SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
พยัญชนะ
พยัญชนะในภาษาสันสกฤตแบงไดเปน 2 กลุม คือ พยัญชนะในวรรค (แบงตามตําแหนงเกิด
เสียง) และพยัญชนะนอกวรรค (ตําแหนงเกิดเสียงไมอาจระบุไดชัดเจนอยางกลุมแรก) รวมทั้งหมด
25+9 = 34 เสียง พยัญชนะในวรรค แบงไดเปน 5 วรรค ก็คือ ก क, จ च, ฏ ट, ต त, ป प, รวม
ทั้งหมดเปน 25 เสียง และจะมีพยัญชนะนอกวรรคหรือเรียกอีกอยางวา “อวรรค” อีกจํานวน 9 เสียง
ซึ่งประกอบไปดวยกลุมพยัญชนะนออกวรรคดังนี้ ย य, ร र, ล ल, ว व, ศ श, ส स, ษ ष, ฬ ळ, ห ह
รวมทั้งหมดเปน 34 เสียง
ตารางที่ 2.4 พยัญชนะในวรรค
เสียงไมกอง
ลมนอย
เสียงไมกอง
ลมมาก
เสียงกอง
ลมนอย
เสียงกอง
ลมมาก
นาสิก
(จมูก)
ฐานเสียง
ก क k ข ख kh ค ग g ฆ घ gha ง ङ ṅ คอ (กณฺฺย)
จ च c ฉ छ ch ช ज j ฌ झ jh ญ ञ ñ เพดาน (ตาลวฺย)
ฏ ट ṭ ฐ ठ ṭh ฑ ड ḍ ฒ ढ ḍh ณ ण ṇ ศีรษะ (มูรฺธนฺย)
ต त t ถ थ th ท द d ธ ध dh น न n ฟน (ทนฺตฺย)
ป प p ผ फ ph พ ब b ภभ bh ม म m ริมฝปาก(โอษฺฺย)
ที่มา : ธวัชชัย ดุลยสุจริต. ออนไลน. 2560.
ตารางที่ 2.5 พยัญชนะนออกวรรค
เสียงกอง เสียงไมกอง ฐานเสียง
ย य y ศ श ś เพดาน (ตาลวฺย )
ร र r ษ ष ṣ ศีรษะ (มูรฺธนฺย)
ล ल l ฬ ळ ḷ ส स s ฟน (ทนฺตฺย)
ว व v . ริมฝปาก (โอษฺฺย)
ห ह h . .
เสียงพยัญชนะอาจแบงเปน 2 พวกหลักๆ คือ เสียงกอง และเสียงไมกอง นอกจากนี้ยังแบง
ตามฐานเสียง หรือวรรค (ก จ ฏ ต ป) แบบนี้ก็ได พยัญชนะตัวสุดทายของแตละวรรค คือนาสิก เปน
เสียงกอง พยัญชนะนอกวรรค (ย... ห) เปนเสียงกองทั้งหมด ยกเวน ศ ษ ส
1. เครื่องหมายกํากับเสียง
18
ภาษาสันสกฤตมีเครื่องหมายหลายชนิดซึ่งมีชื่อและหนาที่แตกตางกันไป ในเบื้องตนนี้ควร
รูจักเครื่องหมายที่พบบอยในการเรียนสันสกฤต ไดแก
1.1 วิสรฺค (วิสรรคะ �वसगर्หรือ วิสรรชนีย �वसजर्नीय) : ะ ḥ เสียงหลังเสียงสระอื่น
เพื่อเพิ่มเสียงลมหายใจ ใชแทนเสียงลมหายใจแรงที่พนออกมา มักจะเปนสวนทายของคํา เมื่อ
ถายทอดเปนภาษาไทยจะใชวิสรรชนีย (ะ) เชน
ตารางที่ 2.6 วิสรรคะ
เทวนาครี โรมัน ไทย
जनः janaḥ ชนะ
राजाः rajāḥ ราชาะ
अिग्नः agniḥ อคฺนิะ
1.2 อนุสฺวาร (อนุสวาระ अनुस्वारหรือพินฺทุ �बन्दु) เปนจุดเขียนไวเหนืออักษร เชน สํ
(อานวา สัม) นํา (น สระอา แลวมีอนุสวาร อานวา นาม) ใชแทนเสียงอนุนาสิกหรือเสียงขึ้นจมูก มี
ลักษณะเปนวงกลมเล็กๆ อยูเหนือพยัญชนะเชนเดียวกับภาษาไทย เชน
ตารางที่ 2.7 อนุสวาระ
เทวนาครี โรมัน ไทย
अस्तंगमन asṫkamana อสฺตํคมน
संस्कृ त saṁskṛta สํสฺกฤต
1.3 วิราม ( ◌् ) พยัญชนะเมื่อไมมีสระอาศัยจะตองมีวิรามกํากับเสมอ วิรามทําหนาที่หาม
เสียง นอกจากนี้ยังใชเปนตัวสะกดไดดวย โดยเติมดานลางพยัญชนะที่ตองการทําใหเปนตัวสะกด เมื่อ
ถายทอดเปนภาษาไทยจะมีลักษณะเปนจุด (พินทุ)ใตพยัญชนะ ตัวอยางเชน
ตารางที่ 2.8 วิราม
เทวนาครี โรมัน ไทย
क् च ् ट् K c ṭ ก จ ฏ
