SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline



              ภาษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      (Language Innovation and Information Technology)
                       รหัสวิชา 211 201


                                          พระมหาบุญชัช เมฆแก้ว
             น.ธ.เอก, ป.ธ. พธ.บ.(ภาษาอังกฤษ),
                         3,                 M.A.(Linguistics)




         ภาษา         นวัตกรรม
      (Language)   (Innovation)           เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                     (Information Technology)
What is Language?
        Language is a means of communication among human beings. The two obvious modes
of communication are –speech and writing. There are many other means of communication
such as facial expressions, gestures, smiles, nods, ringing of bells, etc. All these have one thing
in common –they aim at translating an idea, emotion, or attitude into a physical embodiment,
into something that can be perceived by our senses.
Fig.1
                      Sender                     Message                 Receiver

                                                  Sign

                                        Speech           Writing


        The physical embodiment of the message, as shown above, is twofold-if the message
is realized as sound waves in the atmosphere, we call it phonic substance or Speech. If it is
realized as writing or printing, we call it graphic substance or Writing. Speech, therefore, may
be defined as communication in oral language and writing its symbolic representation.


                                     นวัตกรรม(Innovation)

                     ความคิดใหม่ เทคนิควิธีการใหม่ หรือสิ่งใหม่ที่สามารถนามาใช้ให้เกิด
                      ประโยชน์ได้ นวัตกรรมนั้นเป็นสิ่งที่สร้างความรู้สึกว่าเป็นของใหม่
                      สาหรับกลุ่มผู้มีศักยภาพในการยอมรับนวัตกรรม

องค์ประกอบของนวัตกรรม
       1.เป็นสิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน
       2.เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วแต่ไม่ได้นามาใช้ประโยชน์ ต่อมาได้มีการนามาใช้ประโยชน์
       3.เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วและเคยนามาใช้ในช่วงเวลาหนึ่งแต่ไม่ได้รับความนิยม ต่อมานามาใช้ใหม่
ภายใต้สถานการณ์และเงื่อนไขใหม่ที่เปลี่ยนแปลง
       4.เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วและใช้ได้ดีในสังคมอื่น หรือประเทศอื่น แล้วนามาใช้อีกสังคมหนึ่งหรืออีก
ประเทศหนึ่ง
5.เป็นการพัฒนาปรับปรุงจากของเดิมที่มีอยู่ให้มีลักษณะต่างจากต้นแบบ เพื่อให้เหมาะสมกับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคม

               เทคโนโลยีสารสนเทศ
                               (Information Technology : IT)

สารสนเทศ(Information)
                    สาระความรู้ ความจริงที่สามารถนาไปใช้ถ่ายทอดสื่อสาร นาไปใช้ศึกษา
                     เพื่อเรียนรู้ หรือเก็บรวบรวมได้

เทคโนโลยี(Technology)
                    มาจากคาภาษากรีก tekhnologia หมายถึง การกระทาอย่างเป็น
                     ระบบของศิลปะ โดยมาจากคาว่า tekhne(art, skill) + -o- + -
                     logia(logy)
        - การประยุกต์ใช้ความรู้ในเชิงปฏิบัติโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาวิชาเฉพาะและสมรรถนะที่เอื้อ
ประโยชน์โดยการประยุกต์ใช้ความรู้ในเชิงปฏิบัติ
        - การกระทาเพื่อให้งานสาเร็จลุล่วงไปได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยการใช้กระบวนการ วิธีการ หรือ
ความรู้ด้านเทคนิค
        - ลักษณะพิเศษของขอบเขตสาขาวิชาเฉพาะ




เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology : IT)
                    วิธีการจัดกระทากับสารสนเทศที่มีอยู่ในภาษาฝรั่งเศส Informatigue
                     แรกเริ่มหมายถึงศาสตร์ด้านข้อมูลข่าวสาร แต่เนื่องจากวิธีการจัด
                     กระทากับสารสนเทศหรือข้อมูลข่าวสาร มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับการ
                     ใช้คอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน Informatigue จึงมีความหมายถึง ศาสตร์
                     ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดกระทากับข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่ เนื่องจากเป็น
                     ภาษาที่มีต้นกาเนิดจากยุโรปจึงใช้คาว่า Informatics ในภาษาอังกฤษ
                     หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยการจัดกระทากับสานสนเทศ และผู้ที่
                     ปฏิบัติงานเรียกว่า Informaticians
เบลล์(Bell) ได้กล่าวถึงต้นกาเนิดของเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ Information Technology
ว่าเป็นการเริ่มต้นมาจากพัฒนาการของเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและคอมพิวเตอร์ (Computing and
Telecommunications) พัฒนาการของทั้งสองเทคโนโลยีเป็นพื้นฐานทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบ
การจัดกระทากับข้อมูลข่าวสารหรือสารสนเทศ ในด้านการเก็บรักษา การค้นหา การเรียกใช้ การจัด
หมวดหมู่ การประยุกต์ใช้ และการเผยแพร่ เป็นต้น พัฒนาการดังกล่าวมาจากฐานความรู้เชิง
วิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานระดับวิชาชีพชั้นสูงเท่านั้น จึงจะสามารถคิดค้นและใช้เทคโนโลยีชั้นสูงนี้
ในอดีตวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์จะเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีดังกล่าวเป็นส่วนมาก เพราะต้องใช้เฉพาะผู้ที่มี
ความรู้ความสามารถจึงจะสามารถเรียนรู้เข้าใจและนาไปใช้ได้ แต่ในปัจจุบันพัฒนาการของเทคโนโลยี วิธี
ดังกล่าวได้ช่วยให้บุคคลในทุกระดับชั้นที่ประกอบอาชีพและการทางาน สามารถใช้เทคโนโลยีประเภทนี้ได้
โดยไม่จาเป็นต้องใช้ความรู้ความสามารถสูงเหมือนดังที่เคยเป็น ผู้บริหารที่ไม่มีความรู้พื้นฐานทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก็สามารถทาความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
         พอแรท(Porat) ได้กล่าวถึงความเชื่อมโยงของจุดเริ่มต้นของการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร
และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับการพัฒนาของสังคมในมวลมนุษยชาติ เป็นการกล่าวถึงสังคมข่าวสารหรือ
สังคมสารสนเทศ (Information Society) ขึ้น โดยได้บรรยายถึงสังคมบนโลกนี้จะมีการใช้ข้อมูล
ข่าวสารมากขึ้น สังคมการผลิตที่เคยใช้แรงงานและทรัพยากรธรรมชาติเป็นฐานจะเปลี่ยนเป็นสังคมที่
เศรษฐกิจ และการผลิต การบริโภคที่มีข้อมูลข่าวสาร และเทคนิควิธีการเป็นฐาน
         ดิลล์แมน(Dillman) ได้กล่าวถึงการเพิ่มขึ้นของข้อมูลและการใช้ข้อมูลข่าวสารในยุคสารสนเทศ
(Information            Age) ทาให้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ                    (Technological
Capabilities) เป็นความจาเป็น และถือเป็นเครื่องมือที่จาเป็น(Essential Tool) ที่จะทาให้การทางาน
ในสังคมสารสนเทศประสบผลสาเร็จได้
         นอกจากนี้ แวนเนวาร์ บุช(Vannevar Bush) ได้รับสมญาว่าเป็นผู้ที่กล่าวถึงการเพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็วของข้อมูลข่าวสาร(Information Explosion) เป็นคนแรก และเขาได้แสดงวิสัยทัศน์ทานายไว้
ว่า จะมีการใช้เครื่องมืออิเล็คทรอนิกส์ในการจัดกระทาข้อมูลข่าวสารที่เพิ่มขึ้น โดยเรียกสิ่งนั้นว่า
“Memex” ซึ่งคาทานายของเขาเป็นความจริงในปัจจุบัน วิทยาการบางสาขาเพิ่มขึ้นเท่าตัวในเวลาเพียง 1
ปี และทุกๆ 3 ปีเพิ่มขึ้นเท่าตัวในอัตราเฉลี่ย และสิ่งที่เรียกว่า “Memex” ในสมัยนั้นคือ คอมพิวเตอร์ที่มี
ข่ายงานและฐานข้อมูลที่หลากหลายในปัจจุบันอันเกิดจากพัฒนาการของเทคโนโลยีด้านอิเล็กทรอนิกส์ และ
ด้านอื่นๆ ในการจัดการศึกษาเทคโนโลยีที่นามาใช้ในสถานศึกษามุ่งประโยชน์เพื่อคุณภาพการเรียนการสอน
ได้แก่ เทคโนโลยีการสื่อสาร (Telecommunication Technology) และเทคโนโลยีคอมพิว เตอร์
(Computing Technology) ที่เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนี้แล้ว
ยังต้องใช้เทคโนโลยีฐานข้อมูล (Data-based Technology) และเทคโนโลยีการศึกษาEducational        (
Technology) อีกด้วย การบูรณาการเทคโนโลยีทั้ง 4 ด้านทาให้เกิดความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน                    ดัง
แผนภาพต่อไปนี้
แผนภาพ ก. แสดงการบูรณาการของเทคโนโลยี

                                            เทคโนโลยีการศึกษา
                                       (Educational Technology)




   เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
                                                                           เทคโนโลยีฐานข้อ มูล
(Computing Technology)
                                                                      (Data-based Technology)




                                               เทคโนโลยีการสื่อ สาร
                                       (Telecommunication Technology)




                  การบูรณาการเทคโนโลยี
                                    (Integrated Technologies)

1.เทคโนโลยีคอมพิว เตอร์  (Computing Technology)
          คอมพิวเตอร์เป็นผลผลิตของการพัฒนาอุปกรณ์ทางด้านอิเล็คทรอนิกส์ (Electronic Devices)
ที่สามารถนามาใช้งานตามความประสงค์ของผู้ใช้ด้วยคาสั่งที่สร้างขึ้น หรือเรียกว่า Program ผู้ที่สร้าง
Program เรียกว่า Programmer โดยที่สามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์ควบคุมอุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ใช้
อยู่ เช่น Slides, Video, Film, Filmstrips, Audiotapes และวัสดุสิ่งพิมพ์ทั้งหลาย นอกจากนี้ยัง
ทาหน้าที่เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในการสอนได้อีกด้วย ความสามารถของคอมพิวเตอร์ยังเปิดโอกาสให้
ผู้เรียนมีส่วนร่วมและโต้ตอบกับผู้เรียนได้ด้วย เพียงกดลงบน Keyboard หรือจะใช้ Light Pen และ
การสัมผัสบนจอภาพก็ได้ ช่องทางของการมีปฏิสัมพันธ์กับเครื่องคอมพิวเตอร์นับวันจะเพิ่มขึ้น
คอมพิวเตอร์ที่นามาใช้ทางด้านการเรียนการสอน (Computer-based Instruction) สามารถแบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ Computer-assisted Instruction หรือเป็นที่นิยมเรียกตัวย่อของ
คาแรกว่า CAI และคอมพิวเตอร์อีกประเภทหนึ่ง ได้แก่ Computer-managed Instruction หรือ
CMI คอมพิวเตอร์ทั้งสองประเภทแบ่งตามลักษณะของการนาไปใช้ในกิจกรรมของการเรียนการสอนทั้งหมด
โดยที่ CAI จะเป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้กับผู้เรียนเป็นส่วนใหญ่ และ CMI จะเป็นคอมพิวเตอร์ที่นาไปใช้ในการ
ดาเนินการหรือจัดการกระบวนการของการเรียนและการสอนในโรงเรียน หรือสถานศึกษาต่างๆ นอกจากนี้
แล้วคอมพิวเตอร์ยังเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาอีกด้วย
2.เทคโนโลยีฐานข้อมูลData-based Technology)
                     (
        จะเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลเก็บไว้ในรูปของ          Digital Code พัฒนาควบคู่กับเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ เพราะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะมีประโยชน์น้อย ถ้าไม่มีข้อมูลหรือโปรแกรมที่สามารถเก็บ
และเรียกมาใช้ได้อย่างรวดเร็วในปริมาณที่มากเพียงพอกับความต้องการของผู้บริหาร ปัจจุบันประเทศไทย
กาลังพัฒนาฐานข้อมูลของไทยอยู่ จึงจาเป็นต้องใช้เวลาและความพยายามอย่างมาก คาดว่าในอนาคตอัน
ใกล้ฐานข้อมูลของไทยจะเป็นที่แพร่หลายเอื้อประโยชน์กับนักบริหารเป็นอย่างมาก

