SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
วิชาพระพุทธศาสนาในโลก
ปัจจุบัน
บทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
พระพุทธศาสนาใน
อาเซียน
ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้แก่
ประเทศไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย
รวมทั้งประเทศที่เป็นเกาะในทะเล ได้แก่ ฟิลิปปินส์
สิงคโปร์ อินโดนีเซีย บรูไนและติมอร์ตะวันออก
ประเทศที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธใน
ปัจจุบันคือ ไทย เวียดนาม ลาว กัมพูชา พม่า และ
สิงคโปร์ ส่วนประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซียและ
บรูไน จะนับถือศาสนาอิสลามเป็นหลัก ประเทศ
ฟิลิปปินส์และติมอร์ตะวันออก ประชากรส่วนใหญ่
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ไทยใน
สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชประมาณ
ปี พ.ศ.๒๓๖ โดยพระโสณเถระและ
พระอุตตรเถระเป็นผู้นามาเผยแผ่ยัง
สุวรรณภูมิ ซึ่งในขณะนั้นอาณาจักร
ไทยรวมอยู่ในดินแดนสุวรรณภูมิด้วย
ปัจจุบันยังชี้
ชัดไม่ได้ว่าสุวรรณภูมิอยู่ตรงไหน
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
อาณาจักรทวารวดี
อาณาจักรทวารวดี หลักจากที่บรรพบุรุษ
ของไทยได้รับพระพุทธศาสนาเถรวาทมา
ตั้งแต่ยุคของพระเจ้าอโศกมหาราชแล้ว ก็ได้
รักษาสืบทอดกันเรื่อยมาจนกระทั่งถึงยุคของ
อาณาจักรทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่
๑๑ - ๑๓ ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่
จังหวัดนครปฐมในปัจจุบัน ใน
ยุคนี้พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง พบ
โบราณวัตถุและโบราณสถานต่างๆ มากมาย
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรที่อยู่
ในช่วงเดียวกันกับทวารว ดีคือ
อาณาจักรศรีวิชัย ประมาณพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๙ ซึ่งมีอาณา
บริเวณกว้างครอบคลุมปลายแหลม
มลายูและเกาะชวา ยังไม่พบหลักฐาน
ระบุได้ ชัดเจนว่าศูนย์กลางของ
อาณาจักรนี้อยู่ที่ใด ท่านพุทธทาสมี
ความเห็นว่า เมืองหลวงของศรีวิชัยอยู่
ที่ไชยา สุราษฎร์ธานี
อาณาจักรศรีวิชัย
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
อาณาจักรลพบุรี ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๕ -
๑๖ ราชวงศ์สุริยวรมันแห่งกัมพูชาเจริญรุ่งเรือง ได้แผ่
อาณาจักรครอบคลุมมายังลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาและลุ่ม
น้ามูล ได้มีชัยชนะเหนืออาณาจักรทวารวดีและตั้งราช
ธานีเพื่ออานวยการปกครองขึ้นในเมืองต่างๆ เช่น เมือง
ลพบุรี สุโขทัย ศรีเทพ (เพชรบูรณ์) พิมาย และ
สกลนคร ในเมืองต่างๆ เหล่านี้ลพบุรีหรือละโว้เป็น
เมืองสาคัญที่สุด ลพบุรีได้รับเอาพระพุทธศาสนา
มหายานจากกัมพูชามาผสมผสานกับเถรวาทดั้งเดิมที่
สืบต่อมาตั้งแต่สมัยทวารวดี ในสมัยนี้มีการสร้าง
ศาสนสถานมากมาย เช่น พระปรางค์สาม
ย อ ด ป ร า ส า ท หิน พิม า ย แ ล ะ
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
อาณาจักรสุโขทัย ประมาณปี พ.ศ.
๑๘๐๐ หัวหน้าคนไทยกลุ่มหนึ่ง คือ พ่อขุนบาง
กลางหาว ได้ประกาศอิสรภาพขับไล่พวกขอม
หรือกัมพูชาออกไป แล้วตั้งราชธานีขึ้นที่กรุง
สุโขทัย และได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นกษัตริย์
ทรงพระนามว่า พ่อขุนศรีอินทรา
ทิตย์ เป็นปฐมกษัตริย์ของสยามประเทศ