मा�नत्य ् mānitya มานิตฺย
1.4 อวครหะ (S) หรือ อวเคราะห ใชแทนสระ “อะ” ที่ถูกลบไปในการสนธิ เมื่อถายทอด
เปนภาษาไทยมักจะใสเครื่องหมายจุลภาค ( ’ ) เพื่อใหรูวามีการสนธิ เชน
ตารางที่ 2.9 อวครหะ
19
เทวนาครี โรมัน ไทย
कोS�प kae=ip ko’pi โก’ป
2. พยัญชนะครึ่งตัว
3. พยัญชนะซอน
เมื่อเราเรียนรูวิธีการเขียนพยัญชนะเดี่ยวๆ และการประสมสระแลว ก็จะตองมารูจัก
พยัญชนะซอนกัน พยัญชนะซอน หรือ สังโยค संयोग หรือ สังยุกต संयुक्त หมายถึง สัญลักษณแทน
เสียงพยัญชนะหลายเสียงเรียงตามกัน โดยไมมีสระคั่นกลาง เชน ในคําวา ตฺวา มีพยัญชนะซอนกัน 2
ตัว ตฺ และ ว. พยัญชนะ ต ไมมีเสียงสระตามมา จึงใสจุดไว แตในการเขียนเทวนาครี จะมีวิธีการเขียน
พยัญชนะแบบนี้ त्वा เพื่อใหทราบวาไมมีสระที่ ต. นั่นคือ เขียน ต เพียงครึ่งตัว สวน ว นั้นเขียนเต็ม
ตัว. ลองดูอีกสักตัวอยาง สํสฺกฺฤต คํานี้ สฺ และ กฺ ซอนกัน เมื่อเขียนเทวนาครี ส จะเหลือครึ่งตัว สวน
ก เขียนตามปกติ อยางนี้ संस्कृ त
วิธีการซอนตัวเพื่อบอกวาตัวขางหนาไมมีสระนั้น ใชกันมาตั้งแตอักษรพราหมี ตนตระกูล
ของอักษรอินเดียเลยทีเดียว ปลลวะ ขอม ก็ใชกันแบบนี้ เสียอักษรไทยเราไมใช (ดูเหมือนวาอักษรไทย
พอขุนรามใชวิธีเขียนตัวชิดกันเพื่อบอกคําควบกล้ํา) ทั้งนี้ก็เพราะกติกาของการเขียนอักษรเหลานี้มีวา
พยัญชนะเดี่ยวๆ ถือวามีสระอะอยูดวย เชน นคร (อานวา นะคะระ) หากไมเอาสระอะ ก็ตองหาวิธี
อีกวิธีการหนึ่งที่ทําใหทราบวาไมมีเสียงสระตามหลังพยัญชนะ ก็คือใสเครื่องหมายวิรามใต
ตัวพยัญชนะ ดังนี้ त ् เทียบกับอักษรไทยคือ ตฺ นั่นเอง แตคําสันสกฤตนั้นมีเสียงพยัญชนะควบหรือ
ซอนเปนจํานวนมาก หากใสวิรามไปเสียหมดก็คงจะรกรุงรัง อานลําบาก แถมยังไปเกะกะสระอีก จึง
ใชวิรามเฉพาะพยัญชนะสุดทายของคํา หรือพยัญชนะที่ไมมีรูปซอนจริงๆ
20
สําหรับอักษรโรมันนั้นสะดวกกวา เพราะพยัญชนะเดี่ยวๆ ของเขาไมมีคาสระอยูดวย เชน
n ออกเสียงไมได บอกไดแควาเปนอักษรเอ็น แต no มีสระมาประสม จึงออกเสียงไดเปน โน
พยัญชนะเมื่อประสมกันแลวจะมีการเปลี่ยนแปลงรูป พยัญชนะบางตัวยังคงเคาเดิมไวบาง
กลาวคือพยัญชนะตัวหนาจะลดรูปเปนพยัญชนะครึ่งตัว สวนตัวหลังเขียนเต็มตัว พยัญชนะบางตัวไม
คงเคาเดิมไวเลย ซึ่งเปนสิ่งที่นักศึกษาหรือคนเรียนจะตองใสใจเปนพิเศษ ตอไปนี้คือตัวอยางพยัญชนะ
ซอนบางตัวที่พบบอยเทานั้น
ตารางที่ 2.10 พยัญชนะประสม
พยัญชนะ สําเร็จเปน พยัญชนะ สําเร็จเปน
กฺต ก + ต � ศฺจ ศ + จ �
กฺร ก + ร क्र ศฺน ศ + น �
กฺษ ก + ษ � ศฺร ศ + ร श्र
คฺร ค + ร ग्र ศฺล ศ + ล �
ชฺญ ช + ญ � ศฺว ศ + ว �
ตฺต ต + ต � ษฺฏ ษ + ฏ �
ตฺน ต + น � ษฺฐ ษ + ฐ �
ตฺร ต + ร त्र สฺร ส + ร स्र
ทฺท ท + ท � หฺณ ห + ณ �
ทฺธ ท + ธ � หฺน ห + น �
ทฺม ท + ม � หฺม ห + ม �
ทฺย ท + ย � หฺย ห + ย �
ทฺร ท + ร द्र หฺร ห + ร ह्र
ทฺว ท + ว � หฺว ห + ว �

