SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจาวัน

                               เรื่อง กาเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ

มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มีการตั้งถิ่นฐานอยู่กันเป็นหมู่เหล่าตั้งแต่โบราณกาลมาแล้ว กลุ่มเล็กที่สุด
เรียกว่าครอบครัว ถัดขึ้นมาเป็นหมู่บ้าน ตาบล ฯลฯ จนในที่สุดเป็นเมือง เป็นประเทศ มนุษย์แต่ละ
หมู่เหล่ามีการติดต่อพบปะกัน เพื่อแลกเปลี่ยนอาหาร สิ่งของเครื่องใช้ ยารักษาโรค ฯลฯ ที่ชุมชน
ตนไม่สามารถผลิตได้หรือผลิตได้ไม่เพียงพอ จนเกิดเป็นการค้าขายระหว่างหมู่บ้าน ระหว่างตาบล
เมือง และประเทศ การติดต่อเช่นนี้ ทาให้เกิดการส่งและรับ ข้อมูลข่าวสารถึงกัน แรก ๆ ก็เป็นการ
บอกกันปากต่อปากต่อมามีการสื่อสารกันด้วยตัวอักษรที่จารึกบนวัสดุต่าง ๆ ซึ่งต่อมากลายเป็นการ
ส่งจดหมายถึงกัน

ความต้องการการสื่อสารด้วยวิธีการที่หลากหลายขึ้นมีความรวมเร็วมากขึ้น ทาให้เกิดการพัฒนา
อย่างต่อเนื่องของเทคโนโลยีโทรคมนาคม ซึ่งอาศัยหลักวิชาทาง วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
เปลี่ยนคาพูด ข้อความหรือภาพเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปตามสาย หรือเปลี่ยนเป็นคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า (เรียกว่า คลื่นวิทยุ) กระจายไปในอากาศ เมื่อถึงปลายทาง สัญญาณหรือคลื่นที่ส่งไป
นั้นก็จะถูกคืนสภาพให้กลับเป็นคาพูด ข้อความหรือภาพเหมือนกับที่ส่งออกไปจากต้นทาง ทาให้ที่
อยู่คนละซีกโลกกันสามารถรับรู้ ข้อมูลข่าวของกันและกันได้ภายในชั่วพริบตา

เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่เพิ่งมีขึ้นในช่วงเวลาประมาณ 20 ปี ที่ผ่านมานี้เอง เป็น
เทคโนโลยีที่เกิดจากการรวมสองเทคโนโลยีเข้าด้วยกัน คือ เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ คาว่า สารสนเทศ หมายถึงตัวเนื้อหาของข้อมูลข่าวสาร เราใช้คอมพิวเตอร์ทาหน้าที่
รวบรวม จัดเก็บ ปรับเปลี่ยนรูปแบบของสารสนเทศ และเทคโนโลยีโทรคมนาคมซึ่งพัฒนา
เครือข่ายโทรศัพท์และเครือข่ายวิทยุมาสร้างระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขึ้น เป็นการนาเอา
ความสามารถของคอมพิวเตอร์ (คานวณ เปรียบเทียบ และตรวจสอบได้รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยา) มา
รวมกับความสามารถของระบบโทรคมนาคม (ติดต่อได้รวดเร็วและกว้างไกล) ดังนั้น เทคโนโลยี
สารสนเทศ จึงหมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาจัดการกับสารสนเทศนั่นเอง
เรื่อง ประวัติโดยย่อของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความหมายของ เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ในความหมายโดยกว้าง คือการศึกษาและนา
ความรู้ในสาขาชีววิทยา จุลชีววิทยา เคมี อณูพันธุศาสตร์ที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตชนิ... ๆ เช่น จุลินทรีย์
พืช และสัตว์มาใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีชีวภาพที่เก่าแก่ที่สุดในประวัติ... เทคโนโลยีการหมัก
(Fermentation Technology) และ เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ (พ.ศ. 2547) คือวิทยาการตัดแต่ง
พันธุกรรม (DNA Recombinant Technology) ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพมีขอบเขตที่กว้า...
การแพทย์ การผลิตพลังงาน และการรักษาสภาพแวดล้อม เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตสัตว์ พืช
จุลินทรีย์ รวมทั้งผลิตผลจากไขมัน เช่น นม น้ามัน ยารักษาโรค ฯลฯ ล้วนจัดเป็นเทคโนโลยีชีวภาพ
ทั้งสิ้น เทคโนโลยีที่ใช้ในการแปรรูปและเพิ่มคุณค่า... หรือ ที่ใช้หลักการของวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
... ล้วนจัดเป็นเทคโนโลยีชีวภาพเช่นเดียวกัน
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (IT ย่อจาก information technology) หมายถึงเทคโนโลยีสาหรับ
การประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง การแปลง การจัดเก็บ การประมวลผล และ
การค้นคืนสารสนเทศ ในการประยุกต์ การบริการ และพื้นฐานทางเทคโนโลยี สามารถแบ่งกลุ่มย่อย
เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ คอมพิวเตอร์, การสื่อสาร และข้อมูลแบบมัลติมีเดีย ซึ่งในแต่ละกลุ่มนี้ยังแบ่งเป็น
กลุ่มย่อยๆ ได้อีกมากมาย องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนนี้ ยังต้องอาศัยการทางานร่วมกัน ยกตัวอย่างเช่น
เครื่องเซิร์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์) เป็นองค์ประกอบสาคัญของระบบเครือข่าย (การ
สื่อสาร) โดยมีการส่งข้อมูลต่างๆ ไปยังเครื่องลูก (ข้อมูลแบบมัลติมีเดีย)
เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจาวัน
คนเราทุกวันนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่ใช้ชีวิตอยู่ในเมือง ไม่สามารถจะอยู่ได้โดยไม่มีการติดต่อกับ
โลกภายนอก การรับรู้ข่าวสาร เช่น การอ่านหนังสือพิมพ์ การฟังวิทยุหรือดู โทรทัศน์ ก็เป็นการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศแบบหนึ่ง การใช้โทรศัพท์ โทรสาร ก็เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
นอกจากนั้น การถอนเงินจากเครื่องจ่ายเงินอัตโนมัติ (ตู้ เอ ที เอ็ม) ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจาวัน
ไม่แต่เฉพาะคนในเมืองเท่านั้น แม้แต่คนในชนบทก็มีส่วนต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน
ชีวิตประจาวันด้วย เช่น
เมื่อไปทาบัตรประชาชนที่อาเภอ ทางอาเภอจะเรียกดูข้อมูลจากฐานข้อมูล กลางของสานักทะเบียน
กระทรวงมหาดไทย ซึ่ง
ต่อเชื่อมกันเป็นเครือข่ายที่สามารถเรียกใช้งานได้ทันที เช่นนี้เรียกว่า ระบบออนไลน์ (หรือสายตรง)
ระบบเช่นนี้มี
ประโยชน์มาก เพราะจาทาให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและตรงกัน และที่เราจะพบได้อีกที่คือระบบ
เวชระเบียน
การค้นหาประวัติผู้ป่วย ซึ่งจะเก็บข้อมูลไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย เมื่อมีการเรียกใช้งานก็จะส่ง
ข้อมูลไปยัง
เครื่องที่เรียกใช้งานเป็นต้น
ใบงานที่ 3เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด

1. จงบอกเทคโนโลยีที่นักเรียนรู้จักมา 5 อย่าง

2. เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายคืออะไร

3. จงยกตัวอย่างงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนนอกเหนือ จากตัวอย่าง
ในใบความรู้
ข้อมูลและสารสนเทศ

                                 เรื่อง จากข้อมูลมาเป็นสารสนเทศ
ความหมายของข้อมูล ข้อมูลคือ ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์หรือสิ่งที่สนใจ ที่บ่งบอกถึงสถานะทาง
กายภาพบางอย่างในเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ เช่น มีแสงสว่างหรือไม่มี สวิตช์ปิดหรือเปิด
อุณหภูมิที่องศาเซลเซียส จานวนนักเรียนกี่คน ชื่อ อายุ เพศ ของนักเรียนแต่ละคน เป็นต้น
วิธีการหาข้อมูล
ในการหาข้อมูลนั้น เรามีวิธีการหาข้อมูลโดยการแบ่งตามกรณีการจัดเก็บดังนี้
กรณีที่ 1 ข้อมูลที่มีการจดบันทึกไว้เรียบร้อยแล้ว ให้ผู้หาข้อมูลไปติดต่อหน่วยงานที่ทาการรวบรวม
และจัดเก็บข้อมูลนั้น เช่น ครูให้นักเรียนไปขอรายชื่อนักเรียนทั้งหมอจากฝ่ายทะเบียน ซึ่งฝ่าย
ทะเบียนเป็นผู้ที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลนั้นไว้ เรามาสามารถนามาใช้งานได้ทันที (ปัจจุบันส่วน
ใหญ่มีการจัดเก็บโดยใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น)
กรณีที่ 2 ข้อมูลที่ไม่มีการจดบันทึกไว้ เช่น ผู้หาข้อมูลต้องทาการสารวจข้อมูลเอง โดยการสอบถาม
เช่น ครูสอบถามชื่อนักเรียนแต่ละคนในห้องว่าชื่ออะไรกันบ้างแล้วจดบันทึกไว้เองเพื่อนาไปใช้งาน
ต่อไป
วิธีการนาข้อมูลไปใช้
ข้อมูลที่หาหรือรวบรวมมาได้ในชั้นต้นนั้น เรียกว่า ข้อมูลดิบ ยังไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
มากนัก จะต้องนาไปทาการประมวลผลเสียก่อน
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล คือ การนาข้อมูลไปจัดหมวดหมู่ คานวณหาค่าบางอย่างที่สนใจ เช่น ถ้าอยาก
ทราบว่าอัตราส่วนเปรียบเทียบว่ามีนักเรียนชายกับนักเรียนหญิงกี่คน ซึ่งเราได้นาข้อมูลมาผ่านการ
นับ หรือการทาสถิติบันทึก เพื่อให้ได้จานวนนักเรียนชายกับนักเรียนหญิง นักเรียนทั้งหมด รวม
ทั้งหมด 47 คน ซึ่งข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว เราเรียกกว่า สารสนเทศ ที่สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้ต่อไป



                              เรื่อง จากสารสนเทศมาเป็นความรู้
ความหมาย
การรู้สารสนเทศ (Information literacy) หมายถึง ความรู้ความสามารถและทักษะของบุคคลในการ
เข้าถึงสารสนเทศ ประเมินสารสนเทศที่ค้นมาได้ และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพทุกรูปแบบ
ผู้รู้สารสนเทศจะต้องมีทักษะในด้านต่างๆ เช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์และ / หรือ การคิดอย่างมี
วิจารณญาณ ทักษะการใช้ภาษา ทักษะการใช้ห้องสมุด ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ความสาคัญ
การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อความสาเร็จของบุคคลในด้านต่างๆ ดังนี้
1. การศึกษา การรู้สารสนเทศเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการศึกษาของบุคคลทุกระดับ ทั้งการศึกษาใน
ระบบโรงเรียน การศึกษานอกระบบโรงเรียน การศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาในปัจจุบันตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มีการ
ปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังนั้นบทบาทของผู้สอนจึงเปลี่ยนเป็นผู้ให้คาแนะนาชี้แนะ
โดยอาศัยทรัพยากรเป็นพื้นฐานสาคัญ
2. การดารงชีวิตประจาวัน การรู้สารสนเทศเป็นสิ่งสาคัญยิ่งในการดารงชีวิตประจาวัน เพราะผู้รู้
สารสนเทศจะเป็นผู้ที่สามารถวิเคราะห์ประเมินและใช้สารสนเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเอง
เมื่อต้องการตัดสินใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ถ้าต้องการซื้อเครื่องปรับอากาศ
ของบริษัทใดบริษัทหนึ่งก็ต้องพิจารณามาตรฐาน คุณภาพ บริการหลังการขาย และเปรียบเทียบ
ราคา แล้วจึงค่อยตัดสินใจ เป็นต้น
3. การประกอบอาชีพ การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อการประกอบอาชีพของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
เพราะบุคคลนั้นสามารถแสวงหาสารสนเทศที่มีความจาเป็นต่อการประกอบอาชีพของตนเองได้
เช่น เกษตรกร เมื่อประสบปัญหาโรคระบาดกับพืชผลทางการเกษตรของตน ก็สามารถหาตัวยาหรือ
สารเคมีเพื่อมากาจัดโรคระบาด ดังกล่าวได้ เป็นต้น



                                เรื่อง ความรู้ช่วยในการตัดสินใจ

ในองค์การต่าง ๆ นั้น สามารถแบ่งการทางานได้เป็น 4 ระดับด้วยกันคือ ระดับวางแผนยุทธศาสตร์
 ระยะยาว (strategic planning) ระดับวางแผนการบริหาร (tactical planning) ระดับวางแผนปฏิบัต
  การ (operation planning) และ ระดับผู้ปฏิบัติการ (clerical) โดยใน 3 ระดับแรกนั้นจะจัดอยู่ใน
   ระดับบริหาร (Management) และระดับสุดท้ายจัดอยู่ใน ระดับปฏฺบัติการ (Operation)ระบบ
    สารสนเทศจะทาการเก็บรวมรวบข้อมูลจากระดับปฏิบัติการ และทาการประมวลผลเพื่อให้
    สารสนเทศกับบุคลากรในระดับต่าง ๆ ซึ่งในแต่ละระดับนั้นจะใช้ลักษณะและปริมาณของ
สารสนเทศที่แตกต่างไป ระบบสารสนเทศในองค์สามารถแทนได้ด้วยภาพปิรามิด ตามรูปจากภาพ
 จะเห็นได้ว่าโครงสร้างระบบสารสนเทศแบบปิรามิด มีฐานที่กว้างและบีบแคบขึ้นไปบรรจบใน
   ยอดบนสุด ซึ่งหมายความว่าสารสนเทศที่ใช้งานจะมีมากในระดับล่างและลดหลั่นน้อยลงไป
             ตามลาดับจนถึงยอดบนสุด เช่นเดียวกับจานวนบุคลากรในระดับนั้น ๆ
บุคลากรในแต่ละระดับจะเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศดังนี้

