SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
บทที่ 2
อักษรเทวนาครี
อักษรเทวนาครีนั้น ใชหลักการเดียวกับอักษรไทย กลาวคือ มีพยัญชนะ สระ แยกกัน
พยัญชนะ ตั้งแต ก ถึง ห หรือ ฬ (แลวแตภาษาที่ใช) โดยเขียนจากซายไปขวา หนวยยอยที่สุดของ
การเขียนคือหนวยพยางค อักษรตัวเดียวถือวาไมมีเสียง (แตโดยอนุโลมถือวา มีเสียงสระอะอยูดวย
เชน ก ออกเสียงวา กะ) แตหากไมตองการใหออกเสียงสระตามหลังพยัญชนะนั้น ก็จะมีเครื่องหมาย
กํากับไว เชน वमर्न ् วรฺมนฺ varman เครื่องหมายขางใตตัว นฺ न เรียกวา วิรามะ หรือเรียกแบบไทยๆ
วา วิราม ก็ได (ถาเปนอักษรโรมัน ไมมีปญหา ไมมีสระ ก็ไมมีสระ) तत ् ตตฺ tat (ออกเสียงวา ตัต)
อักษร ต ตัวหนาถือวามีเสียงสระอะตามหลัง เมื่อมี ตฺ ตามมา จึงอานวา ตัต
พยัญชนะมีสองแบบคือ พยัญชนะเดียว เชน ก ข ค ง และพยัญชนะประสม ในกรณีที่
พยัญชนะนั้นไมมีเสียงสระตามมา แตมีพยัญชนะอื่นตาม เชน รตฺน रत्न (ratna) กรณีนี้ ต त กับ น
न จะประสมเปนตัวพิเศษ ตฺน त्न (rt) ตัวพิเศษนั้น มักจะเขียนครึ่งตัว แตบางตัวก็มีวิธีเขียนเฉพาะ
โดยเฉพาะตัวที่ใชบอยๆ เชน ป प และ ร र เมื่อประสมกัน ปฺร प्र pra
ภาพที่ 1.1 อักษรเทวนาครี
ที่มา : ธวัชชัย ดุลยสุจริต. ออนไลน. 2560.
14
สระ
สระในระบบอักษรเทวนาครีนั้น มีลักษณะเฉพาะแบบเดียวกับอักษรอินเดียสวนใหญ นั่นคือ
มีสระสองชุด เปนสระลอย และสระจม สระลอย คือ สระที่อยูโดดเดี่ยวได โดยมีเสียงของตัวมันเอง
สวนสระจม เปนสระที่ตองประสมกับพยัญชนะอื่น สระจมของเทวนาครี มีทั้งที่เขียนดานหนา เชน อิ
เขียนดานหลัง เชน อา อี เขียนดานบน เชน เอ และเขียนดานลาง เชน อุ หรือ อู นอกจากนี้ยังมีแบบ
เขียนสองตําแหนง เชน ไอ โอ และเอา ที่เขียนทั้งบนและหลังพยัญชนะ แตรูปสระนั้นมีสองแบบ คือ
สระเมื่ออยูตนคํา จะเปนสระตัวเต็ม (เรียกวาสระลอย) กับสระที่ตามหลังพยัญชนะจะเปนครึ่งตัว
(เรียกวาสระจม) เชน อานนฺท ānanda (อักษรโรมัน ตัว ā จะใชตัวใหญก็ได เพราะเปนชื่อเฉพาะ)