3.เทคโนโลยีการสื่อสารTelecommunication Technology)
                       (
         เทคโนโลยีการสื่อสารหรือเทคโนโลยีโทรคมนาคมเป็นการพัฒนาระบบการสื่อสารตามสาย ตั้งแต่
เริ่มการใช้โทรเลข พัฒนาเป็นโทรศัพท์ จนปัจจุบันได้มีการพัฒนาการสื่อสารส่งผ่านข้อมูลตามสายที่วาง
ขนานไปกับพื้นโลก ทั้งสายโลหะและใยแก้วนาแสง จนเป็นระบบทางด่วนข้อมูล (Information Super
Highway) นอกจากนี้ยังพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารส่งผ่านข้อมูลในรูปคลื่นวิทยุ ทั้งบนพื้นโลก และ
ส่งผ่านดาวเทียมที่โคจรอยู่นอกโลก ทาให้สามารถเชื่อมโยงเกิดเป็นเครือข่าย         (Network) ขึ้น และ
เทคโนโลยีการสื่อสารนี้เองที่เป็นตัวเชื่อมให้คอมพิวเตอร์กับฐานข้อมูลที่กระจายกันอยู่ทั่วโลก หรือ
คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ในแต่ละที่ที่ห่างไกลกันสามารถเชื่อต่อกันได้ เกิดสภาวการณ์ไร้พรมแดนหรือ
โลกาภิวัฒน์(Globalization)กับสังคมโลก

4.เทคโนโลยีการศึกษาEducational Technology)
                         (
          การนาความสามารถพิเศษของเทคโนโลยีในรูปของเครื่องมือดังกล่าวมาใช้กับผู้เรียน ซึ่งมี
ธรรมชาติของการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน จาเป็นต้องมีการจัดกระทาข้อมูลให้เป็น “ระบบ” สามารถที่จะให้
ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ เพราะข้อมูลที่มีอยู่มากมายและหลายรูปแบบต้องมีการ “คัดสรร” และ “จัดขั้นตอน”
ของการนาเสนอให้เหมาะสม และให้บรรลุจุดประสงค์ที่ต้องการ ข้อมูลอย่างเดียวกันถ้าขาดการวางแผน
ในการนาเสนอที่ดีแล้ว ผู้รับอาจเข้าใจความหมายที่แตกต่างกันไป และอาจไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายของผู้
ต้องการนาเสนอได้ ถ้าขาด “กระบวนการ” ของการจัดกระทาข้อมูลเพื่อนาเสนอให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี
เทคโนโลยีการศึกษาจะทาให้งานบริหารวิชาการของสถานศึกษา ทั้งด้านหลักสูตร การเรียนการสอน การ
วัด และการประเมินผลดาเนินไปอย่างมีคุณภาพ
ประโยชน์การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
          การบูรณาการเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (Integrated Technologies for Education)เป็น
การใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ เพื่อประโยชน์ของการจัดการศึกษาในแบบแผนของการบูรณาการที่นาเทคโนโลยี
ทั้ง 4 ด้านเป็นการบูรณาการในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ
จัดการเรียนการสอน จึงเป็นเป้าหมายสาคัญของการบริหารการศึกษา ให้เกิดทั้งประสิทธิภาพ
(Efficiency) และประสิทธิผล(Effectiveness) เพื่อนาไปสู่คุณภาพ(Quality) ของผู้จบการศึกษาและ
คุณภาพของระบบการบริหารและการจัดการเรียนการสอน ดังแผนภาพต่อไปนี้
แผนภาพ ข. แสดงการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษากับประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ

                                     การใช้เทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา



                            ประสิท ธิภาพ                    ประสิท ธิผ ล
                           (Efficiency)                  (Effectiveness)


                                           คุณภาพ(Quality)