More Related Content

What's hot (7)

คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
 
T4
T4T4
T4
 
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
 
Th 2014-01-01
Th 2014-01-01Th 2014-01-01
Th 2014-01-01
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 

Similar to 04

สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
wisita42
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
Warissa'nan Wrs
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
Wataustin Austin
 
บาลี 01 80
บาลี 01 80บาลี 01 80
บาลี 01 80
Rose Banioki
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
vp12052499
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
Tongsamut vorasan
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
Tongsamut vorasan
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
Wataustin Austin
 
บาลี 14 80
บาลี 14 80บาลี 14 80
บาลี 14 80
Rose Banioki
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran Jarurnphong
 

Similar to 04 (20)

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
บาลี 01 80
บาลี 01 80บาลี 01 80
บาลี 01 80
 
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลีประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
บาลี 14 80
บาลี 14 80บาลี 14 80
บาลี 14 80
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 

More from manit akkhachat (20)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Buddhist studies
Buddhist studiesBuddhist studies
Buddhist studies
 
Test001
Test001Test001
Test001
 
610801 lesson 1
610801 lesson 1610801 lesson 1
610801 lesson 1
 
05
0505
05
 
02
0202
02
 
01
0101
01
 
Nrru 006
Nrru 006Nrru 006
Nrru 006
 
Nrru 005
Nrru 005Nrru 005
Nrru 005
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Lesson 4 christianity
Lesson 4 christianityLesson 4 christianity
Lesson 4 christianity
 
Lesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhismLesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhism
 
Lesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunismLesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunism
 