ระดับปฏิบัติการ บุคลากรในระดับนี้เกี่ยวข้องอยู่กับงานที่ทาซ้า ๆ กัน และจะเน้นไปที่การจัดการ
รายการประจาวัน นั้นคือบุคลากรในระดับนี้เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศในฐานะผู้จัดหาข้อมูลเข้า
สู่ระบบ ตัวอย่างเช่น เจ้าหน้าที่ผู้ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลการสั่งซื้อของลูกค้าเข้าสู่คอมพิวเตอร์ในระบบ
สารสนเทศเพื่อการขาย หรือตัวแทนการจองตั๋วและขายตั๋วในระบบจองตั๋วเครื่องบิน เป็นต้น

ระดับวางแผนปฏิบัติการ บุคคลในระดับนี้ จะเป็นผู้บริหารขั้นต้นที่ทาหน้าที่ควบคุมการปฏิงาน
ประจาวัน และการวางแผนปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระยะเวลาสั้น ๆ เช่น แผนงานประจาวัน ประจา
สัปดาห์ หรือประจาไตรมาส ข้อมูลที่ผู้บริหารระดับนี้ต้องการส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับผลการปฏิบัติ
ในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ผู้จัดการแนกจายตรงอาจต้องการรายงานสรุปผลการขายประจาไตรมาสของ
พนักงานขาย เพื่อประเมินผลของพนักงานขายแต่ละคน เป็นต้น

ระดับวางแผนการบริหาร บุคลากรในระดับนี้ จะเป็นผู้บริหารระดับกลาง ซึ่งทาหนาที่วางแผนให้
บรรลุเป้าหมายต่างๆ เพื่อให้องค์กรประสบความสาเร็จตามแผนงานระยะยาวตามที่กาหนดโดย
ผู้บริหารระดับสูง มักจะเป็นสารสนเทศตามคาบเวลาซึ่งมีระยะเวลานานกว่าผู้บริหารขั้นต้น และจะ
เป็นสารสนเทศที่รวบรวมข้อมูลทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร เช่น ของคู่แข่งหรือของตลาด
โดยรวม เป็นต้น นอกจากนี้ ผู้บริหารระดับนี้ยังต้องการระบบที่ให้รายงานการวิเคราะห์แบบ ถ้า-
แล้ว (What - IF) นั่นคือสามารถทดสอบได้ว่าหากเกิดเหตุการณ์เช่นนี้แล้ว ตัวเลขหรือสารสนเทศ
ต่างๆ จะเปลี่ยนเป็นเช่นไร เพื่อให้จาลองสถานการณ์ต่างๆที่ต้องการได้ ตัวอย่างเช่น ผู้จัดการฝ่าย
ขายอาจต้องการทาบผลการขายประจาปีของบริษัทเทียบคู่แข่งต่าง ๆ รวมทั้งอาจต้องการทดสอบว่า
ถ้าเพิ่มหรือลดลงโฆษณาในสื่อต่าง ๆ จะมีผลกระทบต่อยอดขายอย่างไรบ้าง

ระดับวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว ผู้บริหารระดับนี้จะเป็นระดับสูงสุด ซึ่งเน้นในเรื่องเป้าประสงค์
ขององค์กร ระบบสารสนเทศที่ต้องการจะเน้นที่รายงานสรุป รายงานแบบ What-if และการ
วิเคราะห์แนวโน้มต่างๆ (trand analysis) ตัวอย่างเช่น ประธานบริษัทอาจต้องการรายงานที่แสดง
แนวโน้มการขายในอีก 4 ปีข้างหน้าของผลิตภัณฑ์ 3 ชนิดของบริษัท เพื่อดูแนวโน้มในการเติบโต
ของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ว่า ผลิตภัณฑ์ใดจะมีแนวโน้มที่มีกว่า หรือผลิตภัณฑ์ใดที่อาจสร้างปัญหาให้
บริษัทได้ เป็นต้น

                              คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
                                  เรื่อง คอมพิวเตอร์คืออะไร
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electrinic device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการ
จัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้ ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ
โดยคุณสมบัติที่สาคัญของคอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกาหนดชุดคาสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้
(programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับชุดคาสั่งที่
เลือกมาใช้งาน ทาให้สามารถนาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ในการ
ตรวจคลื่นความถี่ของหัวใจ การฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ เป็นต้น
ข้อดีของคอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่า
มีประสิทธภาพ มีความถูกต้อง และมีความรวดเร็ว

อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะเป็นงานชนิดใดก็ตาม เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางานพื้นฐาน 4 อย่าง
(IPOS cycle) คือ
1. หน่วยรับข้อมูล (Input) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการรับข้อมูลจากหน่วยรับข้อมูล (input unit)
เช่น คีบอร์ด หรือ เมาส์
2. หน่วยประมวลผล (Processing) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการประมวลผลกับข้อมูล เพื่อแปลงให้
อยู่ในรูปอื่นตามที่ต้องการ
3. หน่วยแสดงผล (Output) เครื่องคอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมายังหน่วย
แสดงผลลัพธ์ (output unit) เช่น เครื่องพิมพ์ หรือจอภาพ
4. หน่วยเก็บข้อมูล (Storage) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ใน
หน่วยเก็บข้อมูล เพื่อให้สามารถนามาใช้ใหม่ได้ในอนาคต




                                        เรื่อง การนับเลข
ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น บทที่ 8
第 8課
    และแล้วได้เวลามาทาภาษาญี่ปุ่นชั้นต้นอีกครั้ง พอดีตัวเองงานเยอะมากจริงๆครับ เลยต้องฝาก
เค้าทาแทนให้ เอาล่ะผมจะพยายาม Update อยู่เรื่อยๆครับ
ในครั้งที่แล้ว เราเรียนกันมาจนถึงเรื่อง คาบอกทิศทางต่างๆ เช่นนี่ โน้น นั้น แล้วเพื่อไม่ให้เป็น
การลืม ผมทาตารางไว้ให้กันลืมครับ

こ/そ/あ/ど

                ชุด こ           ชุด そ         ชุด あ          ชุด ど
  สิ่งของ       これ             それ            あれ             どれ
                この+            その+           あの+            どの+
  บุคคล
                คานาม          คานาม         คานาม          คานาม
  สถานที่     ここ              そこ あそこ どこ
  ทิศทาง      こちら             そちら あちら どちら

    ในครั้งนีก่อนอื่นเรามานับตัวเลขแบบญี่ปุ่นกันก่อนแล้วกัน ดูตามตารางที่ให้นะครับ นี่จะเป็น
             ้
หลักในการนับทั้งหมดครับ ตัวอักษรที่เป็นสีฟ้า จะเป็นตัวที่ต้องเน้นพิเศษเนื่องจากการนับที่ไม่
เหมือนใครครับ




    เอาเป็นว่าในครั้งนี้เราคงจบแค่นี้ก่อนแล้วกันนะครับแล้วในครั้งหน้า จะเป็นเรื่องตัวเลขเช่นเดิม
แต่จะเป็นเรื่องของเวลานะครับ




                                เรื่อง เลขฐานสองกับระบบดิจิทัล

ระบบเลขฐาน จัดเป็นระบบตัวเลขที่ใช้งานอยู่ใน PLC ดังนั้นผู้ใช้งานมีความจาเป็นต้องศึกษาระบบ
เลขฐานให้เข้าใจประกอบกับข้อมูลอื่นๆ เพื่อการใช้งานที่ถูกต้อง
ระบบเลขฐานสอง (Binary)
     ระบบเลขฐานสิบ (Decimal)
     ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal)

ความสัมพันธ์ของเลข BIN, BCD และ HEX สามารถกาหนดให้เป็นตารางได้ดังนี้

HEX         BCD                    FOUR DIGIT BINARY
                       2^3 = 8      2^2 = 4   2^1 = 2        2^0 = 1
 0           0           0            0          0             0
 1           1           0            0          0             1
 2           2           0            0          1             0
 3           3           0            0          1             1
 4           4           0            1          0             0
 5           5           0            1          0             1
 6           6           0            1          1             0
 7           7           0            1          1             1
 8           8           1            0          0             0
 9           9           1            0          0             1
 A           -           1            0          1             0
 B           -           1            0          1             1
 C           -           1            1          0             0
 D           -           1            1          0             1
 E           -           1            1          1             0
 F           -           1            1          1             1

   BIN (Binary)             = ระบบเลขฐานสอง
   BCD (Binary Code Decimal) = ระบบเลขฐานสิบ
   HEX (Hexadecimal)         = ระบบเลขฐานสิบหก
1. ระบบเลขฐานสอง (Binary)
      ระบบเลขฐานสอง (Binary) จะเป็นระบบเลขที่ง่ายกว่าเลขฐานสิบ เนื่องจากระบบ
เลขฐานสอง จะใช้ัอักขระแทนสองตัว ระบบเลขฐานสองนี้ใช้ในระบบดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
เพราะว่าวงจรดิจิตอลจะมีเพียงสองสถานะ(two states)หรือระดับสัญญาณสองระดับ (two signal
levels)โดยมีตัวเลขที่ไม่ซ้ากันอยู่ทั้งหมด 2 ตัว คือ 0 และ 1 หรืออาจใช้คาอื่นแทน

                             สถานะหนึ่ง    สถานะตรงข้าม
                                  0              1
                                 Off            On
                                Space          Mark
                                Open           Closed
                                Low              Hi

       ถ้าจะเทียบเลขฐานสองกับเลขฐานสิบแล้ว เลขฐานสองจะมีจานวนหลักมากกว่า เพราะว่าใน
แต่ละหลักจะมีเลขได้สองค่า แต่ถ้าเป็นเลขฐานสิบแต่ละหลักจะมีเลขได้เก้าค่าคือ 0 ถึง 9
       ระบบเลขฐานสิบ แต่ละหลักจะมีค่าเวจต์เป็นค่าสิบยกกาลังของหลักนั้น ระบบเลขฐานสองก็
เช่นเดียวกัน จะมีฐานของเลขฐานสอง (base 2 system) การหาค่าเวจต์ในแต่ละหลักจะหาได้จากค่า
ยกกาลังสองของหลักนั้นๆ

                                ฐานสอง          ฐานสิบ
                                  2^0                1
                                  2^1                2
                                  2^2                4
                                  2^3                8
                                  2^4             16
                                  2^5             32
                                  2^6             64
                                  2^7            128
                                  2^8            256
2^9              512
                                     2^10             1024
                               ค่าของ2ยกกาลังต่างๆเป็นฐานสิบ

      ถ้าต้องการแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบก็สามารถทาได้ เช่นถ้าแปลงเลข 101101 เป็น
เลขฐานสิบสามารถทาได้ดังนี้
                  (1x2^5)+(0x2^4)+(1x2^3)+(1x2^2)+(0x2^1)+(1x2^0) = 45
             ตัวเลขฐานสอง 101101 จะมีค่าเท่ากับ 45 ในระบบเลขฐานสิบ
      ระบบเลขฐานสองก็มีทศนิยมเช่นเดียวกับระบบเลขฐานสิบ ซึ่งเรียกว่าไบนารีพอยต์(binary
point) โดยจะมีเครื่องหมายจุดแบ่งตัวเลขจานวนเต็มกับเลขทศนิยมออกจากกัน ค่าเวจต์ของเลข
ทศนิยมแต่ละหลักจากซายไปขวาจะเป็นดังนี้ 1/2 , 1/4 , 1/8 , 1/16........ไปเรื่อยๆหรืออาจจะเขียน
เป็นเลขยกกาลังค่าลบก็ได้

                                   ฐานสอง           ฐานสิบ
                                    2^ -1              0.5
                                    2^ -2             0.25
                                    2^ -3            0.125
                                    2^ -4            0.0652
                                    2^ -5           0.03125
                                    2^ -6          0.015625
                             ค่าของ2ยกกาลังค่าลบ เป็นเลขฐานสิบ

        ในระบบเลขฐานสิบนั้นแต่ละหลักจะเรียกว่าหลัก แต่ถ้ัาเป็นระบบเลขฐานสองแต่ละหลักจะ
เรียกว่าบิต (bit) คาว่าบิต (bit) ย่อมาจาก binary digit ถ้าในงานดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ จะพบคาว่า
“Bit” บ่อยมาก
       ในแต่ละหลักของเลขฐานสอง หลักซึ่งมีค่าเวจต์ต่าสุดซึ่งอยู่ทางด้านขวาสุด จะเรียกว่าบิตที่มี
ความสาคัญต่าสุด(LSB : Least Significant Bit) สาหรับด้านที่อยู่ซ้ายสุดจะมีค่าเวจต์สูงสุด เรียกว่า
บิตที่มีความสาคัญสูงสุด(MSB : Most Significant Bit) ถ้าใช้ในระบบเลขฐานสิบจะเรียกว่า
LSD(Least Significant Digit) และ MSD(Most Significant Digit) ในระบบดิจิตอลในบางครั้งเราจะ
เห็นเขียนว่า MSD , LSD กากับเอาไว้ด้วย
2. ระบบเลขฐานสิบ (Decimal)
      ระบบเลขฐานสิบ (Decimal) มีตัวเลขที่ไม่ซ้ากันอยู่ทั้งหมด 10 ตัว
คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ BCD code อันนี้คงไม่ต้องกล่าวอะไร
มากเพราะอยู่ใันชีวิตประจาวันอยู่แล้ว

3. ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
      ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal) ฐานของมันจะมีค่าเป็น 16 ซึ่งจะมีตัวเลขที่ไม่ซ้ากันอยู่
ทั้งหมด 16 ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F (ตัวอักษร 6 ตัว แทน ตัวเลข
10 –15 ตามลาดับ)
      ในงานด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ตัวเลขที่ใช้ในการประมวลผลจะเป็น
เลขฐานสอง แต่ถ้าตัวเลขมีค่ามากจะทาให้เลขฐานสองมีหลายหลัก จึงใช้เลขฐานสิบหกแทน
เลขฐานสอง แล้วจะมีการแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสองอีกทีหนึ่ง เลขฐานสิบหกนั้นจะนิยม
ใช้มากในคอมพิวเตอร์ ถ้าหากไบนารี่ที่ใัช้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นแบบ 8 บิต ซึ่งแทนเลขฐานสิบ
หกได้ตั้งเเต่ 0 ถึง 255 แต่สามารถแทนด้วยเลขฐานสิบหกเพียงสองหลักเท่านั้น ถ้าหากเรามี
เลขฐานสิบ 99,999,999 ถ้าเขียนแทนด้วยเลขไบนารีจะต้องใช้หลายบิต แต่ถ้าเขียนเเทนด้วย
เลขฐานสิบหกจะใช้เพียงไม่กี่หลัก
      ค่าสิบหกสามารถแทนได้ด้วยสองยกกาลังสี่ หรือ 16 = 2^4 ดังนั้นเลขฐานสิบหกจึงสามารถ
เขียนแทนด้วยเลขฐานสองได้สี่บิต โดยมีค่าตั้งแต่ 0000 ถึง 1111 หรือแทนด้วยอักษร 0 ถึง F
ความสัมพันธ์ระหว่างเลขฐานสอง ฐานสิบ และฐานสิบหกแสดงใัว้ในตารางความสัมพันธ์ของเลข
BIN, BCD และ HEX
      การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหกก็สามารถทาได้โดยง่าย โดยจัดเลขฐานสองตั้งแต่
บิตแรกจนถึงบิตสุัดท้ายเป็นกลุ่มๆ โดยจัดกลุ่มละ 4 บิตและแทนค่าด้วยเลขฐานสิบหกแต่ละค่าให้
สอดคล้องกันตัวอย่างต่อไปนี้จะเป็นการแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก

                           เรื่อง การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้งานด้านต่างๆ อย่างแพร่หลายดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้งานด้านต่างๆ ย่อม
มีวัตถุประสงค์ โครงสร้าง และปริมาณที่แตกต่างกัน เช่น งานวิจัยเพื่อส่งยานอวกาศออกไปนอก
โลก หรืองานของธนาคารที่มีสาขาทั่วไป หรืองานคุมสินค้าคงคลังของห้างสรรพสินค้า หรืองาน
ฝึกอบรมคณิตศาสตร์สาหรับเด็กประถมศึกษา หรืองานผลิตหนังสือพิมพ์ในมหาวิทยาลัย เป็นต้น
ทาให้มีการผลิตคอมพิวเตอร์ออกมาให้มีขนาดและความสามารถรวมทั้งราคาอย่างเหมาะสมกับงาน
ด้านต่างๆ ซึ่งการแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์นี้พิจารณาจากสรรถนะของหน่วยประมวลผลกลาง
ความรู้ของหน่วยความจา และคุณสมบัติประกอบอื่นๆ
      คอมพิวเตอร์ที่มีการใช้งานมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ
ได้ดังนี้
      1. แบ่งตามลักษณะการประมวลผล
      2. แบ่งตามขนาดและความสามรถของเครื่อง
      3. แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน




                          เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ

1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ
คอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ต่อพ่วง
รอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์ เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ
เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทางานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้ จะต้องนามา
ต่อเชื่อมเพื่อทางานร่วมกันเป็นระบบที่เรียกว่า "ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)" ที่มี
โครงสร้างของระบบจะทางานตามโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น

2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคาสั่งที่ควบคุมให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทางานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจาก
โรงงานจะยังไม่สามารถทางานได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่สั่งให้
ฮาร์ดแวร์ทางานตามต้องการได้ โดยโปรแกรมหรือชุดคาสั่งนั้นจะเขียนจากภาษาต่าง ๆ ที่มนุษย์
สร้างขึ้น เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี
โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียน
ซอฟต์แวร์แบบต่าง ๆ ขึ้นมา

ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่จัดการและควบคุม ทรัพยากร
ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอานวยความสะดวกด้านเครื่องมือสาหรับการทางานพื้นฐานต่าง ๆ
ตั้งแต่ผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทางานจะเป็นไปตามชุดคาสั่งที่เขียนขึ้น ตลอดจนควบคุม
การสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้
งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น งานด้านการจัดทาเอกสาร การทาบัญชี การ
จัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอื่น ๆ ตามแต่ผู้ใช้ต้องการ

3. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานามาให้คอมพิวเตอร์ทาการ
ประมวลผลคานวณ หรือกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่าง
เช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทางาน ซึ่ง
อาจนามาจาแนกเป็นรายงานต่างๆ เกี่ยวกับบุคลากรในหน่วยงานได้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลข
มาตรๆ ไฟฟ้าของบ้านแต่ละหลัง ก็ใช้สาหรับคานวณเป็นปริมาณไฟฟ้า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิด
เป็นเงิน ที่จะต้องชาระให้กับการไฟฟ้าฯ

4. บุคคลากร (Peopleware) คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงาน
นั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น มีความสาคัญมาก เพราะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ
นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรมดาเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่
สามารถทาด้วยตัวเองได้ ถ้าหากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่องคอมพิวเตอร์มากนัก เราจึงถือว่าบุคลากร เป็น
ส่วนประกอบที่สาคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์ด้วย ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
- เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator)

- บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System)

- ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing Manager)

- ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user)

5. กระบวนการทางาน (Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์
หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทางานกับคอมพิวเตอร์จาเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอน
การทางาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน มีการจัดทาคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคน
เรียนรู้และใช้อ้างอิงได้นอกจากนั้นเมื่อการใช้มาตรฐาน ช่วยให้การประสานงาน ระหว่างหน่วยงาน
ย่อยๆ ราบรื่น การจัดซื้อจัดหา ตลอดจนการบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ก็จะง่าย
ขึ้นเพราะทุกหน่วยงานใช้มาตรฐานเดียวกัน
เรื่อง ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์และการนาไปใช้งาน

จาก การที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการ ทาให้ถูกนามาใช้ประโยชน์ต่อการดาเนิน
ชีวิตประจาวันในสังคมเป็นอย่างมาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ
เช่น พิมพ์จดหมาย รายงาน เอกสารต่างๆ ซึ่งเรียกว่างานประมวลผล ( word processing )
นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน ดังต่อไปนี้
งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทาบัญชี
งานประมวลคา และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งาน
อุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นส่วน
ของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทาให้การผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถ
รับ หรืองานธนาคาร ที่ให้บริการถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์
คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงิน และการโอนเงินระหว่างบัญชี เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย
งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในนามาใช้ในส่วน
ของการคานวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวด
ไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะ
ให้ผลที่แม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้รวดเร็วขึ้น
งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ที่นั่ง
ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทาให้สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้องเสียเวลา
รอ อีกทั้งยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ
หรือในการสื่อสารก็ใช้ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งจะช่วยส่งผลต่อการส่ง
สัญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความชัดเจน
งาน วิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ
หรือ จาลองสภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดย
คอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและ
ติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน
งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่
กับบทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกล
ผ่านคอมพิวเตอร์ , กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อ
เชื่อมโยงไปยังสถาบันต่างๆ , กรมสรรพากร ใช้จัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น
การ ศึกษา ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน ซึ่งมีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยการ
สอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียน ซึ่งทาให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน
การเก็บข้อมูลยืมและการส่งคืนหนังสือห้องสมุด




                                   เครือข่ายคอมพิวเตอร์

                            เรื่อง การสื่อสารและเครือข่ายสื่อสาร

   ระบบเครือข่าย (Network System) หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป
เข้าด้วยกัน เช่น การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในห้องเรียน ภายในองค์กร ระหว่าง อาคาร
ระหว่างเมืองต่าง ๆ
ตลอดไปจนถึงการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทั่วทั้งโลกที่เรียกว่า "อินเทอร์เน็ต" (Internet)
       การติดต่อสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันมีรากฐานมาจากความพยายามในการเชื่อมต่อระหว่าง
คอมพิวเตอร์
กับคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันโดยอาศัยระบบการสื่อสาร ต่อมาเมื่อมีการใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้นความ
ต้องการในการ
ติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน เรียกว่า ระบบเครือข่าย (Network System)

     ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System) เป็นวิธีการทางด้านการสื่อสาร
ข้อมูล
ที่กาลังได้รับการนามาประยุกต์ใช้ในระบบสานักงาน ซึ่งเป็นระบบที่มี บุคคลากรในการทางานน้อย
ที่สุดโดยอาศัย
เครื่องมือแบบอัตโนมัติและระบบสื่อสารเชื่อมโยงข่าวสาร ระหว่างเครื่องมือเข้าด้วยกัน

     สานักงานที่จัดว่าเป็นสานักงานอัตโนมัติประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ คือ
1. Networking System คือ ระบบข่ายงานที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ระหว่างกันทั่ว
       องค์กร
    2. Electronic Data Interchange คือ การสื่อสารข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน โดยอาศัย
       สัญญาณข้อมูลข่าวสาร
       แบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบข่ายงาน
    3. Internet Working คือ การรวมตัวกันของระบบข่ายงานที่กระจายอยู่ทั่วโลก จนกลายเป็น
       เครือข่ายขนาดใหญ่
    4. Paperless System คือ ระบบที่ไม่ใช้กระดาษบทบาทที่สาคัญอีกบทบาทหนึ่งคือการ
       ให้บริการข้อมูล

ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล

1. จัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว

2. ความถูกต้องของข้อมูล

3. ความเร็วของการทางาน

4. ประหยัดต้นทุน



                                  เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (computer network) คือ ระบบการสื่อสาร
ระหว่างคอมพิวเตอร์จานวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป

การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทสาคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่าง
แพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของ
ระบบให้สูงขึ้น และลดต้นทุนของระบบโดยรวมลง

การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครือข่าย ทาให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการ
ใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราด
ภาพ (scanner) ทาให้ลดต้นทุนของระบบลงได้
ชนิดของเครือข่าย

เครือข่าย เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อสะดวกต่อการร่วมใช้
ข้อมูล, โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอานวยความสะดวกในการติดต่อแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างเครื่องได้ตลอดเวลา ระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครือข่าย ซึ่งปัจจุบัน
เครือข่ายที่รู้จักกันดีมีอยู่ 3 แบบ ได้แก่

เครือข่ายภายใน หรือ แลน (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันใน
พื้นที่ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในห้อง หรือภายในอาคารเดียวกัน

เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกัน ใน
ระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็น กิโลเมตร หรือ หลาย ๆ กิโลเมตร

เครือข่ายงานบริเวณนครหลวง หรือ แมน (Metropolitan area network : MAN)

และยังมีอีกสองเครือข่ายที่ยังมีเพิ่มเติมอีกคือ

เครือข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ แคน (Controller area network) : CAN)
เป็นเครือข่ายที่ใช้ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU)

เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal area network) : PAN) เป็นเครือข่ายไร้สาย




                             เรื่อง ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

เครือข่ายที่ทางานรวมกันเป็นกลุ่มงาน เรียกว่า Workgroup เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้า
ด้วยกันจะเป็นเครือข่ายขององค์กร จะเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ สามารถประยุกต์ใช้งานได้อย่าง
กว้างขวางโดยเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันและสื่อสารถึงกัน
ได้ เช่น
1. การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน เครือข่ายที่ให้บริการเก็บข่าวสาร ตัวเลขหรือข้อมูลใช้งานจะใช้
ฐานข้อมูลเดียวกันได้ เช่น ราคาสินค้า บัญชีสินค้า ฯลฯ

2. การแบ่งปันทรัพยากรในเครือข่าย อุปกรณ์ต่าง ๆ ใช้ร่วมกันได้ เช่น การพิมพ์เอกสารจะใช้
เครื่องพิมพ์เครื่องเดียวกับคอมพิวเตอร์เครือข่ายหลายเครื่องก็ได้ เป็นต้น

3. การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย เมื่อมีการเชื่อมโยงสถานีงานเข้าด้วยกันก็จะสามารถ
โอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้ การดาเนินการต่าง ๆ ควรเป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่ฝ่ายบริหารเครือข่าย
ขององค์กรได้กาหนดไว้

4. สานักงานอัตโนมัติ แนวคิดคือต้องการลดการใช้กระดาษ หันมาใช้ระบบการทางานด้วย
คอมพิวเตอร์ที่แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันที โดยการใช้สัญญาณอิเลคทรอนิกส์แทน จะทา
ให้การทางานคล่องตัวและรวดเร็ว