ทางด้านศาสนานั้นยุคนี้มีทั้งศาสนาพราหมณ์
พระพุทธศาสนามหายานและเถรวาท ซึ่งตก
ทอดมาจากอดีต แต่พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ทรง
เคารพนับถือนิกายเถรวาทมากที่สุด
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
อาณาจักรอยุธยา พระเจ้าอู่ทองทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี พ.ศ.
๑๘๙๓ ซึ่งขณะนั้นอาณาจักรสุโขทัยเริ่มเสื่อมอานาจลงและในที่สุดได้เป็นเมืองขึ้นของ
อยุธยาในปีพ.ศ.๑๙๒๑ กรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองยาวนานถึง ๔๑๗ ปี
มีกษัตริย์ปกครองสืบต่อกันมาถึง ๓๓ พระองค์ อยุธยาเป็นเมืองที่อุดม
สมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร ดังคากล่าวว่า "ในน้ามีปลา ในนามีข้าว" ทั่วทั้งจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา มีวัดวาอาราม ปราสาท พระราชวัง ปูชนียสถาน และปูชนียวัตถุมากมาย
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
ประเทศพม่ามีชื่อเป็นทางการว่า สหภาพพม่า (Union of
Myanmar) มีเมืองหลวงชื่อเนปี ดอ เมืองใหญ่สุดคือ ย่างกุ้ง
ปกครองด้วยรัฐบาลทหาร มีประชากรประมาณ ๖๐,๒๘๙,๐๐๐ คน
(พ.ศ. ๒๕๕๘) นับถือศาสนาพุทธ ๙๐% นับถือศาสนาคริสต์ ๔%
ศาสนาอิสลาม ๓% ศาสนาฮินดู ๐.๗% นับถือผีไสยศาสตร์ ๒.๓%
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
ในพุทธศตวรรษที่ ๒๔ อังกฤษทาสงครามกับพม่าและได้ชัย
ชนะ จากนั้นพยายามตักตวงทรัพยากรต่างๆ โดยที่กษัตริย์พม่า
ไม่อาจจะแก้ปัญหาได้ พระเจ้ามินดงจึงก่อการปฏิวัติยึดอานาจ
จากพระเจ้าปะกันในปี พ.ศ.๒๓๙๖ ในสมัยพระองค์มีการ
สังคายนาพระไตรปิฎกนิกายเถรวาทครั้งที่ ๕ ขึ้น ณ เมือง
มัณฑะเลย์ในปี พ.ศ.๒๔๑๔ ได้จารึกพระไตรปิ ฎก
ลงในหินอ่อน ๗๒๙ แผ่น โดยได้รับการสนับสนุน
จากคณะสงฆ์หลายชาติ คือ ศรีลังกา ไทย กัมพูชา และลาว
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
พระพุทธศาสนาในประเทศลาว
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
ประเทศลาวมีชื่อเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว (Lao Peoples Democratic
Republic) ปัจจุบันปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ มีเมือง
หลวงชื่อเวียงจันทน์และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุด มีประชากรประมาณ
๕,๙๒๔,๐๐๐ คน (พ.ศ. ๒๕๕๘) โดยนับถือพระพุทธศาสนาเถรวาท
๗๕% นับถือศาสนาคริสต์ ๑.๗% นับถือภูตผี (Animism)
และอื่นๆ ๒๒.๓ ดินแดนลาวมีมนุษย์เข้ามาอาศัยอยู่เป็นเวลาช้านาน
แล้ว แต่ประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนเพิ่งปรากฏขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่
๑๙ ในนามของอาณาจักรล้านช้าง สถาปนาขึ้นโดยพระยาฟ้างุ้ม เมื่อปี
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
พระพุทธศาสนาในยุคของพระเจ้าไชย
เชษฐาธิราชมีความเจริญสูงสุด ทรงสร้าง
วัดสาคัญมากมาย เฉพาะในกาแพงเมืองมี
วัดอยู่ประมาณ ๑๒๐ วัด ทรงสร้างวัดพระ
แก้วขึ้นเพื่อประดิษฐานพระแก้วมรกต ซึ่ง
อัญเชิญมาจากเมืองเชียงใหม่ ยุคนี้
ราชอาณาจักรไทยก็มีความสัมพันธ์กับลาว
อย่างแน่นแฟ้นเพราะได้ร่วมมือกันต่อสู้กับ
พม่า มีการสร้างเจดีย์พระธาตุศรีสองรัก ขึ้น
ในอาเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย เพื่อเป็น
อนุสรณ์แห่งความเป็นพี่เป็นน้องกัน