04

  • 1. พยัญชนะ พยัญชนะในภาษาสันสกฤตแบงไดเปน 2 กลุม คือ พยัญชนะในวรรค (แบงตามตําแหนงเกิด เสียง) และพยัญชนะนอกวรรค (ตําแหนงเกิดเสียงไมอาจระบุไดชัดเจนอยางกลุมแรก) รวมทั้งหมด 25+9 = 34 เสียง พยัญชนะในวรรค แบงไดเปน 5 วรรค ก็คือ ก क, จ च, ฏ ट, ต त, ป प, รวม ทั้งหมดเปน 25 เสียง และจะมีพยัญชนะนอกวรรคหรือเรียกอีกอยางวา “อวรรค” อีกจํานวน 9 เสียง ซึ่งประกอบไปดวยกลุมพยัญชนะนออกวรรคดังนี้ ย य, ร र, ล ल, ว व, ศ श, ส स, ษ ष, ฬ ळ, ห ह รวมทั้งหมดเปน 34 เสียง ตารางที่ 2.4 พยัญชนะในวรรค เสียงไมกอง ลมนอย เสียงไมกอง ลมมาก เสียงกอง ลมนอย เสียงกอง ลมมาก นาสิก (จมูก) ฐานเสียง ก क k ข ख kh ค ग g ฆ घ gha ง ङ ṅ คอ (กณฺฺย) จ च c ฉ छ ch ช ज j ฌ झ jh ญ ञ ñ เพดาน (ตาลวฺย) ฏ ट ṭ ฐ ठ ṭh ฑ ड ḍ ฒ ढ ḍh ณ ण ṇ ศีรษะ (มูรฺธนฺย) ต त t ถ थ th ท द d ธ ध dh น न n ฟน (ทนฺตฺย) ป प p ผ फ ph พ ब b ภभ bh ม म m ริมฝปาก(โอษฺฺย) ที่มา : ธวัชชัย ดุลยสุจริต. ออนไลน. 2560. ตารางที่ 2.5 พยัญชนะนออกวรรค เสียงกอง เสียงไมกอง ฐานเสียง ย य y ศ श ś เพดาน (ตาลวฺย ) ร र r ษ ष ṣ ศีรษะ (มูรฺธนฺย) ล ल l ฬ ळ ḷ ส स s ฟน (ทนฺตฺย) ว व v . ริมฝปาก (โอษฺฺย) ห ह h . . เสียงพยัญชนะอาจแบงเปน 2 พวกหลักๆ คือ เสียงกอง และเสียงไมกอง นอกจากนี้ยังแบง ตามฐานเสียง หรือวรรค (ก จ ฏ ต ป) แบบนี้ก็ได พยัญชนะตัวสุดทายของแตละวรรค คือนาสิก เปน เสียงกอง พยัญชนะนอกวรรค (ย... ห) เปนเสียงกองทั้งหมด ยกเวน ศ ษ ส 1. เครื่องหมายกํากับเสียง
  • 2. 18 ภาษาสันสกฤตมีเครื่องหมายหลายชนิดซึ่งมีชื่อและหนาที่แตกตางกันไป ในเบื้องตนนี้ควร รูจักเครื่องหมายที่พบบอยในการเรียนสันสกฤต ไดแก 1.1 วิสรฺค (วิสรรคะ �वसगर्หรือ วิสรรชนีย �वसजर्नीय) : ะ ḥ เสียงหลังเสียงสระอื่น เพื่อเพิ่มเสียงลมหายใจ ใชแทนเสียงลมหายใจแรงที่พนออกมา มักจะเปนสวนทายของคํา เมื่อ ถายทอดเปนภาษาไทยจะใชวิสรรชนีย (ะ) เชน ตารางที่ 2.6 วิสรรคะ เทวนาครี โรมัน ไทย जनः janaḥ ชนะ राजाः rajāḥ ราชาะ अिग्नः agniḥ อคฺนิะ 1.2 อนุสฺวาร (อนุสวาระ अनुस्वारหรือพินฺทุ �बन्दु) เปนจุดเขียนไวเหนืออักษร เชน สํ (อานวา สัม) นํา (น สระอา แลวมีอนุสวาร อานวา นาม) ใชแทนเสียงอนุนาสิกหรือเสียงขึ้นจมูก มี ลักษณะเปนวงกลมเล็กๆ อยูเหนือพยัญชนะเชนเดียวกับภาษาไทย เชน ตารางที่ 2.7 อนุสวาระ เทวนาครี โรมัน ไทย अस्तंगमन asṫkamana อสฺตํคมน संस्कृ त saṁskṛta สํสฺกฤต 1.3 วิราม ( ◌् ) พยัญชนะเมื่อไมมีสระอาศัยจะตองมีวิรามกํากับเสมอ วิรามทําหนาที่หาม เสียง นอกจากนี้ยังใชเปนตัวสะกดไดดวย โดยเติมดานลางพยัญชนะที่ตองการทําใหเปนตัวสะกด เมื่อ ถายทอดเปนภาษาไทยจะมีลักษณะเปนจุด (พินทุ)ใตพยัญชนะ ตัวอยางเชน ตารางที่ 2.8 วิราม เทวนาครี โรมัน ไทย क् च ् ट् K c ṭ ก จ ฏ मा�नत्य ् mānitya มานิตฺย 1.4 อวครหะ (S) หรือ อวเคราะห ใชแทนสระ “อะ” ที่ถูกลบไปในการสนธิ เมื่อถายทอด เปนภาษาไทยมักจะใสเครื่องหมายจุลภาค ( ’ ) เพื่อใหรูวามีการสนธิ เชน ตารางที่ 2.9 อวครหะ