การใช้งานเครือข่ายยังมีการประยุกต์ได้หลายอย่างตั้งแต่ การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน การ
ทางานเป็นกลุ่ม การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การนัดหมายการส่งงาน แม้แต่ในห้องเรียนก็ใช้เครือข่าย
เพื่อการเรียนการสอน ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้เรียกค้นข้อมูลเป็นต้น




                                  สื่อสารสนเทศแบบต่าง ๆ

                                 เรื่อง ห้องสมุดแหล่งความรู้

        ห้องสมุด : แหล่งความรู้
        หากทุกบ้านมีห้องสมุดเล็กๆของตนเอง มีแหล่งความรู้ที่เริ่มต้นที่บ้านได้ มีห้องอ่าน
        หนังสือหรือมุมอ่านหนังสือที่จะปลูกฝังลูกหลานให้เป็นผู้รักการอ่านตั้งแต่เล็ก การสร้าง
        มุมอ่านหนังสือ หรือที่รวบรวมหนังสือต่างๆไว้ในบ้าน จึงเป็นเรื่องที่ผู้ใหญ่ หรือหัวหน้า
        ครอบครัวต้องทาเป็นตัวอย่าง หากพ่อแม่ไม่มีนิสัยรักการอ่าน หรือแสวงหาความรู้แล้ว ลูก
        ก็เป็นเสมือนเช่นพ่อแม่เพราะได้รับตัวอย่าง อย่างใกล้ชิด
        คงต้องยอมรับว่าทุกวันนี้ชาวประชาส่วนใหญ่ ยังมีพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ต้องหาเช้ากินค่า
        ต้องต่อสู้กับชีวิต ต้องทามาหากินจนตัวเป็นเกรียว การที่จะให้มาอ่านหนังสือจึงเป็นเรื่อง
ยาก และหากสังคมยังเป็นสังคมที่ขาดความรอบรู้ การยกฐานะความเป็นอยู่ต่างๆก็ยากไป
ด้วย ดังนั้นต้องสร้างบุตรหลานให้พ้นจากบ่วงหรือวังวนในเรื่องนี้ให้ได้
อีกประการที่สาคัญคือทุกวันนี้เราหาหนังสือน่าอ่านได้ยากขึ้น หรือมีราคาแพงขึ้น ปริมาณ
หนังสือที่เป็นภาษาไทยและเป็นแหล่งความรู้ให้กับคนไทยยังมีได้น้อยมาก เมื่อเทียบกับ
ประชากร แต่ขณะเดียวกันจะพบว่า สานักพิมพ์ที่พิมพ์หนังสือก็มีความยากที่จะพิมพ์แล้วมี
ยอดขายที่สูงขึ้น หนังสือวิชาการของไทยมียอดการพิมพ์สามพันเล่มก็หาที่ขายไม่ได้แล้ว
จากครอบครัวก็เป็นหมู่บ้าน เรามีหมู่บ้านทั่วประเทศประมาณแปดหมื่นหมู่บ้าน ถ้าให้แต่
ละหมู่บ้านมีมุมอ่านหนังสือ หรือมีที่รวบรวมแหล่งหนังสือและความรู้ เราก็จะได้ศาลาอ่าน
หนังสือถึงแปดหมื่นแห่ง ยิ่งรวมเป็นตาบลมีห้องสมุดแบบหนึ่งห้องสมุดหนึ่งตาบลด้วย
แล้ว โครงการนี้น่าจะเป็นเรื่องที่ดีเหมือนนโยบายของรัฐบาลที่จะกระจายสู่ตาบล เรามี
ตาบลกันประมาณกว่าเจ็ดพันตาบล นั่นหมายถึงมีห้องสมุดประจาตาบลถึงเจ็ดพันกว่าแห่ง
หากเรามองทางด้านซัพพลายและช่วยกันสร้างแหล่งหนังสือ เราก็จะได้แหล่งความรู้สู่
ชุมชนได้มากขึ้น หากชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ การผลิตในภาคต่างๆของชุมชนย่อมมี
ผลผลิตสูงขึ้น ลดปัญหาเรื่องโรคภัยไข้เจ็บเพราะชุมชนเข้าใจและดูแลสุขภาพตนเองได้ดี
ขึ้น ความรู้จึงเป็นสิ่งที่จะทาให้เกิดการแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างดีเยี่ยม
ก็ต้องถามอีกว่า ทุกวันนี้เรามีการผลิตองค์ความรู้ในรูปของหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่างๆมากน้อย
เพียงไร เรามีหนังสือพิมพ์ที่แพร่ข่าวสารรายวัน มีผู้อ่านหนังสือพิมพ์ เรามีวารสาร มี
เอกสาร ตาราวิชาการต่างๆ แต่สิ่งเหล่านี้ก็ยังขาดการรวบรวมและส่งเสริมให้มีการอ่านหรือ
ใช้ประโยชน์อย่างทั่วถึง
ในยุคปัจจุบันเป็นยุคดิจิตอลและยุค"e" หลายคนอาจตั้งข้อสังเกตว่า รัฐน่าตั้งห้องสมุด
ดิจิตอล รวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ไว้ในรูปดิจิตอล ทาแห่งเดียว และอาจได้ความรู้มากมาย
ที่ต้นทุนต่ากว่า แล้วกระจายระบบอินเทอร์เน็ตเข้าสู่ตาบล หมู่บ้าน เพื่อให้ห้องสมุดดิจิตอล
กระจายเข้าสู่ครัวเรือนได้มากขึ้น
การสร้างห้องสมุดดิจิตอลก็เป็นเรื่องที่ดีควรทาควบคู่กันไปกับห้องสมุดจริง และการ
พัฒนาหนังสือสิ่งพิมพ์ ห้องสมุดดิจิตอลยังต้องการโครงสร้างพื้นฐานที่ต้องลงทุนอีก
มากมาย โดยเฉพาะโครงสร้างทางเทคโนโลยีเครือข่าย ซึ่งอาจต้องใช้ทุนมหาศาล กว่าจะ
ให้อินเทอร์เน็ตลงไปถึงตาบลและหมู่บ้าน อีกทั้งการเรียกเข้าหาอินเทอร์เน็ตก็มีค่าใช้จ่าย
ตามมาอยู่ดี

เรื่อง Digital Library ห้องสมุดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายเพื่อโรงเรียนไทยหรือสคูลเน็ต เป็นเครือข่ายที่มีจานวนผู้ใช้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ปัจจุบันมีโรงเรียนเชื่อมต่ออยู่บนเครือข่ายนี้มากกว่าหนึ่งพันโรงเรียน ผู้ใช้ส่วนใหญ่เป็นครู
และนักเรียน และใช้ประโยชน์เพื่ อการศึกษาเป็นสาคัญ ถึงแม้ว่าเครือข่ายสคูลเน็ตจะ
เชื่อมโยงเข้าสู่อินเทอร์เน็ตและเรียกค้นข้อมูลจากทั่วโลกได้แล้วก็ตาม แต่ปัญหาที่พบคือ มี
ข้อมูลหรือเนื้อหาที่ใช้ประโยชน์กับครูและนักเรียนโดยตรงได้น้อย อีกทั้งยังเป็น
ภาษาต่างประเทศ ทาให้เกิดความเข้าใจได้ยาก และการเรียกใช้ข้อมูลได้ค่อนข้างช้า ส่วน
ใหญ่ข้อมูลที่ใช้มักเป็นเรื่องความสนุกเพลิดพลิน นับเป็นปัญหาหนึ่งที่จะมีผลต่อเด็กและ
เยาวชนได้แก่ การแพร่ซึมวัฒนธรรมจากต่างชาติ
เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดจากการใช้เครือข่ายสคูลเน็ต และเป็นจุดน่าสนใจที่จะดึงดูดให้
นักเรียนและเยาวชนไทยได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลความรู้ จึงจาเป็นต้องพัฒนาเนื้อหาขึ้น
ภายในประเทศไทย เพื่อให้เรียกใช้ได้ง่าย รวดเร็ว และตรงตามความต้องการ ข้อมูล
ข่าวสารเหล่านี้จะเป็นเสมือน ห้องสมุดความรู้ที่ใช้งานร่วมกันเพื่อประโยชน์ต่อลูกหลาน
ชาวไทยต่อไป
โครงการดิจิตอลไลบารีจึงเป็นโครงการต้นแบบเริ่มต้น และเป็นตัวอย่าง ที่จะชักจูงให้
โรงเรียนต่าง ๆ เข้ามาร่วมโครงการสร้างเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ และเชื่อมโยงเข้าสู่ห้องสมุด
ดิจิตอลนี้ อย่างเป็นระบบ ก่อให้เกิดห้องสมุดเสมือนจริงบนเครือข่ายสคูลเน็ตสาหรับการ
ใช้งานร่วมกันต่อไป
เนื้อหาที่นามาใส่ไว้ในโครงการนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทาง สาหรับโรงเรียนต่าง ๆ ที่จะ
ร่วมโครงการ โดยเป็นการรวบรวมและเรียบเรียงมาเพื่อเป็นตัวอย่างของการสร้างห้องสมุด
ดิจิตอล ที่จะขยายเพิ่มต่อไปอย่างไม่มี ขอบเขต โดยเน้นเพื่อการศึกษาของเด็กและเยาวชน
เป็นสาคัญ คณะผู้ดาเนินการต้องขอขอบพระคุณหน่วยงาน องค์กร และบุคคลที่ได้ให้การ
สนับสนุน ทั้งทางด้านเนื้อหาและร่วมจัดทา และหวังว่าโครงการนี้จะได้รับการขยายผลให้
กว้างขวางต่อไป




          เรื่อง แหล่งข้อมูลของประเทศไทยบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่าง
เครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโท
คอล (Protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล เว็บบอร์ด
และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้

เนื้อหา

         1 ที่มา
         2 การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ต
         3 จานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก
         4 อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
               o 4.1 จานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย

               o 4.2 อินเทอร์เน็ตแบนด์วิท (INTERNET BANDWIDTH)

         5 ดูเพิ่ม
         6 หน่วยงานไทยที่เกี่ยวข้อง
         7 อ้างอิง
         8 แหล่งข้อมูลอื่น


ที่มา

อินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) จากการเกิดเครือข่าย ARPANET (Advanced
Research Projects Agency NETwork) ซึ่งเป็นเครือข่ายสานักงานโครงการวิจัยชั้นสูงของ
กระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถุประสงค์หลักของการสร้างเครือข่ายคือ เพื่อให้
คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อ และมีปฏิสัมพันธ์กันได้ เครือข่าย ARPANET ถือเป็นเครือข่าย
เริ่มแรก ซึ่งต่อมาได้ถูกพัฒนาให้เป็นเครือข่าย อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน

การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ต

การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันทาได้หลากหลาย อาทิเช่น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ
อีเมล์ (e-Mail) , สนทนา (Chat), อ่านหรือแสดงความคิดเห็นในเว็บบอร์ด , การติดตามข่าวสาร, การ
สืบค้นข้อมูล / การค้นหาข้อมูล, การชม หรือซื้อสินค้าออนไลน์ , การดาวโหลด เกม เพลง
ไฟล์ข้อมูล ฯลฯ, การติดตามข้อมูล ภาพยนตร์ รายการบันเทิงต่างๆ ออนไลน์ , การเล่นเกม
คอมพิวเตอร์ออนไลน์, การเรียนรู้ออนไลน์ (e-Learning), การประชุมทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต
(Video Conference), โทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต (VoIP), การอับโหลดข้อมูล หรือ อื่นๆ




                                 ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปที่ใช้สร้างสรรค์งาน
                                   เรื่อง ความหมายของซอฟต์แวร์

ความหมายของซอฟต์แวร์

ซอฟต์แวร์ (software) หรือ ส่วนชุดคาสั่ง และยังมีการสะกด ซอฟต์แวร์ เป็นส่วนของระบบ
คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ซอฟต์แวร์นั้น นอกจากจะสามารถใช้งานบน
คอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือ
หุ่นยนต์ในโรงงาน หรือ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ

คาว่า "ซอฟต์แวร์" ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย์ (John W. Turkey) ในปี พ.ศ. 2500
(ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏ ครั้งแรกในเรียงความของแอลัน ทัวริง

ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางาน
ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลาดับขั้นตอนการทางานที่เขียนขึ้นด้วย คาสั่งของคอมพิวเตอร์ คาสั่งเหล่านี้
เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร

์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์ เพราะเป็นลาดับขั้นตอนการ
 ทางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทางานแตกต่างกัน ได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ที่
 แตกต่างกัน ซอฟต์แวร์ จึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทาให้คอมพิวเตอร์
 ทางานได้

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (computer program) คือ กลุ่มชุดคาสั่งที่ใช้อธิบายชิ้นงาน หรือกลุ่มงานที่จะ
ประมวลผลโดย คอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์อาจหมายถึง ซอฟต์แวร์ แอปพลิเคชัน หรือ
โปรแกรม