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานของวัฒนธรรมประเพณี ความคิด ความ
เชื่อของประชาชนลาว ประเพณีทาบุญธาตุหลวง เป็นประเพณีประจา
ชาติที่เชิดหน้าชูตาของประเทศ นอกจากนี้ยังมีศิลปกรรม ประติมากรรม
สถาปัตยกรรมทางพุทธศาสนามากมาย พระพุทธศาสนายังมีบทบาทใน
การสงเคราะห์ประชาชนในด้านต่างๆ เช่น พระสงฆ์เป็นที่พึ่งของชุมชน
ในด้านให้คาปรึกษา สงเคราะห์ปัจจัยสี่แก่ประชาชน วัดได้เป็น
ศูนย์กลางการพบปะของชาวบ้าน เป็นต้น ในปัจจุบันลาวอยู่ในภาวะ
สงบ พระพุทธศาสนาก็ได้รับการอุปถัมภ์จากรัฐเป็นอย่างดี มีการก่อตั้ง
สถาบันการศึกษาสงฆ์ขึ้น เช่น วิทยาลัยสงฆ์ประจากรุงเวียงจันทน์ เป็น
ต้น
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
กัมพูชาเป็นประเทศที่มีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนา
ประจาชาติมายาวนานกว่า ๒,๐๐๐ ปี หลักฐานหลาย
แหล่งยืนยันตรงกันว่า พระพุทธศาสนาตั้งอยู่ใน
ดินแดนแห่งนี้ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๓ เช่น หลักฐาน
จากศิลาจารึกที่ค้นพบ ณ เมืองโวกัญ อันเป็นศิลา
จารึกที่เก่าแก่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในอดีต
กัมพูชาคือดินแดนส่วนหนึ่งของสุวรรณภูมิ อันเป็นถิ่น
ที่พระโสณเถระและพระอุตตรเถระเดินทางมาเผยแผ่
พระพุทธศาสนา ตั้งแต่บัดนั้นพระพุทธศาสนาใน
กัมพูชาจึงค่อยๆ เจริญรุ่งเรืองขึ้นตามลาดับ
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
ยุคประวัติศาสตร ์กัมพูชา ๔ ยุค คือ ยุคฟู นัน เจนละ
พระนคร และยุคปัจจุบัน
ยุคฟูนัน (พ.ศ.๖๐๐ -
๑๑๐๐) คาว่า ฟูนัน
(Funan) เป็นคาที่
เรียกตามหลักฐานที่
ปรากฏในจดหมายเหตุ
ของจีน ซึ่งเพี้ยนมาจาก
ภาษาเขมรว่า พนม
หรือวฺนม ในภาษา
สันสกฤต ซึ่งแปลว่า ภูเขา
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
ยุคประวัติศาสตร ์กัมพูชา ๔ ยุค คือ ยุคฟู นัน เจนละ
พระนคร และยุคปัจจุบัน
ยุคเจนละ (พ.ศ.
๑๑๐๐ - ๑๓๔๔) เจน
ละเป็นคาจีนที่เรียกเมือง
กัมพูชาที่อยู่ทางภาคเหนือ
ของนครฟูนัน คานี้เพี้ยน
มาจากภาษาเขมรว่า
เจือน-เลอ หมายถึง
้
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
ยุคประวัติศาสตร ์กัมพูชา ๔ ยุค คือ ยุคฟู นัน เจนละ
พระนคร และยุคปัจจุบัน
ยุคพระนคร (พ.ศ.๑๓๔๕ -
๑๙๗๕) ยุคพระนครหมายถึง ยุค
นครวัดและนครธม เป็นยุคที่อารย
ธรรมเขมรเจริญรุ่งเรืองมากที่สุด
เป็นมหาอาณาจักรใหญ่มีศิลปะ
และสถาปัตยกรรมที่โดดเด่นกว่า
ยุคใดๆ โดยเฉพาะปราสาทนครวัด
(Angkor Wat) และ นคร
ธม (Angkor Thom)
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
ยุคประวัติศาสตร ์กัมพูชา ๔ ยุค คือ ยุคฟู นัน เจนละ
พระนคร และยุคปัจจุบัน
ยุคปัจจุบัน (พ.ศ.๑๙๗๕ -
ปัจจุบัน) เมื่อยุคพระนครสิ้น
ลงแล้ว กัมพูชาได้เมืองหลวง
ใหม่ อยู่ใกล้ทะเลสาบให้ชื่อว่า
ก รุ ง ล ะ แ ว ก ยุ ค นี
พระพุทธศาสนายังคงรุ่งเรือง
อยู่ ประชาชนมีความ เคารพ
ศรัทธาต่อพระสงฆ์
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
เวียดนาม (Vietnam) แปลว่า
อาณาจักรฝ่ายทักษิณ มีชื่อทางการว่า
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
(Socialist Republic of
Vietnam) มีเมืองหลวงชื่อฮานอย
เมื องใหญ่ ที่ สุดคือโฮจิ มินห์ ซิตี้
เวียดนามมีประชากรประมาณ
๘๘,๒๓๘,๐๐๐ คน (พ.ศ.๒๕๕๘)
โดยนับถือพระพุทธศาสนามหายาน
๗๐% และอีก นับถือศาสนาขงจื๊อและ