1.ประสิทธิภาพ(Efficiency)
        หมายถึง การได้ผลผลิตสูงขึ้นโดยไม่ต้องมีการลงทุนเพิ่ม ในการบริหารการศึกษา หมายถึง
นักเรียนหรือนักศึกษาสามารถสาเร็จการศึกษาได้ตามกาหนดของหลักสูตร ไม่ลาออกกลางคัน หรือเรียน
เกินเวลา หรือล่าช้ากว่ากาหนด และการเพิ่มจานวนผู้จบการศึกษา โดยไม่ต้องเพิ่มงบประมาณ หรือ
อัตรากาลังแต่อย่างใด ความสามารถในการบริหารให้มีประสิทธิภาพยังหมายถึง การดาเนินงานตาม
ภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้สาเร็จลุ่วงไปด้วยดี (Do the Things Right) เป็นไปอย่างถูกต้องตาม
ระเบียบแบบแผนที่กาหนดไว้ ดังนั้น ประสิทธิภาพ จึงเป็นการดาเนินการและเลือกใช้วิธีการทางานอย่าง
ถูกต้องตามระเบียบแบบแผนทั้งทางกฎหมาย ศีลธรรม และทางวิชาการ ภายใต้การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
อย่างพอดีและประหยัดโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดการบรรลุผลตามต้องการ
2.ประสิทธิผล(Effectiveness)
        หมายถึง การได้ผลผลิตตรงตามต้องการ หรือตรงตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ในการบริหาร
การศึกษา หมายถึง ผู้ที่จบการศึกษาที่มีคุณภาพตรงตามที่หลักสูตรได้กาหนดไว้ และมีความรู้
ความสามารถในการนาความรู้ ทักษะ และเจตคติไปใช้ได้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน หรือ
สามารถนาไปประกอบอาชีพได้ตามความรู้ความสามารถที่ได้ศึกษามา ความสามารถในการบริหารให้มี
ประสิทธิผลยังหมายถึง การดาเนินงานที่ทาให้เกิดผลในสิ่งที่ควรจะเกิดขึ้นเพื่อเป็นสิ่งดีงามของการพัฒนา
(Get the Right Things Done)ความสามารถในการบริหารให้มีประสิทธิผลมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
วางแผนและกาหนดนโยบายในสิ่งที่จะทาให้เกิดผลรวมอยู่ด้วย ดังนั้น ประสิทธิผล จึงเป็นการดาเนินการให้
สามารถบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการได้อย่างครบถ้วน เหมาะสมและดีงามอย่างที่สุดแล้ว
3.คุณภาพ (Quality)
          หมายถึง ความเป็นเลิศ(Excellent) และพอดีกับความต้องการ การใช้เทคโนโลยีในการบริหาร
การศึกษาเพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลแล้ว ยังจะนาไปสู่ความเป็นเลิศทางด้านวิชาการอีกด้วย
ความเป็นเลิศอาจวัดได้จากความนิยมในสถาบันการศึกษา หรือจานวนผู้จบการศึกษาที่ได้รับความสาเร็จทั้ง
ในด้านการเรียนต่อและการทางาน นอกจากนี้ คุณภาพ ยังหมายถึง ความพอดีกับความต้องการและภาวะ
ขาดแคลนหมดไปได้ ถือว่าเป็นการบริหารที่มีคุณภาพด้วย ดังนั้น คุณภาพ จึงเป็นการดาเนินการที่มีทั้ง
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล การดาเนินการเพื่อให้มีประสิทธิภาพนั้นสามารถเกิดขึ้นได้ โดยที่
ผู้ดาเนินการได้ปฏิบัติตามขั้นตอนและแบบแผนอย่างถูกต้องและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างพอดี นั่นคือ การ
มีประสิทธิภาพ แต่การดาเนินการนั้นอาจไม่นาไปสู่การบรรลุได้ตามที่ต้องการเสมอไป ในขณะเดียวกันการ
ดาเนินการที่แตกต่างไปจากวิธีการและการใช้ทรัพยาการที่กาหนดไว้ ถือได้ว่าเป็นการดาเนินงานอย่างมี
ประสิทธิผล แต่ไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากไม่ทาตามขั้นตอนและใช้ทรัพยากรตามที่กาหนดไว้ คุณภาพ
จึงไม่เกิดขึ้น ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ่งระหว่างประสิทธิภาพและประสิทธิผล
วจนสัญลักษณ์
                                           (Verbal
                                          Symbols)                นามธรรม(Abstract)
                                         ทัศนสัญลักษณ์
                                     (Visual Symbols)

                                   การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง
                                  (Recording, Radio, Still
                                        Pictures)
                                         ภาพยนต์                                  ภาพ(Iconics)
                                 (Motion Pictures)
                                      โทรทัศน์
                                    (Television)
                                      นิ ทรรศการ
                                     (Exhibits)
                                  การศึกษานอกสถานที่
                                    (Field Trips)
                                       การสาธิต
                                 (Demonstration)                                        การกระท า
                                                                                                (Enactive)
                            ประสบการณ์ นาฏกรรมหรื อการแสดง
                             (Dramatized Experience)
                                  ประสบการณ์ รอง
                              (Contrived Experience)
                                   ประสบการณ์ ตรง
                          (Direct, Purposeful Experience)




บรรณานุกรม
Lalitha Ramamurthi. A History of English Language and Elements of Phonetics. India :
Macmillan, 2007.
กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์, รศ.ดร., เทคโนโลยีการศึกษาวิชาชีพ. กรุงเทพฯ : สินทวีการพิมพ์, 2549.
กิดานันท์ มลิทอง, รศ.ดร., เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. 2543.
กิดานันท์ มลิทอง, รศ.ดร., เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. 2548.

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศAnn Koklang
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศKrooIndy Csaru
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAuraiwan Worrasiri
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์สราวุฒิ จบศรี
 
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศD:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศJintana Pandoung
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังธนชิต จำปาทอง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศsongpop
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารkaewwonnesakun
 
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันkroobee
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนChanathip Tangz
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศWeek 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesBoonlert Aroonpiboon
 

What's hot (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Basic it
Basic itBasic it
Basic it
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศD:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศWeek 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 

Viewers also liked

Roxy Luv
Roxy LuvRoxy Luv
Roxy LuvRoxyLuv
 
The eleven hyperactive women
The eleven hyperactive womenThe eleven hyperactive women
The eleven hyperactive womenSoapyMirage
 
กิจกรรมวันปิยะมหาราช
กิจกรรมวันปิยะมหาราชกิจกรรมวันปิยะมหาราช
กิจกรรมวันปิยะมหาราชkanya2518
 