“อา” ตรงนี้จะใชสระลอย, สวนสระ อะ ที่ตามหลัง น ตัวแรกนั้นใชสระจม ดังนี้ आनन्द (สระอะ
รูปจมนั้นไมปรากฏรูป) อาศีรฺวาท āśīrvāda อา ใชสระลอย, อี ใชสระจม आशीवार्द (शी= ศี)
1. สระลอยและสระจม
ตารางที่ 2.1 สระลอยและสระจม
สระลอย โรมัน / ไทย สระจม
अ อะ a प pa ป
आ อา ā पा pā ปา
इ อิ i �प pi ป
ई อี ī पी pī ป
उ อุ u पु pu ปุ
ऊ อู ū पू pū ปู
ऋ ฤ ṛ पृ pṛ ปฺฤ
ॠ ฤๅ ṝ पॄ pṝ ปฺฤๅ
ऌ ฦ ḷ पॢ pḷ ปฺฦ
ॡ ฦๅ ḹ पॣ pḹ ปฺฦๅ
ए เอ e पे pe เป
ऐ ไอ āi पै pāi ไป
ओ โอ o पो po โป
औ เอา āu पौ pāu เปา
ที่มา : ธวัชชัย ดุลยสุจริต. ออนไลน. 2560.
15
2. ฐานะเสียงของสระ
ตารางที่ 2.2 ฐานะเสียงของสระ
สระเดี่ยว เสียงสั้น เสียงยาว ฐานเสียง
. อะ अ a อา आ ā คอหอย (กณฺฺย)
. อิ इ i อี ई ī เพดาน (ตาลวฺย )
. อุ उ u อู ऊ ū ริมฝปาก (โอษฺฺย)
. ฤ ऋ ṛ ฤๅ ॠ ṝ ศีรษะ (มูรฺธนฺย)
. ฦ ऌ ḷ ฦๅ ॡ ḹ ฟน (ทนฺตฺย)
สระประสม . เอ ए e ไอ ऐ āi ฟน (ทนฺตฺย)
. . โอ ओ o เอา औ āu ริมฝปาก (โอษฺฺย)
ที่มา : ธวัชชัย ดุลยสุจริต. ออนไลน. 2560.
สระทุกตัวที่ประสมกับพยัญชนะ ไมวาจะเขียนขางหนา ขางบน ขางลาง หรือขางหลัง เชน
ते (เต, te สระเอ อยูขางบน)
यो (โย, yo สระโอ อยูขางหลัง)
�ह (หิ, hi สระอิ อยูขางหนา)
पू (ปู, pū สระอู อยูขางลาง)
สระ ที่มีแตเครื่องหมาย พิมพดวยแปนพิมพปกติไมได (เหมือนกับการเขียนสระอิ อี
อุ อู ของภาษาไทย ไมสามารถพิมพลอยๆ ได) ในที่นี้จึงใช ก เปนแบบ ดังนี้. พยัญชนะเปลาๆ ไมมี
เครื่องหมายอะไร จะออกเสียง อะ. เชน ก ออกเสียงวา กะ.
ตารางที่ 2.3 วิธีอักษรผสมสระ
क का �क क� कु कू कृ कॄ कॢ कॣ
ก กา กิ กี กุ กู กฺฤ กฺฤๅ กฺฦ กฺฦๅ
के को कै कौ कं कः* क्**
เก โก ไก เกา กํ กะ กฺ
16
* เครื่องหมาย ะ หมายถึงออกเสียงลมหายใจซ้ําตามมา (กะ ออกเสียงเปน กะฮะ)
** เครื่องหมายขางใต क เรียกวา วิราม ใสไวเมื่อพยัญชนะนั้นไมมีเสียงสระตามมา
ดังนั้นใหพิจารณาเสียงเปนสําคัญ อยาถือตําแหนง มิฉะนั้นอาจจะสับสนวาพยัญชนะประสม
สระใด (ใหดูอักษรโรมัน จะชัดเจนมาก เพราะสระที่ประสมกับพยัญชนะ จะตามหลังพยัญชนะเสมอ)

