SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณัฐพล บัวอุไร [ict4.nattapon.com]
ใบความรู้เรื่องสื่อกลางการสื่อสารข้อมูล
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เวลา 2 ชั่วโมง ครูผู้สอน ครูณัฐพล บัวอุไร
1. สื่อกลางหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์นี้ยอม
ให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่านจากผู้ส่งไปยังผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมีความ
แตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูลที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนาผ่านไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือความจุ
ในการนาข้อมูล หรือที่เรียกกันว่า “แบนด์วิดท์” (Bandwidth) มีหน่วยเป็นจานวนบิตข้อมูลต่อวินาที (Bit Per Second :
BPS) ลักษณะของตัวกลางต่างๆ มีดังต่อไปนี้
สื่อกลางประเภทมีสาย
1) สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair)
สายคู่บิดเกลียว ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงที่หุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้นพันบิดเป็นเกลียว ทั้งนี้เพื่อลดการ
รบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในสาย เดียวกันหรือจากภายนอกเนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนี้ยอมให้
สัญญาณไฟฟ้าความถี่ สูงผ่านได้ สาหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยู่กับความหนาของสายด้วย กล่าวคือ
สายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ากาลังแรงได้ ทาให้สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราส่งสูง
โดยทั่วไปแล้วสาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล สัญญาณที่ส่งเป็นลักษณะคลื่นสี่เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้
ถึงร้อยเมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวมีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงมีการใช้
งานอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างเช่น
ก. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอก
ที่หนาอีกชั้น ดังรูปที่ 1 เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ข. สายคู่เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บิดเกลียวมีฉนวนชั้นนอก
ที่บางอีกชั้น ดังรูปที่ 2 ทาให้สะดวกในการโค้งงอ แต่สามารถป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรก
แต่ก็มีราคาต่ากว่าจึงนิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่าย ตัวอย่างของสายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน ที่เห็นใน
ชีวิตประจาวัน คือ สายโทรศัพท์ที่ใช้อยู่ในบ้าน
รูปที่ 1 สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน
รูปที่ 2 สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน
รูปที่ 3 การต่อสายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวนเข้ากับหัวต่อชนิด RJ-45 เพื่อให้เป็นสื่อกลางที่สามารถต่อเชื่อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
2
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณัฐพล บัวอุไร [ict4.nattapon.com]
2) สายโคแอกเชียล (Twisted Pair)
สายโคแอกเชียล เป็นตัวกลางเชื่อมโยงที่มีลักษณะเช่นเดียวกับสายที่ต่อจากเสาอากาศของโทรทัศน์ สายโคแอก
เชียลที่ใช้ทั่วไปมี 2 ชนิดคือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิตอล และชนิด 75 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณแอนะล็อก สาย
ประกอบด้วยลวดทองแดงที่เป็นแกนหลักหนึ่งเส้นที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันกระแสไฟรั่ว จากนั้นจะหุ้มด้วยตัวนาซึ่ง
ทาจากลวดทองแดงถักเป็นเปีย เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสัญญาณรบกวนอื่นๆ ก่อนจะหุ้มชั้นนอกสุด
ด้วยฉนวนพลาสติก ลวดทองแดงที่ถักเป็นเปียนี้เอง เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้สายแบบนี้มีช่วงความถี่สัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้
สูง มากและนิยมใช้เป็นช่องสื่อสารสัญญาณแอนะล็อกเชื่อมโยงผ่านใต้ทะเลและใต้ดิน
3) เส้นใยนาแสง (Fiber Optic)