  • 3. 19 เทวนาครี โรมัน ไทย कोS�प kae=ip ko’pi โก’ป 2. พยัญชนะครึ่งตัว 3. พยัญชนะซอน เมื่อเราเรียนรูวิธีการเขียนพยัญชนะเดี่ยวๆ และการประสมสระแลว ก็จะตองมารูจัก พยัญชนะซอนกัน พยัญชนะซอน หรือ สังโยค संयोग หรือ สังยุกต संयुक्त หมายถึง สัญลักษณแทน เสียงพยัญชนะหลายเสียงเรียงตามกัน โดยไมมีสระคั่นกลาง เชน ในคําวา ตฺวา มีพยัญชนะซอนกัน 2 ตัว ตฺ และ ว. พยัญชนะ ต ไมมีเสียงสระตามมา จึงใสจุดไว แตในการเขียนเทวนาครี จะมีวิธีการเขียน พยัญชนะแบบนี้ त्वा เพื่อใหทราบวาไมมีสระที่ ต. นั่นคือ เขียน ต เพียงครึ่งตัว สวน ว นั้นเขียนเต็ม ตัว. ลองดูอีกสักตัวอยาง สํสฺกฺฤต คํานี้ สฺ และ กฺ ซอนกัน เมื่อเขียนเทวนาครี ส จะเหลือครึ่งตัว สวน ก เขียนตามปกติ อยางนี้ संस्कृ त วิธีการซอนตัวเพื่อบอกวาตัวขางหนาไมมีสระนั้น ใชกันมาตั้งแตอักษรพราหมี ตนตระกูล ของอักษรอินเดียเลยทีเดียว ปลลวะ ขอม ก็ใชกันแบบนี้ เสียอักษรไทยเราไมใช (ดูเหมือนวาอักษรไทย พอขุนรามใชวิธีเขียนตัวชิดกันเพื่อบอกคําควบกล้ํา) ทั้งนี้ก็เพราะกติกาของการเขียนอักษรเหลานี้มีวา พยัญชนะเดี่ยวๆ ถือวามีสระอะอยูดวย เชน นคร (อานวา นะคะระ) หากไมเอาสระอะ ก็ตองหาวิธี อีกวิธีการหนึ่งที่ทําใหทราบวาไมมีเสียงสระตามหลังพยัญชนะ ก็คือใสเครื่องหมายวิรามใต ตัวพยัญชนะ ดังนี้ त ् เทียบกับอักษรไทยคือ ตฺ นั่นเอง แตคําสันสกฤตนั้นมีเสียงพยัญชนะควบหรือ ซอนเปนจํานวนมาก หากใสวิรามไปเสียหมดก็คงจะรกรุงรัง อานลําบาก แถมยังไปเกะกะสระอีก จึง ใชวิรามเฉพาะพยัญชนะสุดทายของคํา หรือพยัญชนะที่ไมมีรูปซอนจริงๆ
  • 4. 20 สําหรับอักษรโรมันนั้นสะดวกกวา เพราะพยัญชนะเดี่ยวๆ ของเขาไมมีคาสระอยูดวย เชน n ออกเสียงไมได บอกไดแควาเปนอักษรเอ็น แต no มีสระมาประสม จึงออกเสียงไดเปน โน พยัญชนะเมื่อประสมกันแลวจะมีการเปลี่ยนแปลงรูป พยัญชนะบางตัวยังคงเคาเดิมไวบาง กลาวคือพยัญชนะตัวหนาจะลดรูปเปนพยัญชนะครึ่งตัว สวนตัวหลังเขียนเต็มตัว พยัญชนะบางตัวไม คงเคาเดิมไวเลย ซึ่งเปนสิ่งที่นักศึกษาหรือคนเรียนจะตองใสใจเปนพิเศษ ตอไปนี้คือตัวอยางพยัญชนะ ซอนบางตัวที่พบบอยเทานั้น ตารางที่ 2.10 พยัญชนะประสม พยัญชนะ สําเร็จเปน พยัญชนะ สําเร็จเปน กฺต ก + ต � ศฺจ ศ + จ � กฺร ก + ร क्र ศฺน ศ + น � กฺษ ก + ษ � ศฺร ศ + ร श्र คฺร ค + ร ग्र ศฺล ศ + ล � ชฺญ ช + ญ � ศฺว ศ + ว � ตฺต ต + ต � ษฺฏ ษ + ฏ � ตฺน ต + น � ษฺฐ ษ + ฐ � ตฺร ต + ร त्र สฺร ส + ร स्र ทฺท ท + ท � หฺณ ห + ณ � ทฺธ ท + ธ � หฺน ห + น � ทฺม ท + ม � หฺม ห + ม � ทฺย ท + ย � หฺย ห + ย � ทฺร ท + ร द्र หฺร ห + ร ह्र ทฺว ท + ว � หฺว ห + ว �