More Related Content

What's hot

กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)
ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)
ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)Siriya Khaosri
 
สัทสระ pinyin
สัทสระ pinyinสัทสระ pinyin
สัทสระ pinyinnammatoom
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย rattasath
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่Piyarerk Bunkoson
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
 

What's hot (20)

กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑ บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
วิชา สัมพันธ์ไทย
วิชา สัมพันธ์ไทยวิชา สัมพันธ์ไทย
วิชา สัมพันธ์ไทย
 
ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)
ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)
ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)
 
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์
 
สัทสระ pinyin
สัทสระ pinyinสัทสระ pinyin
สัทสระ pinyin
 
Pinyin
PinyinPinyin
Pinyin
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
04
0404
04
 
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติหลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิตบาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
Upenthrawichianchan
UpenthrawichianchanUpenthrawichianchan
Upenthrawichianchan
 

Similar to 03

ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยwisita42
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์Prasit Koeiklang
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 

Similar to 03 (20)

Th 2014-01-01
Th 2014-01-01Th 2014-01-01
Th 2014-01-01
 
Satthatharachan
SatthatharachanSatthatharachan
Satthatharachan
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 

More from manit akkhachat (20)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Buddhist studies
Buddhist studiesBuddhist studies
Buddhist studies
 
Test001
Test001Test001
Test001
 
610801 lesson 1
610801 lesson 1610801 lesson 1
610801 lesson 1
 
05
0505
05
 
02
0202
02
 
01
0101
01
 
Nrru 006
Nrru 006Nrru 006
Nrru 006
 
Nrru 005
Nrru 005Nrru 005
Nrru 005
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Lesson 4 christianity
Lesson 4 christianityLesson 4 christianity
Lesson 4 christianity
 
Lesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhismLesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhism
 
Lesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunismLesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunism
 

