SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
8
เรื่องนารูเกี่ยวกับภาษาสันสกฤต
ภาษาสันสกฤต มีอายุเกาแกมากกวา 3,000 ป นี้นาจะเปนการกําหนดอายุที่นอยที่สุดแลว
เพราะพุทธศาสนาเกิดขึ้นเมื่อ 2500 กวาปมาแลว และภาษาสันสกฤตที่ใชบันทึกพระเวทมีมากอน
หนานั้นไมนอยกวา 500 ปอยางแนนอน
วรรณคดีภาษาสันสกฤตที่เกาที่สุดคือ ฤคเวท ในสมัยโบราณไมนิยมการเขียน คัมภีรพระเวท
สืบทอดโดยผานการทองจํา และเรียนจากครูสูลูกศิษย สํานักของตัวเอง (เพราะฉะนั้นคัมภีรจึงมีสาขา
เฉพาะตามสํานักดวย)
ภาษาสันสกฤต กับภาษาบาลี เปนคนละภาษา ภาษาสันสกฤตเกากวาภาษาบาลีสักหนอย
ลักษณะคําศัพทแตกตางกัน แตโครงสรางทางไวยากรณคลายกัน โดยรวมๆ แลว ถือวา ภาษา
สันสกฤตมีความซับซอนกวา และมีความแตกตางกัน 3 ชั้น ตามอายุ ภาษาที่พระสวดในปจจุบัน คือ
ภาษาบาลี ไมใชภาษาสันสกฤต
ภาษาสันสกฤต มีอยูในภาษาไทยมากกวา 2,300 คํา คําที่มีรูปตรงกันทั้งบาลีสันสกฤตราว
1,500 คํา (ก็เลยไมทราบวามาจากภาษาไหนกันแน) และเปนศัพทบาลี 2,600 คํา (จากพจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2542)
รองรอยภาษาสันสกฤตปรากฏในแผนดินไทยมาหลายศตวรรษแลว ภาษาสันสกฤตปรากฏใน
จารึกที่พบในประเทศไทยมาตั้งแตตนๆ พุทธกาล เชน จารึกบนเหรียญเงิน ราวพุทธศตวรรษที่ 12 พบ
ที่นครปฐม, จารึกบนตราประทับที่ควนลูกปด จังหวัดกระบี่ หรือจารึกวัดศรีเมืองแอม จังหวัด
ขอนแกน (มีเนื้อหาหลายบรรทัด) ก็เกาแกพอๆ กัน
ปจจุบันมีการศึกษาภาษาสันสกฤตในประเทศไทยนอยกวาภาษาบาลีหลายเทา เพราะภาษา
บาลีมีใชในพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยสงฆและวัดตางๆ จึงมีการเรียนการสอนภาษาบาลีกันทั่ว
ประเทศ มีตําราภาษาบาลีเปนพันๆ เรื่อง สวนภาษาสันสกฤตนั้นอาจมีไมถึงรอยเรื่อง แตถาจะเทียบ
กับตาประเทศนั้นจะแตกตางกัน เพราะในตางประเทศมีการศึกษาภาษาสันสกฤตกันกวางขวาง
โดยเฉพาะเว็บไซตภาษาสันสกฤตมีเยอะมาก เรียกวา นั่งเรียนอยูกับบานก็มีวัตถุดิบมากพอ มากกวา
ภาษาบาลีเปนสิบๆ เทา
วรรณคดีสันสกฤตที่รูจักกันดีไดแก มหาภารตะ รามายณะ เวตาล ศกุนตลา ภควัทคีตา หิโตป
เทศ ปญจตันตระฯลฯ ปจจุบันมีการแปลเปนภาษาไทยเพิ่มขึ้นอีกหลายเรื่อง
กามนิต วาสิฏฐี ไมใชวรรณคดีสันสกฤต กามนิต หรือ Der Pilger Kamanita (นักแสวงบุญ
ชื่อ กามนีต) ฉากในเรื่องนั้นเปนอินเดีย แตผูแตงคือกวีรางวัลโนเบล ชาวเดนมารก (Karl Adolph
Gjellerup) แตงเปนภาษาเยอรมัน เมื่อผานสํานวนแปลเปนไทยแบบกลิ่นอายคัมภีรศาสนา ทําใหคน
อานเขาใจวาเปนหนังสือแปลจากอินเดีย
คัมภีรพุทธศาสนาฝายมหายาน ใชภาษาสันสกฤตบันทึก มีคัมภีรพุทธศาสนาจํานวนมากที่
บันทึกไวเปนภาษาสันสกฤต แตโดยมากเปนแนวคิดในฝายมหายาน มีภิกษุมหายานไดแปลออกเปน
ภาษาอื่น โดยเฉพาะภาษาทิเบต และภาษาจีน ซึ่งปจจุบันมีหลายเรื่องที่ตนฉบับภาษาสันสกฤตหายไป
แลว เหลือแตฉบับภาษาจีน แตยังคงปรากฏชื่อภาษาสันสกฤตอยูเทานั้น
9
แมภาษาบาลีจะเปนภาษาหลักในพุทธศาสนาฝายเถรวาท แตศัพทเกี่ยวกับพุทธศาสนา