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่นั้นเป็นชุดคาสั่งที่ออกแบบตามอัลกอริทึม โดยปกติแล้วเขียนโดย
โปรแกรมเมอร์ หรือไม่ก็สร้างโดยโปรแกรมอื่น
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAuraiwan Worrasiri
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารmay18323
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นchaiwat vichianchai
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารkaewwonnesakun
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chushi1991
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chushi1991
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัสArt Asn
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNawaminthrachinuthit Bodindecha School
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ กลุ่มที่ 5 ม.5/6
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ กลุ่มที่ 5 ม.5/6เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ กลุ่มที่ 5 ม.5/6
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ กลุ่มที่ 5 ม.5/6itsmexamm
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่mint_chantal
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2sawitri555
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์ยิ้ม' เเฉ่ง
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศBeauso English
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์สราวุฒิ จบศรี
 

What's hot (20)

Basic it
Basic itBasic it
Basic it
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ กลุ่มที่ 5 ม.5/6
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ กลุ่มที่ 5 ม.5/6เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ กลุ่มที่ 5 ม.5/6
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ กลุ่มที่ 5 ม.5/6
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 

Viewers also liked

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอผลงาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอผลงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอผลงาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอผลงานamonrat160335
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ใบความรู้ เรื่องการประมวลผลข้อมูลในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ เรื่องการประมวลผลข้อมูลในชีวิตประจำวันใบความรู้ เรื่องการประมวลผลข้อมูลในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ เรื่องการประมวลผลข้อมูลในชีวิตประจำวันเจ้าหญิง เจ้าหญิง
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลเทวัญ ภูพานทอง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 

Viewers also liked (6)

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอผลงาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอผลงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอผลงาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอผลงาน
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
ใบความรู้ เรื่องการประมวลผลข้อมูลในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ เรื่องการประมวลผลข้อมูลในชีวิตประจำวันใบความรู้ เรื่องการประมวลผลข้อมูลในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ เรื่องการประมวลผลข้อมูลในชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง

ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการjansaowapa
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีballjantakong
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project mew46716
 
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้guest92cc62
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้ItpresentYaowaluck Promdee
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง (20)

Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
 
2
22
2
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ไอซีที กับ การเรียนรู้ในอนาคต
ไอซีที กับ การเรียนรู้ในอนาคตไอซีที กับ การเรียนรู้ในอนาคต
ไอซีที กับ การเรียนรู้ในอนาคต
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
 

เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง

  • 1. เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจาวัน เรื่อง กาเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มีการตั้งถิ่นฐานอยู่กันเป็นหมู่เหล่าตั้งแต่โบราณกาลมาแล้ว กลุ่มเล็กที่สุด เรียกว่าครอบครัว ถัดขึ้นมาเป็นหมู่บ้าน ตาบล ฯลฯ จนในที่สุดเป็นเมือง เป็นประเทศ มนุษย์แต่ละ หมู่เหล่ามีการติดต่อพบปะกัน เพื่อแลกเปลี่ยนอาหาร สิ่งของเครื่องใช้ ยารักษาโรค ฯลฯ ที่ชุมชน ตนไม่สามารถผลิตได้หรือผลิตได้ไม่เพียงพอ จนเกิดเป็นการค้าขายระหว่างหมู่บ้าน ระหว่างตาบล เมือง และประเทศ การติดต่อเช่นนี้ ทาให้เกิดการส่งและรับ ข้อมูลข่าวสารถึงกัน แรก ๆ ก็เป็นการ บอกกันปากต่อปากต่อมามีการสื่อสารกันด้วยตัวอักษรที่จารึกบนวัสดุต่าง ๆ ซึ่งต่อมากลายเป็นการ ส่งจดหมายถึงกัน ความต้องการการสื่อสารด้วยวิธีการที่หลากหลายขึ้นมีความรวมเร็วมากขึ้น ทาให้เกิดการพัฒนา อย่างต่อเนื่องของเทคโนโลยีโทรคมนาคม ซึ่งอาศัยหลักวิชาทาง วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เปลี่ยนคาพูด ข้อความหรือภาพเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปตามสาย หรือเปลี่ยนเป็นคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า (เรียกว่า คลื่นวิทยุ) กระจายไปในอากาศ เมื่อถึงปลายทาง สัญญาณหรือคลื่นที่ส่งไป นั้นก็จะถูกคืนสภาพให้กลับเป็นคาพูด ข้อความหรือภาพเหมือนกับที่ส่งออกไปจากต้นทาง ทาให้ที่ อยู่คนละซีกโลกกันสามารถรับรู้ ข้อมูลข่าวของกันและกันได้ภายในชั่วพริบตา เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่เพิ่งมีขึ้นในช่วงเวลาประมาณ 20 ปี ที่ผ่านมานี้เอง เป็น เทคโนโลยีที่เกิดจากการรวมสองเทคโนโลยีเข้าด้วยกัน คือ เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ คาว่า สารสนเทศ หมายถึงตัวเนื้อหาของข้อมูลข่าวสาร เราใช้คอมพิวเตอร์ทาหน้าที่ รวบรวม จัดเก็บ ปรับเปลี่ยนรูปแบบของสารสนเทศ และเทคโนโลยีโทรคมนาคมซึ่งพัฒนา เครือข่ายโทรศัพท์และเครือข่ายวิทยุมาสร้างระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขึ้น เป็นการนาเอา ความสามารถของคอมพิวเตอร์ (คานวณ เปรียบเทียบ และตรวจสอบได้รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยา) มา รวมกับความสามารถของระบบโทรคมนาคม (ติดต่อได้รวดเร็วและกว้างไกล) ดังนั้น เทคโนโลยี สารสนเทศ จึงหมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาจัดการกับสารสนเทศนั่นเอง
  • 2. เรื่อง ประวัติโดยย่อของเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายของ เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ในความหมายโดยกว้าง คือการศึกษาและนา ความรู้ในสาขาชีววิทยา จุลชีววิทยา เคมี อณูพันธุศาสตร์ที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตชนิ... ๆ เช่น จุลินทรีย์ พืช และสัตว์มาใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีชีวภาพที่เก่าแก่ที่สุดในประวัติ... เทคโนโลยีการหมัก (Fermentation Technology) และ เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ (พ.ศ. 2547) คือวิทยาการตัดแต่ง พันธุกรรม (DNA Recombinant Technology) ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพมีขอบเขตที่กว้า... การแพทย์ การผลิตพลังงาน และการรักษาสภาพแวดล้อม เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตสัตว์ พืช จุลินทรีย์ รวมทั้งผลิตผลจากไขมัน เช่น นม น้ามัน ยารักษาโรค ฯลฯ ล้วนจัดเป็นเทคโนโลยีชีวภาพ ทั้งสิ้น เทคโนโลยีที่ใช้ในการแปรรูปและเพิ่มคุณค่า... หรือ ที่ใช้หลักการของวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ... ล้วนจัดเป็นเทคโนโลยีชีวภาพเช่นเดียวกัน เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (IT ย่อจาก information technology) หมายถึงเทคโนโลยีสาหรับ การประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง การแปลง การจัดเก็บ การประมวลผล และ การค้นคืนสารสนเทศ ในการประยุกต์ การบริการ และพื้นฐานทางเทคโนโลยี สามารถแบ่งกลุ่มย่อย เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ คอมพิวเตอร์, การสื่อสาร และข้อมูลแบบมัลติมีเดีย ซึ่งในแต่ละกลุ่มนี้ยังแบ่งเป็น กลุ่มย่อยๆ ได้อีกมากมาย องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนนี้ ยังต้องอาศัยการทางานร่วมกัน ยกตัวอย่างเช่น เครื่องเซิร์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์) เป็นองค์ประกอบสาคัญของระบบเครือข่าย (การ สื่อสาร) โดยมีการส่งข้อมูลต่างๆ ไปยังเครื่องลูก (ข้อมูลแบบมัลติมีเดีย)
  • 3. เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจาวัน คนเราทุกวันนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่ใช้ชีวิตอยู่ในเมือง ไม่สามารถจะอยู่ได้โดยไม่มีการติดต่อกับ โลกภายนอก การรับรู้ข่าวสาร เช่น การอ่านหนังสือพิมพ์ การฟังวิทยุหรือดู โทรทัศน์ ก็เป็นการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศแบบหนึ่ง การใช้โทรศัพท์ โทรสาร ก็เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนั้น การถอนเงินจากเครื่องจ่ายเงินอัตโนมัติ (ตู้ เอ ที เอ็ม) ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจาวัน ไม่แต่เฉพาะคนในเมืองเท่านั้น แม้แต่คนในชนบทก็มีส่วนต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน ชีวิตประจาวันด้วย เช่น เมื่อไปทาบัตรประชาชนที่อาเภอ ทางอาเภอจะเรียกดูข้อมูลจากฐานข้อมูล กลางของสานักทะเบียน กระทรวงมหาดไทย ซึ่ง ต่อเชื่อมกันเป็นเครือข่ายที่สามารถเรียกใช้งานได้ทันที เช่นนี้เรียกว่า ระบบออนไลน์ (หรือสายตรง) ระบบเช่นนี้มี ประโยชน์มาก เพราะจาทาให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและตรงกัน และที่เราจะพบได้อีกที่คือระบบ เวชระเบียน การค้นหาประวัติผู้ป่วย ซึ่งจะเก็บข้อมูลไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย เมื่อมีการเรียกใช้งานก็จะส่ง ข้อมูลไปยัง เครื่องที่เรียกใช้งานเป็นต้น ใบงานที่ 3เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจาวัน คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด 1. จงบอกเทคโนโลยีที่นักเรียนรู้จักมา 5 อย่าง 2. เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายคืออะไร 3. จงยกตัวอย่างงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนนอกเหนือ จากตัวอย่าง ในใบความรู้
  • 4. ข้อมูลและสารสนเทศ เรื่อง จากข้อมูลมาเป็นสารสนเทศ ความหมายของข้อมูล ข้อมูลคือ ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์หรือสิ่งที่สนใจ ที่บ่งบอกถึงสถานะทาง กายภาพบางอย่างในเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ เช่น มีแสงสว่างหรือไม่มี สวิตช์ปิดหรือเปิด อุณหภูมิที่องศาเซลเซียส จานวนนักเรียนกี่คน ชื่อ อายุ เพศ ของนักเรียนแต่ละคน เป็นต้น วิธีการหาข้อมูล ในการหาข้อมูลนั้น เรามีวิธีการหาข้อมูลโดยการแบ่งตามกรณีการจัดเก็บดังนี้ กรณีที่ 1 ข้อมูลที่มีการจดบันทึกไว้เรียบร้อยแล้ว ให้ผู้หาข้อมูลไปติดต่อหน่วยงานที่ทาการรวบรวม และจัดเก็บข้อมูลนั้น เช่น ครูให้นักเรียนไปขอรายชื่อนักเรียนทั้งหมอจากฝ่ายทะเบียน ซึ่งฝ่าย ทะเบียนเป็นผู้ที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลนั้นไว้ เรามาสามารถนามาใช้งานได้ทันที (ปัจจุบันส่วน ใหญ่มีการจัดเก็บโดยใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น) กรณีที่ 2 ข้อมูลที่ไม่มีการจดบันทึกไว้ เช่น ผู้หาข้อมูลต้องทาการสารวจข้อมูลเอง โดยการสอบถาม เช่น ครูสอบถามชื่อนักเรียนแต่ละคนในห้องว่าชื่ออะไรกันบ้างแล้วจดบันทึกไว้เองเพื่อนาไปใช้งาน ต่อไป วิธีการนาข้อมูลไปใช้ ข้อมูลที่หาหรือรวบรวมมาได้ในชั้นต้นนั้น เรียกว่า ข้อมูลดิบ ยังไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ มากนัก จะต้องนาไปทาการประมวลผลเสียก่อน การประมวลผลข้อมูล การประมวลผลข้อมูล คือ การนาข้อมูลไปจัดหมวดหมู่ คานวณหาค่าบางอย่างที่สนใจ เช่น ถ้าอยาก ทราบว่าอัตราส่วนเปรียบเทียบว่ามีนักเรียนชายกับนักเรียนหญิงกี่คน ซึ่งเราได้นาข้อมูลมาผ่านการ นับ หรือการทาสถิติบันทึก เพื่อให้ได้จานวนนักเรียนชายกับนักเรียนหญิง นักเรียนทั้งหมด รวม ทั้งหมด 47 คน ซึ่งข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว เราเรียกกว่า สารสนเทศ ที่สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้ต่อไป เรื่อง จากสารสนเทศมาเป็นความรู้ ความหมาย การรู้สารสนเทศ (Information literacy) หมายถึง ความรู้ความสามารถและทักษะของบุคคลในการ เข้าถึงสารสนเทศ ประเมินสารสนเทศที่ค้นมาได้ และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพทุกรูปแบบ ผู้รู้สารสนเทศจะต้องมีทักษะในด้านต่างๆ เช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์และ / หรือ การคิดอย่างมี
  • 5. วิจารณญาณ ทักษะการใช้ภาษา ทักษะการใช้ห้องสมุด ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ความสาคัญ การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อความสาเร็จของบุคคลในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. การศึกษา การรู้สารสนเทศเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการศึกษาของบุคคลทุกระดับ ทั้งการศึกษาใน ระบบโรงเรียน การศึกษานอกระบบโรงเรียน การศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาในปัจจุบันตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มีการ ปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังนั้นบทบาทของผู้สอนจึงเปลี่ยนเป็นผู้ให้คาแนะนาชี้แนะ โดยอาศัยทรัพยากรเป็นพื้นฐานสาคัญ 2. การดารงชีวิตประจาวัน การรู้สารสนเทศเป็นสิ่งสาคัญยิ่งในการดารงชีวิตประจาวัน เพราะผู้รู้ สารสนเทศจะเป็นผู้ที่สามารถวิเคราะห์ประเมินและใช้สารสนเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเอง เมื่อต้องการตัดสินใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ถ้าต้องการซื้อเครื่องปรับอากาศ ของบริษัทใดบริษัทหนึ่งก็ต้องพิจารณามาตรฐาน คุณภาพ บริการหลังการขาย และเปรียบเทียบ ราคา แล้วจึงค่อยตัดสินใจ เป็นต้น 3. การประกอบอาชีพ การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อการประกอบอาชีพของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพราะบุคคลนั้นสามารถแสวงหาสารสนเทศที่มีความจาเป็นต่อการประกอบอาชีพของตนเองได้ เช่น เกษตรกร เมื่อประสบปัญหาโรคระบาดกับพืชผลทางการเกษตรของตน ก็สามารถหาตัวยาหรือ สารเคมีเพื่อมากาจัดโรคระบาด ดังกล่าวได้ เป็นต้น เรื่อง ความรู้ช่วยในการตัดสินใจ ในองค์การต่าง ๆ นั้น สามารถแบ่งการทางานได้เป็น 4 ระดับด้วยกันคือ ระดับวางแผนยุทธศาสตร์ ระยะยาว (strategic planning) ระดับวางแผนการบริหาร (tactical planning) ระดับวางแผนปฏิบัต การ (operation planning) และ ระดับผู้ปฏิบัติการ (clerical) โดยใน 3 ระดับแรกนั้นจะจัดอยู่ใน ระดับบริหาร (Management) และระดับสุดท้ายจัดอยู่ใน ระดับปฏฺบัติการ (Operation)ระบบ สารสนเทศจะทาการเก็บรวมรวบข้อมูลจากระดับปฏิบัติการ และทาการประมวลผลเพื่อให้ สารสนเทศกับบุคลากรในระดับต่าง ๆ ซึ่งในแต่ละระดับนั้นจะใช้ลักษณะและปริมาณของ สารสนเทศที่แตกต่างไป ระบบสารสนเทศในองค์สามารถแทนได้ด้วยภาพปิรามิด ตามรูปจากภาพ จะเห็นได้ว่าโครงสร้างระบบสารสนเทศแบบปิรามิด มีฐานที่กว้างและบีบแคบขึ้นไปบรรจบใน ยอดบนสุด ซึ่งหมายความว่าสารสนเทศที่ใช้งานจะมีมากในระดับล่างและลดหลั่นน้อยลงไป ตามลาดับจนถึงยอดบนสุด เช่นเดียวกับจานวนบุคลากรในระดับนั้น ๆ
  • 6. บุคลากรในแต่ละระดับจะเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศดังนี้ ระดับปฏิบัติการ บุคลากรในระดับนี้เกี่ยวข้องอยู่กับงานที่ทาซ้า ๆ กัน และจะเน้นไปที่การจัดการ รายการประจาวัน นั้นคือบุคลากรในระดับนี้เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศในฐานะผู้จัดหาข้อมูลเข้า สู่ระบบ ตัวอย่างเช่น เจ้าหน้าที่ผู้ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลการสั่งซื้อของลูกค้าเข้าสู่คอมพิวเตอร์ในระบบ สารสนเทศเพื่อการขาย หรือตัวแทนการจองตั๋วและขายตั๋วในระบบจองตั๋วเครื่องบิน เป็นต้น ระดับวางแผนปฏิบัติการ บุคคลในระดับนี้ จะเป็นผู้บริหารขั้นต้นที่ทาหน้าที่ควบคุมการปฏิงาน ประจาวัน และการวางแผนปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระยะเวลาสั้น ๆ เช่น แผนงานประจาวัน ประจา สัปดาห์ หรือประจาไตรมาส ข้อมูลที่ผู้บริหารระดับนี้ต้องการส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับผลการปฏิบัติ ในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ผู้จัดการแนกจายตรงอาจต้องการรายงานสรุปผลการขายประจาไตรมาสของ พนักงานขาย เพื่อประเมินผลของพนักงานขายแต่ละคน เป็นต้น ระดับวางแผนการบริหาร บุคลากรในระดับนี้ จะเป็นผู้บริหารระดับกลาง ซึ่งทาหนาที่วางแผนให้ บรรลุเป้าหมายต่างๆ เพื่อให้องค์กรประสบความสาเร็จตามแผนงานระยะยาวตามที่กาหนดโดย ผู้บริหารระดับสูง มักจะเป็นสารสนเทศตามคาบเวลาซึ่งมีระยะเวลานานกว่าผู้บริหารขั้นต้น และจะ เป็นสารสนเทศที่รวบรวมข้อมูลทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร เช่น ของคู่แข่งหรือของตลาด โดยรวม เป็นต้น นอกจากนี้ ผู้บริหารระดับนี้ยังต้องการระบบที่ให้รายงานการวิเคราะห์แบบ ถ้า- แล้ว (What - IF) นั่นคือสามารถทดสอบได้ว่าหากเกิดเหตุการณ์เช่นนี้แล้ว ตัวเลขหรือสารสนเทศ ต่างๆ จะเปลี่ยนเป็นเช่นไร เพื่อให้จาลองสถานการณ์ต่างๆที่ต้องการได้ ตัวอย่างเช่น ผู้จัดการฝ่าย ขายอาจต้องการทาบผลการขายประจาปีของบริษัทเทียบคู่แข่งต่าง ๆ รวมทั้งอาจต้องการทดสอบว่า ถ้าเพิ่มหรือลดลงโฆษณาในสื่อต่าง ๆ จะมีผลกระทบต่อยอดขายอย่างไรบ้าง ระดับวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว ผู้บริหารระดับนี้จะเป็นระดับสูงสุด ซึ่งเน้นในเรื่องเป้าประสงค์ ขององค์กร ระบบสารสนเทศที่ต้องการจะเน้นที่รายงานสรุป รายงานแบบ What-if และการ วิเคราะห์แนวโน้มต่างๆ (trand analysis) ตัวอย่างเช่น ประธานบริษัทอาจต้องการรายงานที่แสดง แนวโน้มการขายในอีก 4 ปีข้างหน้าของผลิตภัณฑ์ 3 ชนิดของบริษัท เพื่อดูแนวโน้มในการเติบโต ของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ว่า ผลิตภัณฑ์ใดจะมีแนวโน้มที่มีกว่า หรือผลิตภัณฑ์ใดที่อาจสร้างปัญหาให้ บริษัทได้ เป็นต้น คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล เรื่อง คอมพิวเตอร์คืออะไร