คริสต์ศาสนาอีกประมาณ ๓๐%
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
เวียดนามในอดีตแบ่งเป็น ๓ อาณาเขต คือ ตังเกี๋ย
(Tong king) ได้แก่ แถบลุ่มแม่น้าแดง อานัม
(Annam) ได้แก่ แผ่นดินส่วนแคบยาวตามชายฝั่งทะเล อยู่
ตอนกลางระหว่างตังเกี๋ยกับโคชินจีน และโคชินจีน
(Cochin China) ได้แก่ แผ่นดินส่วนล่างทั้งหมด
อาณาจักรอานัมมีอายุเกือบ ๓ พันปี แต่ไม่มีหลักฐานชัดเจน
จนกระทั่งปี พ.ศ.๔๓๓ ได้ตกเป็นเมืองขึ้นของจีนและถูกปกครอง
อยู่นานกว่า ๑,๐๐๐ ปี จึงทาให้ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากจีน
มาก ในระยะนี้เองเวียดนามมีชื่อว่า อานัม
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในสมัยราชวงศ์
ไล เพราะเป็นศาสนาเดียวที่ได้รับการอุปถัมภ์จากกษัตริย์ รัช
สมัยพระเจ้าไลไทต๋อง (พ.ศ.๑๕๗๑ - ๑๕๘๘) โปรด
ให้สร้างวิหาร ๙๕ แห่ง รัชสมัยพระเจ้าไลทันต๋อง
(พ.ศ.๑๕๙๗ - ๑๖๑๕) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเอา
ใจใส่ กิจการบ้านเมืองและทะนุบารุงพระพุทธศาสนา โดย
เจริญรอยตามพระเจ้าอโศกมหาราช
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
ในปัจจุบันชาวเวียดนามนับถือพระพุทธศาสนา ลัทธิเต๋า และขงจื๊อ
เป็นการนับถือแบบผสมผสาน มีการเปิดสอนพระพุทธศาสนาขึ้น ณ
มหาวิทยาลัยวันฮันห์ จัดตั้งขึ้นโดยสหพุทธจักรเวียดนาม ปัจจุบันเปิด
สอน ๔ คณะ คือ คณะพุทธศาสตร์และบูรพาวิทยา คณะอักษรศาสตร์
และมนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และคณะภาษาศาสตร์ โดยคณะ
พุทธศาสตร์ และบูรพาวิทยา มี ๙ ภาควิชา คือ ภาควิชาพุทธปรัชญา
วรรณคดีพระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ พระพุท ธศาสนา
พระพุทธศาสนาทั่วไป พระพุทธศาสนาในเวียดนาม ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาอินเดีย ปรัชญาจีน และปรัชญาตะวันตก
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
แม้ในปัจจุบันอินโดนีเซียจะเป็นประเทศมุสลิม แต่ในอดีต
พระพุทธศาสนามหายานเคยเจริญมาก่อน มีอนุสรณ์สถานสาคัญที่บ่ง
บอกถึงความรุ่งเรื องของพระพุทธศาสนา คือ โบโรบุดุร์
(Borobudur) หรือบรมพุทโธ ซึ่งเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นสิ่ง
มหัศจรรย์แห่งหนึ่งของโลก ตั้งอยู่ในที่ราบเกตุ (Kedu) ภาคกลาง
ของเกาะชวา มีรูปทรงคล้ายกับพุทธวิหารที่พุทธคยา แต่กดให้แบนลง
ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสูง ๔๒ เมตร มีขนาดรวม ๑๒๓ ตารางเมตร
ภายหลังถูกฟ้าผ่าและภูเขาไฟระเบิดจึงทาให้ความสูงลดลงเหลือเพียง
๓๑.๕ เมตร หินที่ใช้ก่อสร้างและสลัก เป็นหินที่ได้จากลาวาภูเขาไฟ
ประมาณ ๕๕,๐๐๐ ตารางเมตร
วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
@ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
พระพุทธศาสนาเข้าสู่อินโดนีเซียในตอนต้นศตวรรษที่ ๑ (ค.ศ.๑-๑๐๐
/ พ.ศ.๕๔๔ - ๖๔๓) ผ่านเส้นทางสายไหมทางทะเลระหว่างอินเดียและ
อินโดนีเซีย โดยคณะพ่อค้าชาวพุทธนาเข้ามาเผยแผ่ ตั้งแต่บัดนั้น
พระพุทธศาสนาจึงค่อยๆ เจริญขึ้นและเจริญสูงสุดในช่วง
ราชวงศ ์ไสเล็นทรา (Sailendra)ในปี พ.ศ.๑๒๙๓
- ๑๓๙๓ เหล่ากษัตริย์ในราชวงศ ์นี้นับถือ
พระพุทธศาสนา มหายานนิกายวัชรยาน ได้
สร้างมหาสถูปบรมพุทโธขึ้นในช่วงปี พ.ศ.๑๓๒๓
- ๑๓๗๖ มหาสถูปนี้ เป็ นอนุ สรณ์สถานทาง
พระพุทธศาสนาอันยิ่งใหญ่สิ่งแรกในเอเชีย