Uso de las tic en ingles
Uso de las tic en inglesUso de las tic en ingles
Uso de las tic en inglesSoapyMirage
 
Uso de las TIC en el aprendizaje del Inglés
Uso de las TIC en el aprendizaje del InglésUso de las TIC en el aprendizaje del Inglés
Uso de las TIC en el aprendizaje del InglésRossaMz17
 

Viewers also liked (9)

Roxy Luv
Roxy LuvRoxy Luv
Roxy Luv
 
Play cards
Play cardsPlay cards
Play cards
 
The eleven hyperactive women
The eleven hyperactive womenThe eleven hyperactive women
The eleven hyperactive women
 
Play cards
Play cardsPlay cards
Play cards
 
Play cards
Play cardsPlay cards
Play cards
 
กิจกรรมวันปิยะมหาราช
กิจกรรมวันปิยะมหาราชกิจกรรมวันปิยะมหาราช
กิจกรรมวันปิยะมหาราช
 
Uso de las tic en ingles
Uso de las tic en inglesUso de las tic en ingles
Uso de las tic en ingles
 
Uso de las TIC en el aprendizaje del Inglés
Uso de las TIC en el aprendizaje del InglésUso de las TIC en el aprendizaje del Inglés
Uso de las TIC en el aprendizaje del Inglés
 
Ukm mermie yummy punya zahraaa
Ukm mermie yummy punya zahraaaUkm mermie yummy punya zahraaa
Ukm mermie yummy punya zahraaa
 

Similar to 01

9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029CUPress
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chushi1991
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chushi1991
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6ครู อินดี้
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1chaiing
 
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาnatwadee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimproncharita
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณSchool
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยsomdetpittayakom school
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnut jpt
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2Thayacup
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kawinna2538
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศTheerapat Nilchot
 

Similar to 01 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
 
ICT for Education
ICT for EducationICT for Education
ICT for Education
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณ
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
...1
...1...1
...1
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