เส้นใยนาแสง มีแกนกลางของสายซึ่งประกอบด้วยเส้นใยแก้วหรือพลาสติกขนาดเล็กหลาย ๆ เส้นอยู่รวมกัน เส้นใย
แต่ละเส้นมีขนาดเล็กเท่าเส้นผมและภายในกลวง และเส้นใยเหล่านั้นได้รับการห่อหุ้มด้วยเส้นใยอีกชั้นหนึ่ง ก่อนจะหุ้มชั้นนอก
สุดด้วยฉนวน การส่งข้อมูลผ่านทางสื่อกลางชนิดนี้จากแตกต่างจากชนิดอื่น ๆ ซึ่งใช้สัญญาณไฟฟ้าในการส่ง แต่การทางานของ
สื่อกลางชนิดนี้ จะใช้เลเซอร์วิ่งผ่านช่องกลวงของเส้นใยแต่ละเส้น และอาศัยหลักการหักเหของแสง โดยใช้ใยแก้วชั้นนอกเป็น
กระจกสะท้อนแสง การให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลสูงมาก และ
ไม่มีการก่อกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเทอร์เน็ตจะใช้ได้ด้วยความเร็วหลายร้อยเมกะบิต
และเนื่องจากความสามารถในการส่งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นสูง ทาให้สามารถส่งข้อมูลทั้งตัวอักษร เสียง ภาพกราฟิก
หรือวีดิทัศน์ได้ในเวลาเดียวกัน อีกทั้งยังมีความปลอดภัยในการส่งสูง แต่อย่างไรก็มีข้อเสียเนื่องจากการบิดงอสายสัญญาณจะ
ทาให้เส้นใยหัก จึงไม่สามารถใช้สื่อกลางชนิดนี้ในการเดินทางตามมุมตึกได้ เส้นใยนาแสงมีลักษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเชื่อมโยง
แบบจุดไปจุด ดังนั้นจึงเหมาะที่จะใช้กับการเชื่อมโยงระหว่างอาคารกับอาคาร หรือระหว่างเมืองกับเมือง เส้นใยนาแสงจึงถูก
นาไปใช้เป็นสายแกนหลัก
(ก) ตัวอย่างสายโคแอกเชียล (ข) ส่วนประกอบของสายโคแอกเชียล
รูปที่ 4 สายโคแอกเชียล
รูปที่ 5 ข้อต่อสายโคแอกเชียลที่สามารถนาไปต่อเชื่อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์
(ข) ข้อต่อสายโคแอกเชียลบริเวณที่เป็นส่วนปลายของเครือข่าย(ก) ข้อต่อสายโคแอกเชียล
3
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณัฐพล บัวอุไร [ict4.nattapon.com]
สื่อกลางประเภทไร้สาย
1) ไมโครเวฟ (Microwave)
สัญญาณไมโครเวฟ เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มี
ความเร็วสูง ส่งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งเป็น
สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่
ต้องการส่ง และจะต้องมีสถานีที่ทาหน้าที่ส่งและรับข้อมูล และ
เนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรง ไม่สามารถ
เลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกที่มีความโค้งได้ จึงต้องมีการตั้งสถานี
รับ-ส่งข้อมูลเป็นระยะ ๆ และส่งข้อมูลต่อกันเป็นทอด ๆ
ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง แต่ละสถานี
จะตั้งอยู่ในที่สูง เช่น ดาดฟ้า ตึกสูง หรือยอดดอย เพื่อหลีกเลี่ยง
การชนหากมีสิ่งกีดขวาง เนื่องจากแนวการเดินทางที่เป็น
เส้นตรงของสัญญาณดังที่กล่าวมาแล้ว การส่งข้อมูลด้วยสื่อกลาง
ชนิดนี้เหมาะกับการส่งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกลมาก ๆ และทุรกันดาร
2) ดาวเทียม (Satellite)
ดาวเทียมได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจากัดของสถานีรับ-ส่งไมโครเวฟบนผิวโลก วัตถุประสงค์ในการ
สร้างดาวเทียม เพื่อเป็นสถานีรับ-ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศและทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ในการส่งสัญญาณ
ดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทาหน้าที่รับและส่งสัญญาณขึ้นไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์
โดยดาวเทียมเหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นนิ่งอยู่กับที่ขณะที่โลก
หมุนรอบตัวเอง ทาให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียม และการกระจายสัญญาณจากดาวเทียมลง
มายังสถานีตามจุดต่าง ๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยา ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้โดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์ โดยแผง
โซลาร์ (Solar Cell) บนดาวเทียมจะรับพลังงานจากแสงอาทิตย์มาเปลี่ยนใช้งาน
รูปที่ 6 ส่วนประกอบของเส้นใยนาแสง
รูปที่ 7 การส่งสัญญาณไมโครเวฟ ต้องมีสถานีรับส่งที่เป็นเสาสูง
4
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณัฐพล บัวอุไร [ict4.nattapon.com]
รูปที่ 8 ดาวเทียมที่โคจรอยู่ในอวกาศ รูปที่ 9 สถานีภาคพื้นดินคอยรับส่งสัญญาณดาวเทียม