More Related Content

What's hot

Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยThanawut Rattanadon
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยnaykulap
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาOppo Optioniez
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕niralai
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนPhakawat Owat
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 

What's hot (19)

Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีน
 
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 

Similar to Nrru 005

ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณssuser930700
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกNoeyNoey
 
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีสารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีdokdai
 
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีสารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีdokdai
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101Thanawut Rattanadon
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 

Similar to Nrru 005 (20)

Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีสารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
 
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีสารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 

More from manit akkhachat (20)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Buddhist studies
Buddhist studiesBuddhist studies
Buddhist studies
 
Test001
Test001Test001
Test001
 
610801 lesson 1
610801 lesson 1610801 lesson 1
610801 lesson 1
 
05
0505
05
 
04
0404
04
 
03
0303
03
 
02
0202
02
 
01
0101
01
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
2
22
2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลองการสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
 
580808 lesson 333
580808 lesson 333580808 lesson 333
580808 lesson 333
 
580820 lesson 222
580820 lesson 222580820 lesson 222
580820 lesson 222
 

Nrru 005

  • 2. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา พระพุทธศาสนาใน อาเซียน ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้แก่ ประเทศไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย รวมทั้งประเทศที่เป็นเกาะในทะเล ได้แก่ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย บรูไนและติมอร์ตะวันออก ประเทศที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธใน ปัจจุบันคือ ไทย เวียดนาม ลาว กัมพูชา พม่า และ สิงคโปร์ ส่วนประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซียและ บรูไน จะนับถือศาสนาอิสลามเป็นหลัก ประเทศ ฟิลิปปินส์และติมอร์ตะวันออก ประชากรส่วนใหญ่
  • 3. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ไทยใน สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชประมาณ ปี พ.ศ.๒๓๖ โดยพระโสณเถระและ พระอุตตรเถระเป็นผู้นามาเผยแผ่ยัง สุวรรณภูมิ ซึ่งในขณะนั้นอาณาจักร ไทยรวมอยู่ในดินแดนสุวรรณภูมิด้วย ปัจจุบันยังชี้ ชัดไม่ได้ว่าสุวรรณภูมิอยู่ตรงไหน
  • 4. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา อาณาจักรทวารวดี อาณาจักรทวารวดี หลักจากที่บรรพบุรุษ ของไทยได้รับพระพุทธศาสนาเถรวาทมา ตั้งแต่ยุคของพระเจ้าอโศกมหาราชแล้ว ก็ได้ รักษาสืบทอดกันเรื่อยมาจนกระทั่งถึงยุคของ อาณาจักรทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๓ ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่ จังหวัดนครปฐมในปัจจุบัน ใน ยุคนี้พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง พบ โบราณวัตถุและโบราณสถานต่างๆ มากมาย