01

  • 1.  ภาษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Language Innovation and Information Technology) รหัสวิชา 211 201  พระมหาบุญชัช เมฆแก้ว น.ธ.เอก, ป.ธ. พธ.บ.(ภาษาอังกฤษ), 3, M.A.(Linguistics) ภาษา นวัตกรรม (Language) (Innovation) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
  • 2. What is Language? Language is a means of communication among human beings. The two obvious modes of communication are –speech and writing. There are many other means of communication such as facial expressions, gestures, smiles, nods, ringing of bells, etc. All these have one thing in common –they aim at translating an idea, emotion, or attitude into a physical embodiment, into something that can be perceived by our senses. Fig.1 Sender Message Receiver Sign Speech Writing The physical embodiment of the message, as shown above, is twofold-if the message is realized as sound waves in the atmosphere, we call it phonic substance or Speech. If it is realized as writing or printing, we call it graphic substance or Writing. Speech, therefore, may be defined as communication in oral language and writing its symbolic representation. นวัตกรรม(Innovation)  ความคิดใหม่ เทคนิควิธีการใหม่ หรือสิ่งใหม่ที่สามารถนามาใช้ให้เกิด ประโยชน์ได้ นวัตกรรมนั้นเป็นสิ่งที่สร้างความรู้สึกว่าเป็นของใหม่ สาหรับกลุ่มผู้มีศักยภาพในการยอมรับนวัตกรรม องค์ประกอบของนวัตกรรม 1.เป็นสิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน 2.เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วแต่ไม่ได้นามาใช้ประโยชน์ ต่อมาได้มีการนามาใช้ประโยชน์ 3.เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วและเคยนามาใช้ในช่วงเวลาหนึ่งแต่ไม่ได้รับความนิยม ต่อมานามาใช้ใหม่ ภายใต้สถานการณ์และเงื่อนไขใหม่ที่เปลี่ยนแปลง 4.เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วและใช้ได้ดีในสังคมอื่น หรือประเทศอื่น แล้วนามาใช้อีกสังคมหนึ่งหรืออีก ประเทศหนึ่ง
  • 3. 5.เป็นการพัฒนาปรับปรุงจากของเดิมที่มีอยู่ให้มีลักษณะต่างจากต้นแบบ เพื่อให้เหมาะสมกับการ เปลี่ยนแปลงของสังคม เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) สารสนเทศ(Information)  สาระความรู้ ความจริงที่สามารถนาไปใช้ถ่ายทอดสื่อสาร นาไปใช้ศึกษา เพื่อเรียนรู้ หรือเก็บรวบรวมได้ เทคโนโลยี(Technology)  มาจากคาภาษากรีก tekhnologia หมายถึง การกระทาอย่างเป็น ระบบของศิลปะ โดยมาจากคาว่า tekhne(art, skill) + -o- + - logia(logy) - การประยุกต์ใช้ความรู้ในเชิงปฏิบัติโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาวิชาเฉพาะและสมรรถนะที่เอื้อ ประโยชน์โดยการประยุกต์ใช้ความรู้ในเชิงปฏิบัติ - การกระทาเพื่อให้งานสาเร็จลุล่วงไปได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยการใช้กระบวนการ วิธีการ หรือ ความรู้ด้านเทคนิค - ลักษณะพิเศษของขอบเขตสาขาวิชาเฉพาะ เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology : IT)  วิธีการจัดกระทากับสารสนเทศที่มีอยู่ในภาษาฝรั่งเศส Informatigue แรกเริ่มหมายถึงศาสตร์ด้านข้อมูลข่าวสาร แต่เนื่องจากวิธีการจัด กระทากับสารสนเทศหรือข้อมูลข่าวสาร มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับการ ใช้คอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน Informatigue จึงมีความหมายถึง ศาสตร์ ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดกระทากับข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่ เนื่องจากเป็น ภาษาที่มีต้นกาเนิดจากยุโรปจึงใช้คาว่า Informatics ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยการจัดกระทากับสานสนเทศ และผู้ที่ ปฏิบัติงานเรียกว่า Informaticians
  • 4. เบลล์(Bell) ได้กล่าวถึงต้นกาเนิดของเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ Information Technology ว่าเป็นการเริ่มต้นมาจากพัฒนาการของเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและคอมพิวเตอร์ (Computing and Telecommunications) พัฒนาการของทั้งสองเทคโนโลยีเป็นพื้นฐานทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบ การจัดกระทากับข้อมูลข่าวสารหรือสารสนเทศ ในด้านการเก็บรักษา การค้นหา การเรียกใช้ การจัด หมวดหมู่ การประยุกต์ใช้ และการเผยแพร่ เป็นต้น พัฒนาการดังกล่าวมาจากฐานความรู้เชิง วิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานระดับวิชาชีพชั้นสูงเท่านั้น จึงจะสามารถคิดค้นและใช้เทคโนโลยีชั้นสูงนี้ ในอดีตวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์จะเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีดังกล่าวเป็นส่วนมาก เพราะต้องใช้เฉพาะผู้ที่มี ความรู้ความสามารถจึงจะสามารถเรียนรู้เข้าใจและนาไปใช้ได้ แต่ในปัจจุบันพัฒนาการของเทคโนโลยี วิธี ดังกล่าวได้ช่วยให้บุคคลในทุกระดับชั้นที่ประกอบอาชีพและการทางาน สามารถใช้เทคโนโลยีประเภทนี้ได้ โดยไม่จาเป็นต้องใช้ความรู้ความสามารถสูงเหมือนดังที่เคยเป็น ผู้บริหารที่ไม่มีความรู้พื้นฐานทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก็สามารถทาความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ พอแรท(Porat) ได้กล่าวถึงความเชื่อมโยงของจุดเริ่มต้นของการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับการพัฒนาของสังคมในมวลมนุษยชาติ เป็นการกล่าวถึงสังคมข่าวสารหรือ สังคมสารสนเทศ (Information Society) ขึ้น โดยได้บรรยายถึงสังคมบนโลกนี้จะมีการใช้ข้อมูล ข่าวสารมากขึ้น สังคมการผลิตที่เคยใช้แรงงานและทรัพยากรธรรมชาติเป็นฐานจะเปลี่ยนเป็นสังคมที่ เศรษฐกิจ และการผลิต การบริโภคที่มีข้อมูลข่าวสาร และเทคนิควิธีการเป็นฐาน