จํานวนไมนอย ก็ใชศัพทสันสกฤต เชน ธรรมะ ศาสนา ศรัทธา พุทธบริษัท เปนตน
พจนานุกรมภาษาสันสกฤตเลมแรก มีปรากฏขึ้นเมื่อพันกวาปมาแลว พจนานุกรมภาษา
สันสกฤตเลมแรก คือ อมรโกศ เขียนโดยอมรสิงห เมื่อราวคริสตศตวรรษที่ 4-7 แตมีลักษณะเปน
หนังสือรวมคําศัพท มากกวาอธิบายคําศัพท
พจนานุกรมภาษาสันสกฤต-ไทยเลมแรก มีขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 2469 จัดทําโดย
รอยโท หลวงบวรบรรณรักษ เปนพจนานุกรม 3 ภาษา สันสกฤต ไทย อังกฤษ นับเปนพจนานุกรม
ภาษาสันสกฤตเลมเดียวในประเทศไทยในขณะนี้
ภาษาสันสกฤต มีพัฒนาการแตกตางกัน 3 สมัยหลัก สมัยแรกคือสมัยพระเวท มีลักษณะ
ไวยากรณที่หลากหลาย สมัยตอมาคือสมัยคลาสสิก มีไวยากรณที่เปนระเบียบ รัดกุม พบในงานกวี
นิพนธสวนใหญ และสมัยหลังคือ สันสกฤตผสม มีคําศัพทและไวยากรณรวมของภาษาบาลีหรือภาษา
ปรากฤต
ภาษาสันสกฤต มีศัพทสอดคลองภาษาอังกฤษหลายคํา ภาษาสันสกฤตมีรากศัพทจากสมัย
โบราณ เรียกวา โปรโต-อินโดยูโรเปยน ซึ่งแตกสาขาออกมามากมาย เชน กรีก ละติน เปอรเซีย
ภาษาอังกฤษรับคําศัพทมาจากกรีกและละติน ทําใหภาษาอังกฤษมีศัพทจํานวนมากสอดคลองกับ
ศัพทภาษาสันสกฤต ทีนี้ ภาษาไทยนําศัพทภาษาสันสกฤตมาใช ทําใหศัพทภาษาไทยหลายคําตรงกับ
ศัพทอังกฤษไปโดยอัตโนมัติ
ภาษาสันสกฤตใชตัวอักษรใดเขียนก็ได ภาษาสันสกฤตมีเสียงพยัญชนะ และเสียงสระ (ไมมี
วรรณยุกต) ในสมัยพระเวทมีเสียงสูงกลางต่ําดวย เรามักเห็นเอกสารภาษาสันสกฤตที่เขียนดวยอักษร
เทวนาครี (เท-วะ-นา-คะ-รี) แตอาจใชอักษรอื่นเขียนก็ได เชน อักษรทมิฬ โรมัน หรืออักษรไทย
ปจจุบันชาวไทยมากกวาครึ่ง ใชชื่อเปนภาษาสันสกฤตลวน หรือผสมภาษาสันสกฤต คนไทย
เห็นวา ศัพทภาษาสันสกฤตหลายคํามีความหมายที่ดี เปนมงคล และกระชับ (คําสั้น แตความหมาย
เยอะ) จึงนิยมใชสรางศัพทสําคัญๆ มาตั้งแตสมัยโบราณ โดยเฉพาะพระนามบุคคลสําคัญ เชน
พระมหากษัตริย พระราชวงศ พระพุทธรูป ราชทินนามของขุนนาง หนวยงาน ภายหลังใชตั้งชื่อ
นามสกุล พบไดโดยทั่วไป
การลําดับคําศัพทในภาษาสันสกฤตเปนแบบจิ๊กซอว คําศัพทในภาษาสันสกฤตนั้น เมื่อ
นํามาใช จะมีการกําหนดหนาที่ไวชัดเจน วาตัวใดเปนประธาน กริยา กรรมฯลฯ จึงสามารถวาง
ตรงไหนก็ไดในประโยค ผูอานตองหาเอาเอง วาประธาน กริยา กรรม และคําขยายอยูตรงไหน แต
โดยทั่วไปนิยมใช ประธาน กรรม กริยา และคําขยายไวหนาคําที่ถูกขยาย
ปจจุบันไมมีการใชภาษาสันสกฤตในชีวิตประจําวัน แตมีการใชในหมูนักวิชาการบาง เชน
หนังสือพิมพ วิทยุ บล็อก มหาวิทยาลัยบางแหงในอินเดีย บังคับใหใหนักศึกษาวิชาเอกสันสกฤต ตอง
สื่อสารเปนภาษาสันสกฤต (ปาย เอกสาร จดหมาย สนทนา) และเขียนวิทยานิพนธเปนภาษาสันสกฤต
มีการจัดสัมมนาวิชาการดานภาษาสันสกฤตระดับโลก ประจําทุก 3 ป เรียกวา World
Sanskrit Conference (WSC) แตละประเทศผลัดกันเปนเจาภาพ ครั้งลาสุด เมื่อป 2558 จัดขึ้นที่
ประเทศไทย เปนการประชุมครั้งที่ 16 คราวหนาครั้งที่ 17 จัดที่แวนคูเวอร ประเทศแคนาดา ระหวาง
วันที่ 9-13 กรกฎาคม 2561