  • 5. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรที่อยู่ ในช่วงเดียวกันกับทวารว ดีคือ อาณาจักรศรีวิชัย ประมาณพุทธ ศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๙ ซึ่งมีอาณา บริเวณกว้างครอบคลุมปลายแหลม มลายูและเกาะชวา ยังไม่พบหลักฐาน ระบุได้ ชัดเจนว่าศูนย์กลางของ อาณาจักรนี้อยู่ที่ใด ท่านพุทธทาสมี ความเห็นว่า เมืองหลวงของศรีวิชัยอยู่ ที่ไชยา สุราษฎร์ธานี อาณาจักรศรีวิชัย
  • 6. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา อาณาจักรลพบุรี ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๕ - ๑๖ ราชวงศ์สุริยวรมันแห่งกัมพูชาเจริญรุ่งเรือง ได้แผ่ อาณาจักรครอบคลุมมายังลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาและลุ่ม น้ามูล ได้มีชัยชนะเหนืออาณาจักรทวารวดีและตั้งราช ธานีเพื่ออานวยการปกครองขึ้นในเมืองต่างๆ เช่น เมือง ลพบุรี สุโขทัย ศรีเทพ (เพชรบูรณ์) พิมาย และ สกลนคร ในเมืองต่างๆ เหล่านี้ลพบุรีหรือละโว้เป็น เมืองสาคัญที่สุด ลพบุรีได้รับเอาพระพุทธศาสนา มหายานจากกัมพูชามาผสมผสานกับเถรวาทดั้งเดิมที่ สืบต่อมาตั้งแต่สมัยทวารวดี ในสมัยนี้มีการสร้าง ศาสนสถานมากมาย เช่น พระปรางค์สาม ย อ ด ป ร า ส า ท หิน พิม า ย แ ล ะ
  • 7. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา อาณาจักรสุโขทัย ประมาณปี พ.ศ. ๑๘๐๐ หัวหน้าคนไทยกลุ่มหนึ่ง คือ พ่อขุนบาง กลางหาว ได้ประกาศอิสรภาพขับไล่พวกขอม หรือกัมพูชาออกไป แล้วตั้งราชธานีขึ้นที่กรุง สุโขทัย และได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นกษัตริย์ ทรงพระนามว่า พ่อขุนศรีอินทรา ทิตย์ เป็นปฐมกษัตริย์ของสยามประเทศ ทางด้านศาสนานั้นยุคนี้มีทั้งศาสนาพราหมณ์ พระพุทธศาสนามหายานและเถรวาท ซึ่งตก ทอดมาจากอดีต แต่พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ทรง เคารพนับถือนิกายเถรวาทมากที่สุด
  • 8. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
  • 9. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา อาณาจักรอยุธยา พระเจ้าอู่ทองทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี พ.ศ. ๑๘๙๓ ซึ่งขณะนั้นอาณาจักรสุโขทัยเริ่มเสื่อมอานาจลงและในที่สุดได้เป็นเมืองขึ้นของ อยุธยาในปีพ.ศ.๑๙๒๑ กรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองยาวนานถึง ๔๑๗ ปี มีกษัตริย์ปกครองสืบต่อกันมาถึง ๓๓ พระองค์ อยุธยาเป็นเมืองที่อุดม สมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร ดังคากล่าวว่า "ในน้ามีปลา ในนามีข้าว" ทั่วทั้งจังหวัด พระนครศรีอยุธยา มีวัดวาอาราม ปราสาท พระราชวัง ปูชนียสถาน และปูชนียวัตถุมากมาย
  • 10. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
  • 11. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
  • 12. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ประเทศพม่ามีชื่อเป็นทางการว่า สหภาพพม่า (Union of Myanmar) มีเมืองหลวงชื่อเนปี ดอ เมืองใหญ่สุดคือ ย่างกุ้ง ปกครองด้วยรัฐบาลทหาร มีประชากรประมาณ ๖๐,๒๘๙,๐๐๐ คน (พ.ศ. ๒๕๕๘) นับถือศาสนาพุทธ ๙๐% นับถือศาสนาคริสต์ ๔% ศาสนาอิสลาม ๓% ศาสนาฮินดู ๐.๗% นับถือผีไสยศาสตร์ ๒.๓%
  • 13. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
  • 14. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ในพุทธศตวรรษที่ ๒๔ อังกฤษทาสงครามกับพม่าและได้ชัย ชนะ จากนั้นพยายามตักตวงทรัพยากรต่างๆ โดยที่กษัตริย์พม่า ไม่อาจจะแก้ปัญหาได้ พระเจ้ามินดงจึงก่อการปฏิวัติยึดอานาจ จากพระเจ้าปะกันในปี พ.ศ.๒๓๙๖ ในสมัยพระองค์มีการ สังคายนาพระไตรปิฎกนิกายเถรวาทครั้งที่ ๕ ขึ้น ณ เมือง มัณฑะเลย์ในปี พ.ศ.๒๔๑๔ ได้จารึกพระไตรปิ ฎก ลงในหินอ่อน ๗๒๙ แผ่น โดยได้รับการสนับสนุน จากคณะสงฆ์หลายชาติ คือ ศรีลังกา ไทย กัมพูชา และลาว
  • 15. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา พระพุทธศาสนาในประเทศลาว