  • 7. คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electrinic device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการ จัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้ ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดยคุณสมบัติที่สาคัญของคอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกาหนดชุดคาสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้ (programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับชุดคาสั่งที่ เลือกมาใช้งาน ทาให้สามารถนาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ในการ ตรวจคลื่นความถี่ของหัวใจ การฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ เป็นต้น ข้อดีของคอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่า มีประสิทธภาพ มีความถูกต้อง และมีความรวดเร็ว อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะเป็นงานชนิดใดก็ตาม เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการรับข้อมูลจากหน่วยรับข้อมูล (input unit) เช่น คีบอร์ด หรือ เมาส์ 2. หน่วยประมวลผล (Processing) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการประมวลผลกับข้อมูล เพื่อแปลงให้ อยู่ในรูปอื่นตามที่ต้องการ 3. หน่วยแสดงผล (Output) เครื่องคอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมายังหน่วย แสดงผลลัพธ์ (output unit) เช่น เครื่องพิมพ์ หรือจอภาพ 4. หน่วยเก็บข้อมูล (Storage) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ใน หน่วยเก็บข้อมูล เพื่อให้สามารถนามาใช้ใหม่ได้ในอนาคต เรื่อง การนับเลข ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น บทที่ 8 第 8課 และแล้วได้เวลามาทาภาษาญี่ปุ่นชั้นต้นอีกครั้ง พอดีตัวเองงานเยอะมากจริงๆครับ เลยต้องฝาก เค้าทาแทนให้ เอาล่ะผมจะพยายาม Update อยู่เรื่อยๆครับ
  • 8. ในครั้งที่แล้ว เราเรียนกันมาจนถึงเรื่อง คาบอกทิศทางต่างๆ เช่นนี่ โน้น นั้น แล้วเพื่อไม่ให้เป็น การลืม ผมทาตารางไว้ให้กันลืมครับ こ/そ/あ/ど ชุด こ ชุด そ ชุด あ ชุด ど สิ่งของ これ それ あれ どれ この+ その+ あの+ どの+ บุคคล คานาม คานาม คานาม คานาม สถานที่ ここ そこ あそこ どこ ทิศทาง こちら そちら あちら どちら ในครั้งนีก่อนอื่นเรามานับตัวเลขแบบญี่ปุ่นกันก่อนแล้วกัน ดูตามตารางที่ให้นะครับ นี่จะเป็น ้ หลักในการนับทั้งหมดครับ ตัวอักษรที่เป็นสีฟ้า จะเป็นตัวที่ต้องเน้นพิเศษเนื่องจากการนับที่ไม่ เหมือนใครครับ เอาเป็นว่าในครั้งนี้เราคงจบแค่นี้ก่อนแล้วกันนะครับแล้วในครั้งหน้า จะเป็นเรื่องตัวเลขเช่นเดิม แต่จะเป็นเรื่องของเวลานะครับ เรื่อง เลขฐานสองกับระบบดิจิทัล ระบบเลขฐาน จัดเป็นระบบตัวเลขที่ใช้งานอยู่ใน PLC ดังนั้นผู้ใช้งานมีความจาเป็นต้องศึกษาระบบ เลขฐานให้เข้าใจประกอบกับข้อมูลอื่นๆ เพื่อการใช้งานที่ถูกต้อง
  • 9. ระบบเลขฐานสอง (Binary) ระบบเลขฐานสิบ (Decimal) ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal) ความสัมพันธ์ของเลข BIN, BCD และ HEX สามารถกาหนดให้เป็นตารางได้ดังนี้ HEX BCD FOUR DIGIT BINARY 2^3 = 8 2^2 = 4 2^1 = 2 2^0 = 1 0 0 0 0 0 0 1 1 0 0 0 1 2 2 0 0 1 0 3 3 0 0 1 1 4 4 0 1 0 0 5 5 0 1 0 1 6 6 0 1 1 0 7 7 0 1 1 1 8 8 1 0 0 0 9 9 1 0 0 1 A - 1 0 1 0 B - 1 0 1 1 C - 1 1 0 0 D - 1 1 0 1 E - 1 1 1 0 F - 1 1 1 1 BIN (Binary) = ระบบเลขฐานสอง BCD (Binary Code Decimal) = ระบบเลขฐานสิบ HEX (Hexadecimal) = ระบบเลขฐานสิบหก
  • 10. 1. ระบบเลขฐานสอง (Binary) ระบบเลขฐานสอง (Binary) จะเป็นระบบเลขที่ง่ายกว่าเลขฐานสิบ เนื่องจากระบบ เลขฐานสอง จะใช้ัอักขระแทนสองตัว ระบบเลขฐานสองนี้ใช้ในระบบดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ด้วย เพราะว่าวงจรดิจิตอลจะมีเพียงสองสถานะ(two states)หรือระดับสัญญาณสองระดับ (two signal levels)โดยมีตัวเลขที่ไม่ซ้ากันอยู่ทั้งหมด 2 ตัว คือ 0 และ 1 หรืออาจใช้คาอื่นแทน สถานะหนึ่ง สถานะตรงข้าม 0 1 Off On Space Mark Open Closed Low Hi ถ้าจะเทียบเลขฐานสองกับเลขฐานสิบแล้ว เลขฐานสองจะมีจานวนหลักมากกว่า เพราะว่าใน แต่ละหลักจะมีเลขได้สองค่า แต่ถ้าเป็นเลขฐานสิบแต่ละหลักจะมีเลขได้เก้าค่าคือ 0 ถึง 9 ระบบเลขฐานสิบ แต่ละหลักจะมีค่าเวจต์เป็นค่าสิบยกกาลังของหลักนั้น ระบบเลขฐานสองก็ เช่นเดียวกัน จะมีฐานของเลขฐานสอง (base 2 system) การหาค่าเวจต์ในแต่ละหลักจะหาได้จากค่า ยกกาลังสองของหลักนั้นๆ ฐานสอง ฐานสิบ 2^0 1 2^1 2 2^2 4 2^3 8 2^4 16 2^5 32 2^6 64 2^7 128 2^8 256
  • 11. 2^9 512 2^10 1024 ค่าของ2ยกกาลังต่างๆเป็นฐานสิบ ถ้าต้องการแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบก็สามารถทาได้ เช่นถ้าแปลงเลข 101101 เป็น เลขฐานสิบสามารถทาได้ดังนี้ (1x2^5)+(0x2^4)+(1x2^3)+(1x2^2)+(0x2^1)+(1x2^0) = 45 ตัวเลขฐานสอง 101101 จะมีค่าเท่ากับ 45 ในระบบเลขฐานสิบ ระบบเลขฐานสองก็มีทศนิยมเช่นเดียวกับระบบเลขฐานสิบ ซึ่งเรียกว่าไบนารีพอยต์(binary point) โดยจะมีเครื่องหมายจุดแบ่งตัวเลขจานวนเต็มกับเลขทศนิยมออกจากกัน ค่าเวจต์ของเลข ทศนิยมแต่ละหลักจากซายไปขวาจะเป็นดังนี้ 1/2 , 1/4 , 1/8 , 1/16........ไปเรื่อยๆหรืออาจจะเขียน เป็นเลขยกกาลังค่าลบก็ได้ ฐานสอง ฐานสิบ 2^ -1 0.5 2^ -2 0.25 2^ -3 0.125 2^ -4 0.0652 2^ -5 0.03125 2^ -6 0.015625 ค่าของ2ยกกาลังค่าลบ เป็นเลขฐานสิบ ในระบบเลขฐานสิบนั้นแต่ละหลักจะเรียกว่าหลัก แต่ถ้ัาเป็นระบบเลขฐานสองแต่ละหลักจะ เรียกว่าบิต (bit) คาว่าบิต (bit) ย่อมาจาก binary digit ถ้าในงานดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ จะพบคาว่า “Bit” บ่อยมาก ในแต่ละหลักของเลขฐานสอง หลักซึ่งมีค่าเวจต์ต่าสุดซึ่งอยู่ทางด้านขวาสุด จะเรียกว่าบิตที่มี ความสาคัญต่าสุด(LSB : Least Significant Bit) สาหรับด้านที่อยู่ซ้ายสุดจะมีค่าเวจต์สูงสุด เรียกว่า บิตที่มีความสาคัญสูงสุด(MSB : Most Significant Bit) ถ้าใช้ในระบบเลขฐานสิบจะเรียกว่า LSD(Least Significant Digit) และ MSD(Most Significant Digit) ในระบบดิจิตอลในบางครั้งเราจะ เห็นเขียนว่า MSD , LSD กากับเอาไว้ด้วย
  • 12. 2. ระบบเลขฐานสิบ (Decimal) ระบบเลขฐานสิบ (Decimal) มีตัวเลขที่ไม่ซ้ากันอยู่ทั้งหมด 10 ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ BCD code อันนี้คงไม่ต้องกล่าวอะไร มากเพราะอยู่ใันชีวิตประจาวันอยู่แล้ว 3. ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal) ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal) ฐานของมันจะมีค่าเป็น 16 ซึ่งจะมีตัวเลขที่ไม่ซ้ากันอยู่ ทั้งหมด 16 ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F (ตัวอักษร 6 ตัว แทน ตัวเลข 10 –15 ตามลาดับ) ในงานด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ตัวเลขที่ใช้ในการประมวลผลจะเป็น เลขฐานสอง แต่ถ้าตัวเลขมีค่ามากจะทาให้เลขฐานสองมีหลายหลัก จึงใช้เลขฐานสิบหกแทน เลขฐานสอง แล้วจะมีการแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสองอีกทีหนึ่ง เลขฐานสิบหกนั้นจะนิยม ใช้มากในคอมพิวเตอร์ ถ้าหากไบนารี่ที่ใัช้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นแบบ 8 บิต ซึ่งแทนเลขฐานสิบ หกได้ตั้งเเต่ 0 ถึง 255 แต่สามารถแทนด้วยเลขฐานสิบหกเพียงสองหลักเท่านั้น ถ้าหากเรามี เลขฐานสิบ 99,999,999 ถ้าเขียนแทนด้วยเลขไบนารีจะต้องใช้หลายบิต แต่ถ้าเขียนเเทนด้วย เลขฐานสิบหกจะใช้เพียงไม่กี่หลัก ค่าสิบหกสามารถแทนได้ด้วยสองยกกาลังสี่ หรือ 16 = 2^4 ดังนั้นเลขฐานสิบหกจึงสามารถ เขียนแทนด้วยเลขฐานสองได้สี่บิต โดยมีค่าตั้งแต่ 0000 ถึง 1111 หรือแทนด้วยอักษร 0 ถึง F ความสัมพันธ์ระหว่างเลขฐานสอง ฐานสิบ และฐานสิบหกแสดงใัว้ในตารางความสัมพันธ์ของเลข BIN, BCD และ HEX การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหกก็สามารถทาได้โดยง่าย โดยจัดเลขฐานสองตั้งแต่ บิตแรกจนถึงบิตสุัดท้ายเป็นกลุ่มๆ โดยจัดกลุ่มละ 4 บิตและแทนค่าด้วยเลขฐานสิบหกแต่ละค่าให้ สอดคล้องกันตัวอย่างต่อไปนี้จะเป็นการแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก เรื่อง การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้งานด้านต่างๆ อย่างแพร่หลายดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้งานด้านต่างๆ ย่อม มีวัตถุประสงค์ โครงสร้าง และปริมาณที่แตกต่างกัน เช่น งานวิจัยเพื่อส่งยานอวกาศออกไปนอก โลก หรืองานของธนาคารที่มีสาขาทั่วไป หรืองานคุมสินค้าคงคลังของห้างสรรพสินค้า หรืองาน
  • 13. ฝึกอบรมคณิตศาสตร์สาหรับเด็กประถมศึกษา หรืองานผลิตหนังสือพิมพ์ในมหาวิทยาลัย เป็นต้น ทาให้มีการผลิตคอมพิวเตอร์ออกมาให้มีขนาดและความสามารถรวมทั้งราคาอย่างเหมาะสมกับงาน ด้านต่างๆ ซึ่งการแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์นี้พิจารณาจากสรรถนะของหน่วยประมวลผลกลาง ความรู้ของหน่วยความจา และคุณสมบัติประกอบอื่นๆ คอมพิวเตอร์ที่มีการใช้งานมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้ 1. แบ่งตามลักษณะการประมวลผล 2. แบ่งตามขนาดและความสามรถของเครื่อง 3. แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ คอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ต่อพ่วง รอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์ เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทางานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้ จะต้องนามา
  • 14. ต่อเชื่อมเพื่อทางานร่วมกันเป็นระบบที่เรียกว่า "ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)" ที่มี โครงสร้างของระบบจะทางานตามโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น 2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคาสั่งที่ควบคุมให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทางานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจาก โรงงานจะยังไม่สามารถทางานได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่สั่งให้ ฮาร์ดแวร์ทางานตามต้องการได้ โดยโปรแกรมหรือชุดคาสั่งนั้นจะเขียนจากภาษาต่าง ๆ ที่มนุษย์ สร้างขึ้น เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียน ซอฟต์แวร์แบบต่าง ๆ ขึ้นมา ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่จัดการและควบคุม ทรัพยากร ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอานวยความสะดวกด้านเครื่องมือสาหรับการทางานพื้นฐานต่าง ๆ ตั้งแต่ผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทางานจะเป็นไปตามชุดคาสั่งที่เขียนขึ้น ตลอดจนควบคุม การสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้ งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น งานด้านการจัดทาเอกสาร การทาบัญชี การ จัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอื่น ๆ ตามแต่ผู้ใช้ต้องการ 3. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานามาให้คอมพิวเตอร์ทาการ ประมวลผลคานวณ หรือกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่าง เช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทางาน ซึ่ง อาจนามาจาแนกเป็นรายงานต่างๆ เกี่ยวกับบุคลากรในหน่วยงานได้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลข มาตรๆ ไฟฟ้าของบ้านแต่ละหลัง ก็ใช้สาหรับคานวณเป็นปริมาณไฟฟ้า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิด เป็นเงิน ที่จะต้องชาระให้กับการไฟฟ้าฯ 4. บุคคลากร (Peopleware) คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงาน นั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น มีความสาคัญมาก เพราะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรมดาเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่ สามารถทาด้วยตัวเองได้ ถ้าหากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่องคอมพิวเตอร์มากนัก เราจึงถือว่าบุคลากร เป็น ส่วนประกอบที่สาคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์ด้วย ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
  • 15. - เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator) - บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System) - ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing Manager) - ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user) 5. กระบวนการทางาน (Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์ หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทางานกับคอมพิวเตอร์จาเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอน การทางาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน มีการจัดทาคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคน เรียนรู้และใช้อ้างอิงได้นอกจากนั้นเมื่อการใช้มาตรฐาน ช่วยให้การประสานงาน ระหว่างหน่วยงาน ย่อยๆ ราบรื่น การจัดซื้อจัดหา ตลอดจนการบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ก็จะง่าย ขึ้นเพราะทุกหน่วยงานใช้มาตรฐานเดียวกัน
  • 16. เรื่อง ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์และการนาไปใช้งาน จาก การที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการ ทาให้ถูกนามาใช้ประโยชน์ต่อการดาเนิน ชีวิตประจาวันในสังคมเป็นอย่างมาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงาน เอกสารต่างๆ ซึ่งเรียกว่างานประมวลผล ( word processing ) นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน ดังต่อไปนี้ งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทาบัญชี งานประมวลคา และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งาน อุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นส่วน ของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทาให้การผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถ รับ หรืองานธนาคาร ที่ให้บริการถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์ คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงิน และการโอนเงินระหว่างบัญชี เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในนามาใช้ในส่วน ของการคานวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวด ไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะ ให้ผลที่แม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้รวดเร็วขึ้น งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทาให้สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้องเสียเวลา รอ อีกทั้งยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสารก็ใช้ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งจะช่วยส่งผลต่อการส่ง สัญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความชัดเจน งาน วิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือ จาลองสภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดย คอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและ ติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับบทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกล ผ่านคอมพิวเตอร์ , กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อ