More Related Content

What's hot

วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6ครู อินดี้
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9mayyanin
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9mayyanin
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5Aomsin Kittibullungkul
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานครู อินดี้
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
โพโตคอล
โพโตคอลโพโตคอล
โพโตคอลAqilla Madaka
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลNattapon
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศBeauso English
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ตครู อินดี้
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1Tharathep Chumchuen
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 

What's hot (20)

สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
โพโตคอล
โพโตคอลโพโตคอล
โพโตคอล
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสาสนเทศ
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
บริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตบริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ต
 

Similar to สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล

แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูลMeaw Sukee
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลpookpikdel
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์swiz14018
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลleelawadeerattakul99
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Arrat Krupeach
 

Similar to สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
ICT for Education
ICT for EducationICT for Education
ICT for Education
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Test58
Test58Test58
Test58
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
แผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธแผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธ
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
 

สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล

  • 1. 1 เอกสารประกอบการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณัฐพล บัวอุไร [ict4.nattapon.com] ใบความรู้เรื่องสื่อกลางการสื่อสารข้อมูล วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เวลา 2 ชั่วโมง ครูผู้สอน ครูณัฐพล บัวอุไร 1. สื่อกลางหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์นี้ยอม ให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่านจากผู้ส่งไปยังผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมีความ แตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูลที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนาผ่านไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือความจุ ในการนาข้อมูล หรือที่เรียกกันว่า “แบนด์วิดท์” (Bandwidth) มีหน่วยเป็นจานวนบิตข้อมูลต่อวินาที (Bit Per Second : BPS) ลักษณะของตัวกลางต่างๆ มีดังต่อไปนี้ สื่อกลางประเภทมีสาย 1) สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair) สายคู่บิดเกลียว ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงที่หุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้นพันบิดเป็นเกลียว ทั้งนี้เพื่อลดการ รบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในสาย เดียวกันหรือจากภายนอกเนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนี้ยอมให้ สัญญาณไฟฟ้าความถี่ สูงผ่านได้ สาหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยู่กับความหนาของสายด้วย กล่าวคือ สายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ากาลังแรงได้ ทาให้สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราส่งสูง โดยทั่วไปแล้วสาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล สัญญาณที่ส่งเป็นลักษณะคลื่นสี่เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้ ถึงร้อยเมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวมีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงมีการใช้ งานอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างเช่น ก. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอก ที่หนาอีกชั้น ดังรูปที่ 1 เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข. สายคู่เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บิดเกลียวมีฉนวนชั้นนอก ที่บางอีกชั้น ดังรูปที่ 2 ทาให้สะดวกในการโค้งงอ แต่สามารถป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรก แต่ก็มีราคาต่ากว่าจึงนิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่าย ตัวอย่างของสายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน ที่เห็นใน ชีวิตประจาวัน คือ สายโทรศัพท์ที่ใช้อยู่ในบ้าน รูปที่ 1 สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน รูปที่ 2 สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน รูปที่ 3 การต่อสายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวนเข้ากับหัวต่อชนิด RJ-45 เพื่อให้เป็นสื่อกลางที่สามารถต่อเชื่อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