  • 16. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ประเทศลาวมีชื่อเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว (Lao Peoples Democratic Republic) ปัจจุบันปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ มีเมือง หลวงชื่อเวียงจันทน์และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุด มีประชากรประมาณ ๕,๙๒๔,๐๐๐ คน (พ.ศ. ๒๕๕๘) โดยนับถือพระพุทธศาสนาเถรวาท ๗๕% นับถือศาสนาคริสต์ ๑.๗% นับถือภูตผี (Animism) และอื่นๆ ๒๒.๓ ดินแดนลาวมีมนุษย์เข้ามาอาศัยอยู่เป็นเวลาช้านาน แล้ว แต่ประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนเพิ่งปรากฏขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ในนามของอาณาจักรล้านช้าง สถาปนาขึ้นโดยพระยาฟ้างุ้ม เมื่อปี
  • 17. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา พระพุทธศาสนาในยุคของพระเจ้าไชย เชษฐาธิราชมีความเจริญสูงสุด ทรงสร้าง วัดสาคัญมากมาย เฉพาะในกาแพงเมืองมี วัดอยู่ประมาณ ๑๒๐ วัด ทรงสร้างวัดพระ แก้วขึ้นเพื่อประดิษฐานพระแก้วมรกต ซึ่ง อัญเชิญมาจากเมืองเชียงใหม่ ยุคนี้ ราชอาณาจักรไทยก็มีความสัมพันธ์กับลาว อย่างแน่นแฟ้นเพราะได้ร่วมมือกันต่อสู้กับ พม่า มีการสร้างเจดีย์พระธาตุศรีสองรัก ขึ้น ในอาเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย เพื่อเป็น อนุสรณ์แห่งความเป็นพี่เป็นน้องกัน
  • 18. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานของวัฒนธรรมประเพณี ความคิด ความ เชื่อของประชาชนลาว ประเพณีทาบุญธาตุหลวง เป็นประเพณีประจา ชาติที่เชิดหน้าชูตาของประเทศ นอกจากนี้ยังมีศิลปกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรมทางพุทธศาสนามากมาย พระพุทธศาสนายังมีบทบาทใน การสงเคราะห์ประชาชนในด้านต่างๆ เช่น พระสงฆ์เป็นที่พึ่งของชุมชน ในด้านให้คาปรึกษา สงเคราะห์ปัจจัยสี่แก่ประชาชน วัดได้เป็น ศูนย์กลางการพบปะของชาวบ้าน เป็นต้น ในปัจจุบันลาวอยู่ในภาวะ สงบ พระพุทธศาสนาก็ได้รับการอุปถัมภ์จากรัฐเป็นอย่างดี มีการก่อตั้ง สถาบันการศึกษาสงฆ์ขึ้น เช่น วิทยาลัยสงฆ์ประจากรุงเวียงจันทน์ เป็น ต้น
  • 19. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
  • 20. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
  • 21. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา กัมพูชาเป็นประเทศที่มีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนา ประจาชาติมายาวนานกว่า ๒,๐๐๐ ปี หลักฐานหลาย แหล่งยืนยันตรงกันว่า พระพุทธศาสนาตั้งอยู่ใน ดินแดนแห่งนี้ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๓ เช่น หลักฐาน จากศิลาจารึกที่ค้นพบ ณ เมืองโวกัญ อันเป็นศิลา จารึกที่เก่าแก่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในอดีต กัมพูชาคือดินแดนส่วนหนึ่งของสุวรรณภูมิ อันเป็นถิ่น ที่พระโสณเถระและพระอุตตรเถระเดินทางมาเผยแผ่ พระพุทธศาสนา ตั้งแต่บัดนั้นพระพุทธศาสนาใน กัมพูชาจึงค่อยๆ เจริญรุ่งเรืองขึ้นตามลาดับ
  • 22. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ยุคประวัติศาสตร ์กัมพูชา ๔ ยุค คือ ยุคฟู นัน เจนละ พระนคร และยุคปัจจุบัน ยุคฟูนัน (พ.ศ.๖๐๐ - ๑๑๐๐) คาว่า ฟูนัน (Funan) เป็นคาที่ เรียกตามหลักฐานที่ ปรากฏในจดหมายเหตุ ของจีน ซึ่งเพี้ยนมาจาก ภาษาเขมรว่า พนม หรือวฺนม ในภาษา สันสกฤต ซึ่งแปลว่า ภูเขา
  • 23. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ยุคประวัติศาสตร ์กัมพูชา ๔ ยุค คือ ยุคฟู นัน เจนละ พระนคร และยุคปัจจุบัน ยุคเจนละ (พ.ศ. ๑๑๐๐ - ๑๓๔๔) เจน ละเป็นคาจีนที่เรียกเมือง กัมพูชาที่อยู่ทางภาคเหนือ ของนครฟูนัน คานี้เพี้ยน มาจากภาษาเขมรว่า เจือน-เลอ หมายถึง ้
  • 24. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ยุคประวัติศาสตร ์กัมพูชา ๔ ยุค คือ ยุคฟู นัน เจนละ พระนคร และยุคปัจจุบัน ยุคพระนคร (พ.ศ.๑๓๔๕ - ๑๙๗๕) ยุคพระนครหมายถึง ยุค นครวัดและนครธม เป็นยุคที่อารย ธรรมเขมรเจริญรุ่งเรืองมากที่สุด เป็นมหาอาณาจักรใหญ่มีศิลปะ และสถาปัตยกรรมที่โดดเด่นกว่า ยุคใดๆ โดยเฉพาะปราสาทนครวัด (Angkor Wat) และ นคร ธม (Angkor Thom)
  • 25. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ยุคประวัติศาสตร ์กัมพูชา ๔ ยุค คือ ยุคฟู นัน เจนละ พระนคร และยุคปัจจุบัน ยุคปัจจุบัน (พ.ศ.๑๙๗๕ - ปัจจุบัน) เมื่อยุคพระนครสิ้น ลงแล้ว กัมพูชาได้เมืองหลวง ใหม่ อยู่ใกล้ทะเลสาบให้ชื่อว่า ก รุ ง ล ะ แ ว ก ยุ ค นี พระพุทธศาสนายังคงรุ่งเรือง อยู่ ประชาชนมีความ เคารพ ศรัทธาต่อพระสงฆ์