  • 17. เชื่อมโยงไปยังสถาบันต่างๆ , กรมสรรพากร ใช้จัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น การ ศึกษา ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน ซึ่งมีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยการ สอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียน ซึ่งทาให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน การเก็บข้อมูลยืมและการส่งคืนหนังสือห้องสมุด เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เรื่อง การสื่อสารและเครือข่ายสื่อสาร ระบบเครือข่าย (Network System) หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป เข้าด้วยกัน เช่น การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในห้องเรียน ภายในองค์กร ระหว่าง อาคาร ระหว่างเมืองต่าง ๆ ตลอดไปจนถึงการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทั่วทั้งโลกที่เรียกว่า "อินเทอร์เน็ต" (Internet) การติดต่อสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันมีรากฐานมาจากความพยายามในการเชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์ กับคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันโดยอาศัยระบบการสื่อสาร ต่อมาเมื่อมีการใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้นความ ต้องการในการ ติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน เรียกว่า ระบบเครือข่าย (Network System) ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System) เป็นวิธีการทางด้านการสื่อสาร ข้อมูล ที่กาลังได้รับการนามาประยุกต์ใช้ในระบบสานักงาน ซึ่งเป็นระบบที่มี บุคคลากรในการทางานน้อย ที่สุดโดยอาศัย เครื่องมือแบบอัตโนมัติและระบบสื่อสารเชื่อมโยงข่าวสาร ระหว่างเครื่องมือเข้าด้วยกัน สานักงานที่จัดว่าเป็นสานักงานอัตโนมัติประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ คือ
  • 18. 1. Networking System คือ ระบบข่ายงานที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ระหว่างกันทั่ว องค์กร 2. Electronic Data Interchange คือ การสื่อสารข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน โดยอาศัย สัญญาณข้อมูลข่าวสาร แบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบข่ายงาน 3. Internet Working คือ การรวมตัวกันของระบบข่ายงานที่กระจายอยู่ทั่วโลก จนกลายเป็น เครือข่ายขนาดใหญ่ 4. Paperless System คือ ระบบที่ไม่ใช้กระดาษบทบาทที่สาคัญอีกบทบาทหนึ่งคือการ ให้บริการข้อมูล ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล 1. จัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว 2. ความถูกต้องของข้อมูล 3. ความเร็วของการทางาน 4. ประหยัดต้นทุน เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (computer network) คือ ระบบการสื่อสาร ระหว่างคอมพิวเตอร์จานวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทสาคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่าง แพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของ ระบบให้สูงขึ้น และลดต้นทุนของระบบโดยรวมลง การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครือข่าย ทาให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการ ใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราด ภาพ (scanner) ทาให้ลดต้นทุนของระบบลงได้
  • 19. ชนิดของเครือข่าย เครือข่าย เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อสะดวกต่อการร่วมใช้ ข้อมูล, โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอานวยความสะดวกในการติดต่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างเครื่องได้ตลอดเวลา ระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครือข่าย ซึ่งปัจจุบัน เครือข่ายที่รู้จักกันดีมีอยู่ 3 แบบ ได้แก่ เครือข่ายภายใน หรือ แลน (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันใน พื้นที่ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในห้อง หรือภายในอาคารเดียวกัน เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกัน ใน ระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็น กิโลเมตร หรือ หลาย ๆ กิโลเมตร เครือข่ายงานบริเวณนครหลวง หรือ แมน (Metropolitan area network : MAN) และยังมีอีกสองเครือข่ายที่ยังมีเพิ่มเติมอีกคือ เครือข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ แคน (Controller area network) : CAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU) เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal area network) : PAN) เป็นเครือข่ายไร้สาย เรื่อง ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายที่ทางานรวมกันเป็นกลุ่มงาน เรียกว่า Workgroup เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้า ด้วยกันจะเป็นเครือข่ายขององค์กร จะเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ สามารถประยุกต์ใช้งานได้อย่าง กว้างขวางโดยเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันและสื่อสารถึงกัน ได้ เช่น
  • 20. 1. การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน เครือข่ายที่ให้บริการเก็บข่าวสาร ตัวเลขหรือข้อมูลใช้งานจะใช้ ฐานข้อมูลเดียวกันได้ เช่น ราคาสินค้า บัญชีสินค้า ฯลฯ 2. การแบ่งปันทรัพยากรในเครือข่าย อุปกรณ์ต่าง ๆ ใช้ร่วมกันได้ เช่น การพิมพ์เอกสารจะใช้ เครื่องพิมพ์เครื่องเดียวกับคอมพิวเตอร์เครือข่ายหลายเครื่องก็ได้ เป็นต้น 3. การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย เมื่อมีการเชื่อมโยงสถานีงานเข้าด้วยกันก็จะสามารถ โอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้ การดาเนินการต่าง ๆ ควรเป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่ฝ่ายบริหารเครือข่าย ขององค์กรได้กาหนดไว้ 4. สานักงานอัตโนมัติ แนวคิดคือต้องการลดการใช้กระดาษ หันมาใช้ระบบการทางานด้วย คอมพิวเตอร์ที่แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันที โดยการใช้สัญญาณอิเลคทรอนิกส์แทน จะทา ให้การทางานคล่องตัวและรวดเร็ว การใช้งานเครือข่ายยังมีการประยุกต์ได้หลายอย่างตั้งแต่ การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน การ ทางานเป็นกลุ่ม การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การนัดหมายการส่งงาน แม้แต่ในห้องเรียนก็ใช้เครือข่าย เพื่อการเรียนการสอน ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้เรียกค้นข้อมูลเป็นต้น สื่อสารสนเทศแบบต่าง ๆ เรื่อง ห้องสมุดแหล่งความรู้ ห้องสมุด : แหล่งความรู้ หากทุกบ้านมีห้องสมุดเล็กๆของตนเอง มีแหล่งความรู้ที่เริ่มต้นที่บ้านได้ มีห้องอ่าน หนังสือหรือมุมอ่านหนังสือที่จะปลูกฝังลูกหลานให้เป็นผู้รักการอ่านตั้งแต่เล็ก การสร้าง มุมอ่านหนังสือ หรือที่รวบรวมหนังสือต่างๆไว้ในบ้าน จึงเป็นเรื่องที่ผู้ใหญ่ หรือหัวหน้า ครอบครัวต้องทาเป็นตัวอย่าง หากพ่อแม่ไม่มีนิสัยรักการอ่าน หรือแสวงหาความรู้แล้ว ลูก ก็เป็นเสมือนเช่นพ่อแม่เพราะได้รับตัวอย่าง อย่างใกล้ชิด คงต้องยอมรับว่าทุกวันนี้ชาวประชาส่วนใหญ่ ยังมีพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ต้องหาเช้ากินค่า ต้องต่อสู้กับชีวิต ต้องทามาหากินจนตัวเป็นเกรียว การที่จะให้มาอ่านหนังสือจึงเป็นเรื่อง
  • 21. ยาก และหากสังคมยังเป็นสังคมที่ขาดความรอบรู้ การยกฐานะความเป็นอยู่ต่างๆก็ยากไป ด้วย ดังนั้นต้องสร้างบุตรหลานให้พ้นจากบ่วงหรือวังวนในเรื่องนี้ให้ได้ อีกประการที่สาคัญคือทุกวันนี้เราหาหนังสือน่าอ่านได้ยากขึ้น หรือมีราคาแพงขึ้น ปริมาณ หนังสือที่เป็นภาษาไทยและเป็นแหล่งความรู้ให้กับคนไทยยังมีได้น้อยมาก เมื่อเทียบกับ ประชากร แต่ขณะเดียวกันจะพบว่า สานักพิมพ์ที่พิมพ์หนังสือก็มีความยากที่จะพิมพ์แล้วมี ยอดขายที่สูงขึ้น หนังสือวิชาการของไทยมียอดการพิมพ์สามพันเล่มก็หาที่ขายไม่ได้แล้ว จากครอบครัวก็เป็นหมู่บ้าน เรามีหมู่บ้านทั่วประเทศประมาณแปดหมื่นหมู่บ้าน ถ้าให้แต่ ละหมู่บ้านมีมุมอ่านหนังสือ หรือมีที่รวบรวมแหล่งหนังสือและความรู้ เราก็จะได้ศาลาอ่าน หนังสือถึงแปดหมื่นแห่ง ยิ่งรวมเป็นตาบลมีห้องสมุดแบบหนึ่งห้องสมุดหนึ่งตาบลด้วย แล้ว โครงการนี้น่าจะเป็นเรื่องที่ดีเหมือนนโยบายของรัฐบาลที่จะกระจายสู่ตาบล เรามี ตาบลกันประมาณกว่าเจ็ดพันตาบล นั่นหมายถึงมีห้องสมุดประจาตาบลถึงเจ็ดพันกว่าแห่ง หากเรามองทางด้านซัพพลายและช่วยกันสร้างแหล่งหนังสือ เราก็จะได้แหล่งความรู้สู่ ชุมชนได้มากขึ้น หากชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ การผลิตในภาคต่างๆของชุมชนย่อมมี ผลผลิตสูงขึ้น ลดปัญหาเรื่องโรคภัยไข้เจ็บเพราะชุมชนเข้าใจและดูแลสุขภาพตนเองได้ดี ขึ้น ความรู้จึงเป็นสิ่งที่จะทาให้เกิดการแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างดีเยี่ยม ก็ต้องถามอีกว่า ทุกวันนี้เรามีการผลิตองค์ความรู้ในรูปของหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่างๆมากน้อย เพียงไร เรามีหนังสือพิมพ์ที่แพร่ข่าวสารรายวัน มีผู้อ่านหนังสือพิมพ์ เรามีวารสาร มี เอกสาร ตาราวิชาการต่างๆ แต่สิ่งเหล่านี้ก็ยังขาดการรวบรวมและส่งเสริมให้มีการอ่านหรือ ใช้ประโยชน์อย่างทั่วถึง ในยุคปัจจุบันเป็นยุคดิจิตอลและยุค"e" หลายคนอาจตั้งข้อสังเกตว่า รัฐน่าตั้งห้องสมุด ดิจิตอล รวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ไว้ในรูปดิจิตอล ทาแห่งเดียว และอาจได้ความรู้มากมาย ที่ต้นทุนต่ากว่า แล้วกระจายระบบอินเทอร์เน็ตเข้าสู่ตาบล หมู่บ้าน เพื่อให้ห้องสมุดดิจิตอล กระจายเข้าสู่ครัวเรือนได้มากขึ้น การสร้างห้องสมุดดิจิตอลก็เป็นเรื่องที่ดีควรทาควบคู่กันไปกับห้องสมุดจริง และการ พัฒนาหนังสือสิ่งพิมพ์ ห้องสมุดดิจิตอลยังต้องการโครงสร้างพื้นฐานที่ต้องลงทุนอีก มากมาย โดยเฉพาะโครงสร้างทางเทคโนโลยีเครือข่าย ซึ่งอาจต้องใช้ทุนมหาศาล กว่าจะ ให้อินเทอร์เน็ตลงไปถึงตาบลและหมู่บ้าน อีกทั้งการเรียกเข้าหาอินเทอร์เน็ตก็มีค่าใช้จ่าย ตามมาอยู่ดี เรื่อง Digital Library ห้องสมุดเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายเพื่อโรงเรียนไทยหรือสคูลเน็ต เป็นเครือข่ายที่มีจานวนผู้ใช้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันมีโรงเรียนเชื่อมต่ออยู่บนเครือข่ายนี้มากกว่าหนึ่งพันโรงเรียน ผู้ใช้ส่วนใหญ่เป็นครู
  • 22. และนักเรียน และใช้ประโยชน์เพื่ อการศึกษาเป็นสาคัญ ถึงแม้ว่าเครือข่ายสคูลเน็ตจะ เชื่อมโยงเข้าสู่อินเทอร์เน็ตและเรียกค้นข้อมูลจากทั่วโลกได้แล้วก็ตาม แต่ปัญหาที่พบคือ มี ข้อมูลหรือเนื้อหาที่ใช้ประโยชน์กับครูและนักเรียนโดยตรงได้น้อย อีกทั้งยังเป็น ภาษาต่างประเทศ ทาให้เกิดความเข้าใจได้ยาก และการเรียกใช้ข้อมูลได้ค่อนข้างช้า ส่วน ใหญ่ข้อมูลที่ใช้มักเป็นเรื่องความสนุกเพลิดพลิน นับเป็นปัญหาหนึ่งที่จะมีผลต่อเด็กและ เยาวชนได้แก่ การแพร่ซึมวัฒนธรรมจากต่างชาติ เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดจากการใช้เครือข่ายสคูลเน็ต และเป็นจุดน่าสนใจที่จะดึงดูดให้ นักเรียนและเยาวชนไทยได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลความรู้ จึงจาเป็นต้องพัฒนาเนื้อหาขึ้น ภายในประเทศไทย เพื่อให้เรียกใช้ได้ง่าย รวดเร็ว และตรงตามความต้องการ ข้อมูล ข่าวสารเหล่านี้จะเป็นเสมือน ห้องสมุดความรู้ที่ใช้งานร่วมกันเพื่อประโยชน์ต่อลูกหลาน ชาวไทยต่อไป โครงการดิจิตอลไลบารีจึงเป็นโครงการต้นแบบเริ่มต้น และเป็นตัวอย่าง ที่จะชักจูงให้ โรงเรียนต่าง ๆ เข้ามาร่วมโครงการสร้างเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ และเชื่อมโยงเข้าสู่ห้องสมุด ดิจิตอลนี้ อย่างเป็นระบบ ก่อให้เกิดห้องสมุดเสมือนจริงบนเครือข่ายสคูลเน็ตสาหรับการ ใช้งานร่วมกันต่อไป เนื้อหาที่นามาใส่ไว้ในโครงการนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทาง สาหรับโรงเรียนต่าง ๆ ที่จะ ร่วมโครงการ โดยเป็นการรวบรวมและเรียบเรียงมาเพื่อเป็นตัวอย่างของการสร้างห้องสมุด ดิจิตอล ที่จะขยายเพิ่มต่อไปอย่างไม่มี ขอบเขต โดยเน้นเพื่อการศึกษาของเด็กและเยาวชน เป็นสาคัญ คณะผู้ดาเนินการต้องขอขอบพระคุณหน่วยงาน องค์กร และบุคคลที่ได้ให้การ สนับสนุน ทั้งทางด้านเนื้อหาและร่วมจัดทา และหวังว่าโครงการนี้จะได้รับการขยายผลให้ กว้างขวางต่อไป เรื่อง แหล่งข้อมูลของประเทศไทยบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  • 23. อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่าง เครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโท คอล (Protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้ เนื้อหา  1 ที่มา  2 การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ต  3 จานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก  4 อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย o 4.1 จานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย o 4.2 อินเทอร์เน็ตแบนด์วิท (INTERNET BANDWIDTH)  5 ดูเพิ่ม  6 หน่วยงานไทยที่เกี่ยวข้อง  7 อ้างอิง  8 แหล่งข้อมูลอื่น ที่มา อินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) จากการเกิดเครือข่าย ARPANET (Advanced Research Projects Agency NETwork) ซึ่งเป็นเครือข่ายสานักงานโครงการวิจัยชั้นสูงของ กระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถุประสงค์หลักของการสร้างเครือข่ายคือ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อ และมีปฏิสัมพันธ์กันได้ เครือข่าย ARPANET ถือเป็นเครือข่าย เริ่มแรก ซึ่งต่อมาได้ถูกพัฒนาให้เป็นเครือข่าย อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ต การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันทาได้หลากหลาย อาทิเช่น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีเมล์ (e-Mail) , สนทนา (Chat), อ่านหรือแสดงความคิดเห็นในเว็บบอร์ด , การติดตามข่าวสาร, การ สืบค้นข้อมูล / การค้นหาข้อมูล, การชม หรือซื้อสินค้าออนไลน์ , การดาวโหลด เกม เพลง ไฟล์ข้อมูล ฯลฯ, การติดตามข้อมูล ภาพยนตร์ รายการบันเทิงต่างๆ ออนไลน์ , การเล่นเกม
  • 24. คอมพิวเตอร์ออนไลน์, การเรียนรู้ออนไลน์ (e-Learning), การประชุมทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต (Video Conference), โทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต (VoIP), การอับโหลดข้อมูล หรือ อื่นๆ ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปที่ใช้สร้างสรรค์งาน เรื่อง ความหมายของซอฟต์แวร์ ความหมายของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (software) หรือ ส่วนชุดคาสั่ง และยังมีการสะกด ซอฟต์แวร์ เป็นส่วนของระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ซอฟต์แวร์นั้น นอกจากจะสามารถใช้งานบน คอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือ หุ่นยนต์ในโรงงาน หรือ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ คาว่า "ซอฟต์แวร์" ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย์ (John W. Turkey) ในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏ ครั้งแรกในเรียงความของแอลัน ทัวริง ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลาดับขั้นตอนการทางานที่เขียนขึ้นด้วย คาสั่งของคอมพิวเตอร์ คาสั่งเหล่านี้ เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์ เพราะเป็นลาดับขั้นตอนการ ทางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทางานแตกต่างกัน ได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ที่ แตกต่างกัน ซอฟต์แวร์ จึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทาให้คอมพิวเตอร์ ทางานได้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (computer program) คือ กลุ่มชุดคาสั่งที่ใช้อธิบายชิ้นงาน หรือกลุ่มงานที่จะ ประมวลผลโดย คอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์อาจหมายถึง ซอฟต์แวร์ แอปพลิเคชัน หรือ โปรแกรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่นั้นเป็นชุดคาสั่งที่ออกแบบตามอัลกอริทึม โดยปกติแล้วเขียนโดย โปรแกรมเมอร์ หรือไม่ก็สร้างโดยโปรแกรมอื่น