03

  • 1. บทที่ 2 อักษรเทวนาครี อักษรเทวนาครีนั้น ใชหลักการเดียวกับอักษรไทย กลาวคือ มีพยัญชนะ สระ แยกกัน พยัญชนะ ตั้งแต ก ถึง ห หรือ ฬ (แลวแตภาษาที่ใช) โดยเขียนจากซายไปขวา หนวยยอยที่สุดของ การเขียนคือหนวยพยางค อักษรตัวเดียวถือวาไมมีเสียง (แตโดยอนุโลมถือวา มีเสียงสระอะอยูดวย เชน ก ออกเสียงวา กะ) แตหากไมตองการใหออกเสียงสระตามหลังพยัญชนะนั้น ก็จะมีเครื่องหมาย กํากับไว เชน वमर्न ् วรฺมนฺ varman เครื่องหมายขางใตตัว นฺ न เรียกวา วิรามะ หรือเรียกแบบไทยๆ วา วิราม ก็ได (ถาเปนอักษรโรมัน ไมมีปญหา ไมมีสระ ก็ไมมีสระ) तत ् ตตฺ tat (ออกเสียงวา ตัต) อักษร ต ตัวหนาถือวามีเสียงสระอะตามหลัง เมื่อมี ตฺ ตามมา จึงอานวา ตัต พยัญชนะมีสองแบบคือ พยัญชนะเดียว เชน ก ข ค ง และพยัญชนะประสม ในกรณีที่ พยัญชนะนั้นไมมีเสียงสระตามมา แตมีพยัญชนะอื่นตาม เชน รตฺน रत्न (ratna) กรณีนี้ ต त กับ น न จะประสมเปนตัวพิเศษ ตฺน त्न (rt) ตัวพิเศษนั้น มักจะเขียนครึ่งตัว แตบางตัวก็มีวิธีเขียนเฉพาะ โดยเฉพาะตัวที่ใชบอยๆ เชน ป प และ ร र เมื่อประสมกัน ปฺร प्र pra ภาพที่ 1.1 อักษรเทวนาครี ที่มา : ธวัชชัย ดุลยสุจริต. ออนไลน. 2560.
  • 2. 14 สระ สระในระบบอักษรเทวนาครีนั้น มีลักษณะเฉพาะแบบเดียวกับอักษรอินเดียสวนใหญ นั่นคือ มีสระสองชุด เปนสระลอย และสระจม สระลอย คือ สระที่อยูโดดเดี่ยวได โดยมีเสียงของตัวมันเอง สวนสระจม เปนสระที่ตองประสมกับพยัญชนะอื่น สระจมของเทวนาครี มีทั้งที่เขียนดานหนา เชน อิ เขียนดานหลัง เชน อา อี เขียนดานบน เชน เอ และเขียนดานลาง เชน อุ หรือ อู นอกจากนี้ยังมีแบบ เขียนสองตําแหนง เชน ไอ โอ และเอา ที่เขียนทั้งบนและหลังพยัญชนะ แตรูปสระนั้นมีสองแบบ คือ สระเมื่ออยูตนคํา จะเปนสระตัวเต็ม (เรียกวาสระลอย) กับสระที่ตามหลังพยัญชนะจะเปนครึ่งตัว (เรียกวาสระจม) เชน อานนฺท ānanda (อักษรโรมัน ตัว ā จะใชตัวใหญก็ได เพราะเปนชื่อเฉพาะ) “อา” ตรงนี้จะใชสระลอย, สวนสระ อะ ที่ตามหลัง น ตัวแรกนั้นใชสระจม ดังนี้ आनन्द (สระอะ รูปจมนั้นไมปรากฏรูป) อาศีรฺวาท āśīrvāda อา ใชสระลอย, อี ใชสระจม आशीवार्द (शी= ศี) 1. สระลอยและสระจม ตารางที่ 2.1 สระลอยและสระจม สระลอย โรมัน / ไทย สระจม अ อะ a प pa ป आ อา ā पा pā ปา इ อิ i �प pi ป ई อี ī पी pī ป उ อุ u पु pu ปุ ऊ อู ū पू pū ปู ऋ ฤ ṛ पृ pṛ ปฺฤ ॠ ฤๅ ṝ पॄ pṝ ปฺฤๅ ऌ ฦ ḷ पॢ pḷ ปฺฦ ॡ ฦๅ ḹ पॣ pḹ ปฺฦๅ ए เอ e पे pe เป ऐ ไอ āi पै pāi ไป ओ โอ o पो po โป औ เอา āu पौ pāu เปา ที่มา : ธวัชชัย ดุลยสุจริต. ออนไลน. 2560.
  • 3. 15 2. ฐานะเสียงของสระ ตารางที่ 2.2 ฐานะเสียงของสระ สระเดี่ยว เสียงสั้น เสียงยาว ฐานเสียง . อะ अ a อา आ ā คอหอย (กณฺฺย) . อิ इ i อี ई ī เพดาน (ตาลวฺย ) . อุ उ u อู ऊ ū ริมฝปาก (โอษฺฺย) . ฤ ऋ ṛ ฤๅ ॠ ṝ ศีรษะ (มูรฺธนฺย) . ฦ ऌ ḷ ฦๅ ॡ ḹ ฟน (ทนฺตฺย) สระประสม . เอ ए e ไอ ऐ āi ฟน (ทนฺตฺย) . . โอ ओ o เอา औ āu ริมฝปาก (โอษฺฺย) ที่มา : ธวัชชัย ดุลยสุจริต. ออนไลน. 2560. สระทุกตัวที่ประสมกับพยัญชนะ ไมวาจะเขียนขางหนา ขางบน ขางลาง หรือขางหลัง เชน ते (เต, te สระเอ อยูขางบน) यो (โย, yo สระโอ อยูขางหลัง) �ह (หิ, hi สระอิ อยูขางหนา) पू (ปู, pū สระอู อยูขางลาง) สระ ที่มีแตเครื่องหมาย พิมพดวยแปนพิมพปกติไมได (เหมือนกับการเขียนสระอิ อี อุ อู ของภาษาไทย ไมสามารถพิมพลอยๆ ได) ในที่นี้จึงใช ก เปนแบบ ดังนี้. พยัญชนะเปลาๆ ไมมี เครื่องหมายอะไร จะออกเสียง อะ. เชน ก ออกเสียงวา กะ. ตารางที่ 2.3 วิธีอักษรผสมสระ क का �क क� कु कू कृ कॄ कॢ कॣ ก กา กิ กี กุ กู กฺฤ กฺฤๅ กฺฦ กฺฦๅ के को कै कौ कं कः* क्** เก โก ไก เกา กํ กะ กฺ
  • 4. 16 * เครื่องหมาย ะ หมายถึงออกเสียงลมหายใจซ้ําตามมา (กะ ออกเสียงเปน กะฮะ) ** เครื่องหมายขางใต क เรียกวา วิราม ใสไวเมื่อพยัญชนะนั้นไมมีเสียงสระตามมา ดังนั้นใหพิจารณาเสียงเปนสําคัญ อยาถือตําแหนง มิฉะนั้นอาจจะสับสนวาพยัญชนะประสม สระใด (ใหดูอักษรโรมัน จะชัดเจนมาก เพราะสระที่ประสมกับพยัญชนะ จะตามหลังพยัญชนะเสมอ)