  • 26. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
  • 27. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา เวียดนาม (Vietnam) แปลว่า อาณาจักรฝ่ายทักษิณ มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) มีเมืองหลวงชื่อฮานอย เมื องใหญ่ ที่ สุดคือโฮจิ มินห์ ซิตี้ เวียดนามมีประชากรประมาณ ๘๘,๒๓๘,๐๐๐ คน (พ.ศ.๒๕๕๘) โดยนับถือพระพุทธศาสนามหายาน ๗๐% และอีก นับถือศาสนาขงจื๊อและ คริสต์ศาสนาอีกประมาณ ๓๐%
  • 28. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา เวียดนามในอดีตแบ่งเป็น ๓ อาณาเขต คือ ตังเกี๋ย (Tong king) ได้แก่ แถบลุ่มแม่น้าแดง อานัม (Annam) ได้แก่ แผ่นดินส่วนแคบยาวตามชายฝั่งทะเล อยู่ ตอนกลางระหว่างตังเกี๋ยกับโคชินจีน และโคชินจีน (Cochin China) ได้แก่ แผ่นดินส่วนล่างทั้งหมด อาณาจักรอานัมมีอายุเกือบ ๓ พันปี แต่ไม่มีหลักฐานชัดเจน จนกระทั่งปี พ.ศ.๔๓๓ ได้ตกเป็นเมืองขึ้นของจีนและถูกปกครอง อยู่นานกว่า ๑,๐๐๐ ปี จึงทาให้ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากจีน มาก ในระยะนี้เองเวียดนามมีชื่อว่า อานัม
  • 29. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
  • 30. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในสมัยราชวงศ์ ไล เพราะเป็นศาสนาเดียวที่ได้รับการอุปถัมภ์จากกษัตริย์ รัช สมัยพระเจ้าไลไทต๋อง (พ.ศ.๑๕๗๑ - ๑๕๘๘) โปรด ให้สร้างวิหาร ๙๕ แห่ง รัชสมัยพระเจ้าไลทันต๋อง (พ.ศ.๑๕๙๗ - ๑๖๑๕) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเอา ใจใส่ กิจการบ้านเมืองและทะนุบารุงพระพุทธศาสนา โดย เจริญรอยตามพระเจ้าอโศกมหาราช
  • 31. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
  • 32. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ในปัจจุบันชาวเวียดนามนับถือพระพุทธศาสนา ลัทธิเต๋า และขงจื๊อ เป็นการนับถือแบบผสมผสาน มีการเปิดสอนพระพุทธศาสนาขึ้น ณ มหาวิทยาลัยวันฮันห์ จัดตั้งขึ้นโดยสหพุทธจักรเวียดนาม ปัจจุบันเปิด สอน ๔ คณะ คือ คณะพุทธศาสตร์และบูรพาวิทยา คณะอักษรศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และคณะภาษาศาสตร์ โดยคณะ พุทธศาสตร์ และบูรพาวิทยา มี ๙ ภาควิชา คือ ภาควิชาพุทธปรัชญา วรรณคดีพระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ พระพุท ธศาสนา พระพุทธศาสนาทั่วไป พระพุทธศาสนาในเวียดนาม ปรัชญาตะวันออก ปรัชญาอินเดีย ปรัชญาจีน และปรัชญาตะวันตก
  • 33. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
  • 34. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา แม้ในปัจจุบันอินโดนีเซียจะเป็นประเทศมุสลิม แต่ในอดีต พระพุทธศาสนามหายานเคยเจริญมาก่อน มีอนุสรณ์สถานสาคัญที่บ่ง บอกถึงความรุ่งเรื องของพระพุทธศาสนา คือ โบโรบุดุร์ (Borobudur) หรือบรมพุทโธ ซึ่งเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นสิ่ง มหัศจรรย์แห่งหนึ่งของโลก ตั้งอยู่ในที่ราบเกตุ (Kedu) ภาคกลาง ของเกาะชวา มีรูปทรงคล้ายกับพุทธวิหารที่พุทธคยา แต่กดให้แบนลง ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสูง ๔๒ เมตร มีขนาดรวม ๑๒๓ ตารางเมตร ภายหลังถูกฟ้าผ่าและภูเขาไฟระเบิดจึงทาให้ความสูงลดลงเหลือเพียง ๓๑.๕ เมตร หินที่ใช้ก่อสร้างและสลัก เป็นหินที่ได้จากลาวาภูเขาไฟ ประมาณ ๕๕,๐๐๐ ตารางเมตร
  • 35. วิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันบทที่ ๕ พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ @ ลิขสิทธิ์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา พระพุทธศาสนาเข้าสู่อินโดนีเซียในตอนต้นศตวรรษที่ ๑ (ค.ศ.๑-๑๐๐ / พ.ศ.๕๔๔ - ๖๔๓) ผ่านเส้นทางสายไหมทางทะเลระหว่างอินเดียและ อินโดนีเซีย โดยคณะพ่อค้าชาวพุทธนาเข้ามาเผยแผ่ ตั้งแต่บัดนั้น พระพุทธศาสนาจึงค่อยๆ เจริญขึ้นและเจริญสูงสุดในช่วง ราชวงศ ์ไสเล็นทรา (Sailendra)ในปี พ.ศ.๑๒๙๓ - ๑๓๙๓ เหล่ากษัตริย์ในราชวงศ ์นี้นับถือ พระพุทธศาสนา มหายานนิกายวัชรยาน ได้ สร้างมหาสถูปบรมพุทโธขึ้นในช่วงปี พ.ศ.๑๓๒๓ - ๑๓๗๖ มหาสถูปนี้ เป็ นอนุ สรณ์สถานทาง พระพุทธศาสนาอันยิ่งใหญ่สิ่งแรกในเอเชีย