู้ที่ 1.1
 
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
Unit8
Unit8Unit8
Unit8
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัลหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Marreea Mk

More from Marreea Mk (8)

M'6 eng test 04
M'6  eng test  04M'6  eng test  04
M'6 eng test 04
 
O net English 03 e
O net English 03 eO net English 03 e
O net English 03 e
 
Key_onet m6_english_53
Key_onet m6_english_53Key_onet m6_english_53
Key_onet m6_english_53
 
Eternity worksheet
Eternity worksheetEternity worksheet
Eternity worksheet
 
Exercise wish
Exercise wishExercise wish
Exercise wish
 
Wish
WishWish
Wish
 
My group of friend pimpida
My group of friend pimpidaMy group of friend pimpida
My group of friend pimpida
 
My group of friend pimpida 5.2
My group of friend pimpida 5.2My group of friend pimpida 5.2
My group of friend pimpida 5.2
 

Digital literacy

  • 1. ทักษะที่จาเป็นสาหรับผู้รู้สารสนเทศ (Information Literacy Skills) โดย ITdoctor 1. การรู้ห้องสมุด (Library literacy) ห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวมสารสนเทศในสาขาวิชาต่างๆ ไว้ในรูปแบบที่หลากหลายทั้งในรูป สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเลกทรอนิกส์ บุคคลควรรู้วิธีการจัดเก็บสื่อ รู้จักใช้เครื่องมือช่วยค้นต่างๆ รู้จักกลยุทธ์ในการค้นคืน สารสนเทศแต่ละประเภท รวมทั้งบริการต่างๆ ของห้องสมุด การรู้ห้องสมุดครอบคลุมการรู้แหล่งสารสนเทศอื่นๆด้วย 2. การรู้คอมพิวเตอร์ (Computer Literacy) บุคคลควรรู้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เบื้องต้นในเรื่องของฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ การเชื่อม ประสาน และการใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์ เช่น การพิมพ์เอกสาร การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การใช้อินเตอร์เน็ตในการ ติดต่อสื่อสาร รวมถึงการรู้ที่ตั้งของแหล่งสารสนเทศ เป็นต้น 3. การรู้เครือข่าย (Network Literacy) บุคคลควรรู้ขอบเขตและสามารถใช้สารสนเทศทางเครือข่ายที่เชื่อมโยงถึงกันทั่วโลก สามารถใช้กลยุทธ์การสืบค้นสารสนเทศจากเครือข่าย และการบูรณาการสารสนเทศจากเครือข่ายกับสารสนเทศจากแหล่งอื่นๆ 4. การรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น (Visual Literacy) บุคคลควรสามารถเข้าใจและแปลความหมายสิ่งทีเห็นได้ รวมถึงสามารถคิด วิเคราะห์ เรียนรู้ แสดงความคิดเห็น และสามารถใช้สิ่งที่เห็นนั้นในการทางานและการดารงชีวิตประจาวันได้ เช่น สัญลักษณ์บุหรี่ และมีเครื่องหมายกากบาททาบอยู่ด้านบน หมายถึง ห้ามสูบบุหรี่ สัญลักษณ์ผู้หญิงอยู่หน้าห้องน้า หมายถึง ห้องน้าสตรี เป็นต้น 5. การรู้สื่อ (Media Literacy) บุคคลควรสามารถเข้าถึง วิเคราะห์ และผลิตสารสนเทศจากสื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ ดนตรี หนังสือพิมพ์ นิตยสาร เป็นต้น รู้จักเลือกรับสารสนเทศจากสื่อที่แตกต่างกัน รู้ขอบเขตและการเผยแพร่สารสนเทศของสื่อ เข้าใจถึงอิทธิพลของสื่อ และ สามารถพิจารณาตัดสินได้ว่าสื่อนั้นๆ มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงไร 6. การรู้สารสนเทศดิจิทัล (Digital Literacy) บุคคลควรสามารถเข้าใจและใช้สารสนเทศซึ่งนาเสนอในรูปดิจิทัลผ่านเครื่อง คอมพิวเตอร์ เช่น สามารถดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลจากแหล่งทรัพยากรสารสนเทศที่เข้าถึงในระยะไกลมาใช้ได้ รู้ว่าคุณภาพ สารสนเทศที่มาจากเว็บไซต์ต่างๆ แตกต่างกัน รู้ว่าเว็บไซต์น่าเชื่อถือและเว็บไซต์ไม่น่าเชื่อถือ รู้จักโปรแกรมการค้นหา สามารถ สืบค้นโดยใช้การสืบค้นขั้นสูง รู้เรื่องของกฎหมายลิขสิทธิ์ และ การอ้างอิงสารสนเทศจากเว็บไชต์ เป็นต้น 7. การมีความรู้ด้านภาษา (Language Literacy) บุคคลควรสามารถกาหนดคาสาคัญสาหรับการค้น ในขั้นตอนการค้นคืน สารสนเทศที่สาคัญอย่างยิ่งก็คือ การค้นสารสนเทศจากอินเตอร์เนต และการนาเสนอสารสนเทศที่ค้นมาได้ ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เนื่องจากเป็นภาษาสากล และสารสนเทศส่วนใหญ่เผยแพร่เป็นภาษาอังกฤษ 8. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) บุคคลควรสามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตัดสินใจเลือกรับสารสนเทศที่ หลากหลาย โดยการพิจารณาทบทวนหาเหตุผล จากสิ่งที่เคยจดจา คาดการณ์ โดยไม่เห็นคล้อยตามสารสนเทศที่นาเสนอทันที แต่ต้องพิจารณาใคร่ครวญไตร่ตรองด้วยความรอบคอบและมีเหตุผลว่าสิ่งใดสาคัญมีสาระก่อนตัดสินใจเชื่อ 9. การมีจริยธรรมทางสารสนเทศ (Information Ethic) การเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ มีความสาคัญและ เป็นเป้าหมายหลักของการรู้สารสนเทศ บุคคลควรรู้จกใช้สารสนเทศโดยชอบธรรมบนพื้นฐานของจริยธรรมทางสารสนเทศ เช่น ั การนาข้อความหรือแนวคิดของผู้อื่นมาใช้ในงานของตนจาเป็นต้องอ้างอิงเจ้าของผลงานเดิม การไม่นาข้อมูลที่ขัดต่อศีลธรรมและ จรรยาบรรณของสังคมไปเผยแพร่ เป็นต้น