  • 2. 2 เอกสารประกอบการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณัฐพล บัวอุไร [ict4.nattapon.com] 2) สายโคแอกเชียล (Twisted Pair) สายโคแอกเชียล เป็นตัวกลางเชื่อมโยงที่มีลักษณะเช่นเดียวกับสายที่ต่อจากเสาอากาศของโทรทัศน์ สายโคแอก เชียลที่ใช้ทั่วไปมี 2 ชนิดคือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิตอล และชนิด 75 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณแอนะล็อก สาย ประกอบด้วยลวดทองแดงที่เป็นแกนหลักหนึ่งเส้นที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันกระแสไฟรั่ว จากนั้นจะหุ้มด้วยตัวนาซึ่ง ทาจากลวดทองแดงถักเป็นเปีย เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสัญญาณรบกวนอื่นๆ ก่อนจะหุ้มชั้นนอกสุด ด้วยฉนวนพลาสติก ลวดทองแดงที่ถักเป็นเปียนี้เอง เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้สายแบบนี้มีช่วงความถี่สัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้ สูง มากและนิยมใช้เป็นช่องสื่อสารสัญญาณแอนะล็อกเชื่อมโยงผ่านใต้ทะเลและใต้ดิน 3) เส้นใยนาแสง (Fiber Optic) เส้นใยนาแสง มีแกนกลางของสายซึ่งประกอบด้วยเส้นใยแก้วหรือพลาสติกขนาดเล็กหลาย ๆ เส้นอยู่รวมกัน เส้นใย แต่ละเส้นมีขนาดเล็กเท่าเส้นผมและภายในกลวง และเส้นใยเหล่านั้นได้รับการห่อหุ้มด้วยเส้นใยอีกชั้นหนึ่ง ก่อนจะหุ้มชั้นนอก สุดด้วยฉนวน การส่งข้อมูลผ่านทางสื่อกลางชนิดนี้จากแตกต่างจากชนิดอื่น ๆ ซึ่งใช้สัญญาณไฟฟ้าในการส่ง แต่การทางานของ สื่อกลางชนิดนี้ จะใช้เลเซอร์วิ่งผ่านช่องกลวงของเส้นใยแต่ละเส้น และอาศัยหลักการหักเหของแสง โดยใช้ใยแก้วชั้นนอกเป็น กระจกสะท้อนแสง การให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลสูงมาก และ ไม่มีการก่อกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเทอร์เน็ตจะใช้ได้ด้วยความเร็วหลายร้อยเมกะบิต และเนื่องจากความสามารถในการส่งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นสูง ทาให้สามารถส่งข้อมูลทั้งตัวอักษร เสียง ภาพกราฟิก หรือวีดิทัศน์ได้ในเวลาเดียวกัน อีกทั้งยังมีความปลอดภัยในการส่งสูง แต่อย่างไรก็มีข้อเสียเนื่องจากการบิดงอสายสัญญาณจะ ทาให้เส้นใยหัก จึงไม่สามารถใช้สื่อกลางชนิดนี้ในการเดินทางตามมุมตึกได้ เส้นใยนาแสงมีลักษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเชื่อมโยง แบบจุดไปจุด ดังนั้นจึงเหมาะที่จะใช้กับการเชื่อมโยงระหว่างอาคารกับอาคาร หรือระหว่างเมืองกับเมือง เส้นใยนาแสงจึงถูก นาไปใช้เป็นสายแกนหลัก (ก) ตัวอย่างสายโคแอกเชียล (ข) ส่วนประกอบของสายโคแอกเชียล รูปที่ 4 สายโคแอกเชียล รูปที่ 5 ข้อต่อสายโคแอกเชียลที่สามารถนาไปต่อเชื่อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ (ข) ข้อต่อสายโคแอกเชียลบริเวณที่เป็นส่วนปลายของเครือข่าย(ก) ข้อต่อสายโคแอกเชียล
  • 3. 3 เอกสารประกอบการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณัฐพล บัวอุไร [ict4.nattapon.com] สื่อกลางประเภทไร้สาย 1) ไมโครเวฟ (Microwave) สัญญาณไมโครเวฟ เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มี ความเร็วสูง ส่งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งเป็น สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ ต้องการส่ง และจะต้องมีสถานีที่ทาหน้าที่ส่งและรับข้อมูล และ เนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรง ไม่สามารถ เลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกที่มีความโค้งได้ จึงต้องมีการตั้งสถานี รับ-ส่งข้อมูลเป็นระยะ ๆ และส่งข้อมูลต่อกันเป็นทอด ๆ ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง แต่ละสถานี จะตั้งอยู่ในที่สูง เช่น ดาดฟ้า ตึกสูง หรือยอดดอย เพื่อหลีกเลี่ยง การชนหากมีสิ่งกีดขวาง เนื่องจากแนวการเดินทางที่เป็น เส้นตรงของสัญญาณดังที่กล่าวมาแล้ว การส่งข้อมูลด้วยสื่อกลาง ชนิดนี้เหมาะกับการส่งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกลมาก ๆ และทุรกันดาร 2) ดาวเทียม (Satellite) ดาวเทียมได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจากัดของสถานีรับ-ส่งไมโครเวฟบนผิวโลก วัตถุประสงค์ในการ สร้างดาวเทียม เพื่อเป็นสถานีรับ-ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศและทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ในการส่งสัญญาณ ดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทาหน้าที่รับและส่งสัญญาณขึ้นไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นนิ่งอยู่กับที่ขณะที่โลก หมุนรอบตัวเอง ทาให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียม และการกระจายสัญญาณจากดาวเทียมลง มายังสถานีตามจุดต่าง ๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยา ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้โดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์ โดยแผง โซลาร์ (Solar Cell) บนดาวเทียมจะรับพลังงานจากแสงอาทิตย์มาเปลี่ยนใช้งาน รูปที่ 6 ส่วนประกอบของเส้นใยนาแสง รูปที่ 7 การส่งสัญญาณไมโครเวฟ ต้องมีสถานีรับส่งที่เป็นเสาสูง
  • 4. 4 เอกสารประกอบการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณัฐพล บัวอุไร [ict4.nattapon.com] รูปที่ 8 ดาวเทียมที่โคจรอยู่ในอวกาศ รูปที่ 9 สถานีภาคพื้นดินคอยรับส่งสัญญาณดาวเทียม