ดิลล์แมน(Dillman) ได้กล่าวถึงการเพิ่มขึ้นของข้อมูลและการใช้ข้อมูลข่าวสารในยุคสารสนเทศ (Information Age) ทาให้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Technological Capabilities) เป็นความจาเป็น และถือเป็นเครื่องมือที่จาเป็น(Essential Tool) ที่จะทาให้การทางาน ในสังคมสารสนเทศประสบผลสาเร็จได้ นอกจากนี้ แวนเนวาร์ บุช(Vannevar Bush) ได้รับสมญาว่าเป็นผู้ที่กล่าวถึงการเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็วของข้อมูลข่าวสาร(Information Explosion) เป็นคนแรก และเขาได้แสดงวิสัยทัศน์ทานายไว้ ว่า จะมีการใช้เครื่องมืออิเล็คทรอนิกส์ในการจัดกระทาข้อมูลข่าวสารที่เพิ่มขึ้น โดยเรียกสิ่งนั้นว่า “Memex” ซึ่งคาทานายของเขาเป็นความจริงในปัจจุบัน วิทยาการบางสาขาเพิ่มขึ้นเท่าตัวในเวลาเพียง 1 ปี และทุกๆ 3 ปีเพิ่มขึ้นเท่าตัวในอัตราเฉลี่ย และสิ่งที่เรียกว่า “Memex” ในสมัยนั้นคือ คอมพิวเตอร์ที่มี ข่ายงานและฐานข้อมูลที่หลากหลายในปัจจุบันอันเกิดจากพัฒนาการของเทคโนโลยีด้านอิเล็กทรอนิกส์ และ ด้านอื่นๆ ในการจัดการศึกษาเทคโนโลยีที่นามาใช้ในสถานศึกษามุ่งประโยชน์เพื่อคุณภาพการเรียนการสอน ได้แก่ เทคโนโลยีการสื่อสาร (Telecommunication Technology) และเทคโนโลยีคอมพิว เตอร์ (Computing Technology) ที่เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนี้แล้ว ยังต้องใช้เทคโนโลยีฐานข้อมูล (Data-based Technology) และเทคโนโลยีการศึกษาEducational ( Technology) อีกด้วย การบูรณาการเทคโนโลยีทั้ง 4 ด้านทาให้เกิดความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ดัง แผนภาพต่อไปนี้
  • 5. แผนภาพ ก. แสดงการบูรณาการของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีฐานข้อ มูล (Computing Technology) (Data-based Technology) เทคโนโลยีการสื่อ สาร (Telecommunication Technology) การบูรณาการเทคโนโลยี (Integrated Technologies) 1.เทคโนโลยีคอมพิว เตอร์ (Computing Technology) คอมพิวเตอร์เป็นผลผลิตของการพัฒนาอุปกรณ์ทางด้านอิเล็คทรอนิกส์ (Electronic Devices) ที่สามารถนามาใช้งานตามความประสงค์ของผู้ใช้ด้วยคาสั่งที่สร้างขึ้น หรือเรียกว่า Program ผู้ที่สร้าง Program เรียกว่า Programmer โดยที่สามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์ควบคุมอุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ใช้ อยู่ เช่น Slides, Video, Film, Filmstrips, Audiotapes และวัสดุสิ่งพิมพ์ทั้งหลาย นอกจากนี้ยัง ทาหน้าที่เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในการสอนได้อีกด้วย ความสามารถของคอมพิวเตอร์ยังเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมและโต้ตอบกับผู้เรียนได้ด้วย เพียงกดลงบน Keyboard หรือจะใช้ Light Pen และ การสัมผัสบนจอภาพก็ได้ ช่องทางของการมีปฏิสัมพันธ์กับเครื่องคอมพิวเตอร์นับวันจะเพิ่มขึ้น คอมพิวเตอร์ที่นามาใช้ทางด้านการเรียนการสอน (Computer-based Instruction) สามารถแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ Computer-assisted Instruction หรือเป็นที่นิยมเรียกตัวย่อของ คาแรกว่า CAI และคอมพิวเตอร์อีกประเภทหนึ่ง ได้แก่ Computer-managed Instruction หรือ
  • 6. CMI คอมพิวเตอร์ทั้งสองประเภทแบ่งตามลักษณะของการนาไปใช้ในกิจกรรมของการเรียนการสอนทั้งหมด โดยที่ CAI จะเป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้กับผู้เรียนเป็นส่วนใหญ่ และ CMI จะเป็นคอมพิวเตอร์ที่นาไปใช้ในการ ดาเนินการหรือจัดการกระบวนการของการเรียนและการสอนในโรงเรียน หรือสถานศึกษาต่างๆ นอกจากนี้ แล้วคอมพิวเตอร์ยังเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาอีกด้วย 2.เทคโนโลยีฐานข้อมูลData-based Technology) ( จะเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลเก็บไว้ในรูปของ Digital Code พัฒนาควบคู่กับเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เพราะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะมีประโยชน์น้อย ถ้าไม่มีข้อมูลหรือโปรแกรมที่สามารถเก็บ และเรียกมาใช้ได้อย่างรวดเร็วในปริมาณที่มากเพียงพอกับความต้องการของผู้บริหาร ปัจจุบันประเทศไทย กาลังพัฒนาฐานข้อมูลของไทยอยู่ จึงจาเป็นต้องใช้เวลาและความพยายามอย่างมาก คาดว่าในอนาคตอัน ใกล้ฐานข้อมูลของไทยจะเป็นที่แพร่หลายเอื้อประโยชน์กับนักบริหารเป็นอย่างมาก 3.เทคโนโลยีการสื่อสารTelecommunication Technology) ( เทคโนโลยีการสื่อสารหรือเทคโนโลยีโทรคมนาคมเป็นการพัฒนาระบบการสื่อสารตามสาย ตั้งแต่ เริ่มการใช้โทรเลข พัฒนาเป็นโทรศัพท์ จนปัจจุบันได้มีการพัฒนาการสื่อสารส่งผ่านข้อมูลตามสายที่วาง ขนานไปกับพื้นโลก ทั้งสายโลหะและใยแก้วนาแสง จนเป็นระบบทางด่วนข้อมูล (Information Super Highway) นอกจากนี้ยังพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารส่งผ่านข้อมูลในรูปคลื่นวิทยุ ทั้งบนพื้นโลก และ ส่งผ่านดาวเทียมที่โคจรอยู่นอกโลก ทาให้สามารถเชื่อมโยงเกิดเป็นเครือข่าย (Network) ขึ้น และ เทคโนโลยีการสื่อสารนี้เองที่เป็นตัวเชื่อมให้คอมพิวเตอร์กับฐานข้อมูลที่กระจายกันอยู่ทั่วโลก หรือ คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ในแต่ละที่ที่ห่างไกลกันสามารถเชื่อต่อกันได้ เกิดสภาวการณ์ไร้พรมแดนหรือ โลกาภิวัฒน์(Globalization)กับสังคมโลก 4.เทคโนโลยีการศึกษาEducational Technology) ( การนาความสามารถพิเศษของเทคโนโลยีในรูปของเครื่องมือดังกล่าวมาใช้กับผู้เรียน ซึ่งมี ธรรมชาติของการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน จาเป็นต้องมีการจัดกระทาข้อมูลให้เป็น “ระบบ” สามารถที่จะให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ เพราะข้อมูลที่มีอยู่มากมายและหลายรูปแบบต้องมีการ “คัดสรร” และ “จัดขั้นตอน” ของการนาเสนอให้เหมาะสม และให้บรรลุจุดประสงค์ที่ต้องการ ข้อมูลอย่างเดียวกันถ้าขาดการวางแผน ในการนาเสนอที่ดีแล้ว ผู้รับอาจเข้าใจความหมายที่แตกต่างกันไป และอาจไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายของผู้ ต้องการนาเสนอได้ ถ้าขาด “กระบวนการ” ของการจัดกระทาข้อมูลเพื่อนาเสนอให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี เทคโนโลยีการศึกษาจะทาให้งานบริหารวิชาการของสถานศึกษา ทั้งด้านหลักสูตร การเรียนการสอน การ วัด และการประเมินผลดาเนินไปอย่างมีคุณภาพ
  • 7. ประโยชน์การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การบูรณาการเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (Integrated Technologies for Education)เป็น การใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ เพื่อประโยชน์ของการจัดการศึกษาในแบบแผนของการบูรณาการที่นาเทคโนโลยี ทั้ง 4 ด้านเป็นการบูรณาการในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ จัดการเรียนการสอน จึงเป็นเป้าหมายสาคัญของการบริหารการศึกษา ให้เกิดทั้งประสิทธิภาพ (Efficiency) และประสิทธิผล(Effectiveness) เพื่อนาไปสู่คุณภาพ(Quality) ของผู้จบการศึกษาและ คุณภาพของระบบการบริหารและการจัดการเรียนการสอน ดังแผนภาพต่อไปนี้ แผนภาพ ข. แสดงการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษากับประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ การใช้เทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา ประสิท ธิภาพ ประสิท ธิผ ล (Efficiency) (Effectiveness) คุณภาพ(Quality) 1.ประสิทธิภาพ(Efficiency) หมายถึง การได้ผลผลิตสูงขึ้นโดยไม่ต้องมีการลงทุนเพิ่ม ในการบริหารการศึกษา หมายถึง นักเรียนหรือนักศึกษาสามารถสาเร็จการศึกษาได้ตามกาหนดของหลักสูตร ไม่ลาออกกลางคัน หรือเรียน เกินเวลา หรือล่าช้ากว่ากาหนด และการเพิ่มจานวนผู้จบการศึกษา โดยไม่ต้องเพิ่มงบประมาณ หรือ อัตรากาลังแต่อย่างใด ความสามารถในการบริหารให้มีประสิทธิภาพยังหมายถึง การดาเนินงานตาม ภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้สาเร็จลุ่วงไปด้วยดี (Do the Things Right) เป็นไปอย่างถูกต้องตาม ระเบียบแบบแผนที่กาหนดไว้ ดังนั้น ประสิทธิภาพ จึงเป็นการดาเนินการและเลือกใช้วิธีการทางานอย่าง ถูกต้องตามระเบียบแบบแผนทั้งทางกฎหมาย ศีลธรรม และทางวิชาการ ภายใต้การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างพอดีและประหยัดโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดการบรรลุผลตามต้องการ 2.ประสิทธิผล(Effectiveness) หมายถึง การได้ผลผลิตตรงตามต้องการ หรือตรงตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ในการบริหาร การศึกษา หมายถึง ผู้ที่จบการศึกษาที่มีคุณภาพตรงตามที่หลักสูตรได้กาหนดไว้ และมีความรู้ ความสามารถในการนาความรู้ ทักษะ และเจตคติไปใช้ได้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน หรือ
  • 8. สามารถนาไปประกอบอาชีพได้ตามความรู้ความสามารถที่ได้ศึกษามา ความสามารถในการบริหารให้มี ประสิทธิผลยังหมายถึง การดาเนินงานที่ทาให้เกิดผลในสิ่งที่ควรจะเกิดขึ้นเพื่อเป็นสิ่งดีงามของการพัฒนา (Get the Right Things Done)ความสามารถในการบริหารให้มีประสิทธิผลมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ วางแผนและกาหนดนโยบายในสิ่งที่จะทาให้เกิดผลรวมอยู่ด้วย ดังนั้น ประสิทธิผล จึงเป็นการดาเนินการให้ สามารถบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการได้อย่างครบถ้วน เหมาะสมและดีงามอย่างที่สุดแล้ว 3.คุณภาพ (Quality) หมายถึง ความเป็นเลิศ(Excellent) และพอดีกับความต้องการ การใช้เทคโนโลยีในการบริหาร การศึกษาเพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลแล้ว ยังจะนาไปสู่ความเป็นเลิศทางด้านวิชาการอีกด้วย ความเป็นเลิศอาจวัดได้จากความนิยมในสถาบันการศึกษา หรือจานวนผู้จบการศึกษาที่ได้รับความสาเร็จทั้ง ในด้านการเรียนต่อและการทางาน นอกจากนี้ คุณภาพ ยังหมายถึง ความพอดีกับความต้องการและภาวะ ขาดแคลนหมดไปได้ ถือว่าเป็นการบริหารที่มีคุณภาพด้วย ดังนั้น คุณภาพ จึงเป็นการดาเนินการที่มีทั้ง ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล การดาเนินการเพื่อให้มีประสิทธิภาพนั้นสามารถเกิดขึ้นได้ โดยที่ ผู้ดาเนินการได้ปฏิบัติตามขั้นตอนและแบบแผนอย่างถูกต้องและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างพอดี นั่นคือ การ มีประสิทธิภาพ แต่การดาเนินการนั้นอาจไม่นาไปสู่การบรรลุได้ตามที่ต้องการเสมอไป ในขณะเดียวกันการ ดาเนินการที่แตกต่างไปจากวิธีการและการใช้ทรัพยาการที่กาหนดไว้ ถือได้ว่าเป็นการดาเนินงานอย่างมี ประสิทธิผล แต่ไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากไม่ทาตามขั้นตอนและใช้ทรัพยากรตามที่กาหนดไว้ คุณภาพ จึงไม่เกิดขึ้น ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ่งระหว่างประสิทธิภาพและประสิทธิผล
  • 9. วจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbols) นามธรรม(Abstract) ทัศนสัญลักษณ์ (Visual Symbols) การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง (Recording, Radio, Still Pictures) ภาพยนต์ ภาพ(Iconics) (Motion Pictures) โทรทัศน์ (Television) นิ ทรรศการ (Exhibits) การศึกษานอกสถานที่ (Field Trips) การสาธิต (Demonstration) การกระท า (Enactive) ประสบการณ์ นาฏกรรมหรื อการแสดง (Dramatized Experience) ประสบการณ์ รอง (Contrived Experience) ประสบการณ์ ตรง (Direct, Purposeful Experience) บรรณานุกรม Lalitha Ramamurthi. A History of English Language and Elements of Phonetics. India : Macmillan, 2007. กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์, รศ.ดร., เทคโนโลยีการศึกษาวิชาชีพ. กรุงเทพฯ : สินทวีการพิมพ์, 2549. กิดานันท์ มลิทอง, รศ.ดร., เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. 2543. กิดานันท์ มลิทอง, รศ.ดร., เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. 2548.