More Related Content

More from manit akkhachat (20)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Buddhist studies
Buddhist studiesBuddhist studies
Buddhist studies
 
Test001
Test001Test001
Test001
 
610801 lesson 1
610801 lesson 1610801 lesson 1
610801 lesson 1
 
05
0505
05
 
04
0404
04
 
03
0303
03
 
Nrru 006
Nrru 006Nrru 006
Nrru 006
 
Nrru 005
Nrru 005Nrru 005
Nrru 005
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Lesson 4 christianity
Lesson 4 christianityLesson 4 christianity
Lesson 4 christianity
 
Lesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhismLesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhism
 
Lesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunismLesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunism
 

02

  • 1. 8 เรื่องนารูเกี่ยวกับภาษาสันสกฤต ภาษาสันสกฤต มีอายุเกาแกมากกวา 3,000 ป นี้นาจะเปนการกําหนดอายุที่นอยที่สุดแลว เพราะพุทธศาสนาเกิดขึ้นเมื่อ 2500 กวาปมาแลว และภาษาสันสกฤตที่ใชบันทึกพระเวทมีมากอน หนานั้นไมนอยกวา 500 ปอยางแนนอน วรรณคดีภาษาสันสกฤตที่เกาที่สุดคือ ฤคเวท ในสมัยโบราณไมนิยมการเขียน คัมภีรพระเวท สืบทอดโดยผานการทองจํา และเรียนจากครูสูลูกศิษย สํานักของตัวเอง (เพราะฉะนั้นคัมภีรจึงมีสาขา เฉพาะตามสํานักดวย) ภาษาสันสกฤต กับภาษาบาลี เปนคนละภาษา ภาษาสันสกฤตเกากวาภาษาบาลีสักหนอย ลักษณะคําศัพทแตกตางกัน แตโครงสรางทางไวยากรณคลายกัน โดยรวมๆ แลว ถือวา ภาษา สันสกฤตมีความซับซอนกวา และมีความแตกตางกัน 3 ชั้น ตามอายุ ภาษาที่พระสวดในปจจุบัน คือ ภาษาบาลี ไมใชภาษาสันสกฤต ภาษาสันสกฤต มีอยูในภาษาไทยมากกวา 2,300 คํา คําที่มีรูปตรงกันทั้งบาลีสันสกฤตราว 1,500 คํา (ก็เลยไมทราบวามาจากภาษาไหนกันแน) และเปนศัพทบาลี 2,600 คํา (จากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2542) รองรอยภาษาสันสกฤตปรากฏในแผนดินไทยมาหลายศตวรรษแลว ภาษาสันสกฤตปรากฏใน จารึกที่พบในประเทศไทยมาตั้งแตตนๆ พุทธกาล เชน จารึกบนเหรียญเงิน ราวพุทธศตวรรษที่ 12 พบ ที่นครปฐม, จารึกบนตราประทับที่ควนลูกปด จังหวัดกระบี่ หรือจารึกวัดศรีเมืองแอม จังหวัด ขอนแกน (มีเนื้อหาหลายบรรทัด) ก็เกาแกพอๆ กัน ปจจุบันมีการศึกษาภาษาสันสกฤตในประเทศไทยนอยกวาภาษาบาลีหลายเทา เพราะภาษา บาลีมีใชในพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยสงฆและวัดตางๆ จึงมีการเรียนการสอนภาษาบาลีกันทั่ว ประเทศ มีตําราภาษาบาลีเปนพันๆ เรื่อง สวนภาษาสันสกฤตนั้นอาจมีไมถึงรอยเรื่อง แตถาจะเทียบ กับตาประเทศนั้นจะแตกตางกัน เพราะในตางประเทศมีการศึกษาภาษาสันสกฤตกันกวางขวาง โดยเฉพาะเว็บไซตภาษาสันสกฤตมีเยอะมาก เรียกวา นั่งเรียนอยูกับบานก็มีวัตถุดิบมากพอ มากกวา ภาษาบาลีเปนสิบๆ เทา วรรณคดีสันสกฤตที่รูจักกันดีไดแก มหาภารตะ รามายณะ เวตาล ศกุนตลา ภควัทคีตา หิโตป เทศ ปญจตันตระฯลฯ ปจจุบันมีการแปลเปนภาษาไทยเพิ่มขึ้นอีกหลายเรื่อง กามนิต วาสิฏฐี ไมใชวรรณคดีสันสกฤต กามนิต หรือ Der Pilger Kamanita (นักแสวงบุญ ชื่อ กามนีต) ฉากในเรื่องนั้นเปนอินเดีย แตผูแตงคือกวีรางวัลโนเบล ชาวเดนมารก (Karl Adolph Gjellerup) แตงเปนภาษาเยอรมัน เมื่อผานสํานวนแปลเปนไทยแบบกลิ่นอายคัมภีรศาสนา ทําใหคน อานเขาใจวาเปนหนังสือแปลจากอินเดีย คัมภีรพุทธศาสนาฝายมหายาน ใชภาษาสันสกฤตบันทึก มีคัมภีรพุทธศาสนาจํานวนมากที่ บันทึกไวเปนภาษาสันสกฤต แตโดยมากเปนแนวคิดในฝายมหายาน มีภิกษุมหายานไดแปลออกเปน ภาษาอื่น โดยเฉพาะภาษาทิเบต และภาษาจีน ซึ่งปจจุบันมีหลายเรื่องที่ตนฉบับภาษาสันสกฤตหายไป แลว เหลือแตฉบับภาษาจีน แตยังคงปรากฏชื่อภาษาสันสกฤตอยูเทานั้น
  • 2. 9 แมภาษาบาลีจะเปนภาษาหลักในพุทธศาสนาฝายเถรวาท แตศัพทเกี่ยวกับพุทธศาสนา จํานวนไมนอย ก็ใชศัพทสันสกฤต เชน ธรรมะ ศาสนา ศรัทธา พุทธบริษัท เปนตน พจนานุกรมภาษาสันสกฤตเลมแรก มีปรากฏขึ้นเมื่อพันกวาปมาแลว พจนานุกรมภาษา สันสกฤตเลมแรก คือ อมรโกศ เขียนโดยอมรสิงห เมื่อราวคริสตศตวรรษที่ 4-7 แตมีลักษณะเปน หนังสือรวมคําศัพท มากกวาอธิบายคําศัพท พจนานุกรมภาษาสันสกฤต-ไทยเลมแรก มีขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 2469 จัดทําโดย รอยโท หลวงบวรบรรณรักษ เปนพจนานุกรม 3 ภาษา สันสกฤต ไทย อังกฤษ นับเปนพจนานุกรม ภาษาสันสกฤตเลมเดียวในประเทศไทยในขณะนี้ ภาษาสันสกฤต มีพัฒนาการแตกตางกัน 3 สมัยหลัก สมัยแรกคือสมัยพระเวท มีลักษณะ ไวยากรณที่หลากหลาย สมัยตอมาคือสมัยคลาสสิก มีไวยากรณที่เปนระเบียบ รัดกุม พบในงานกวี นิพนธสวนใหญ และสมัยหลังคือ สันสกฤตผสม มีคําศัพทและไวยากรณรวมของภาษาบาลีหรือภาษา ปรากฤต ภาษาสันสกฤต มีศัพทสอดคลองภาษาอังกฤษหลายคํา ภาษาสันสกฤตมีรากศัพทจากสมัย โบราณ เรียกวา โปรโต-อินโดยูโรเปยน ซึ่งแตกสาขาออกมามากมาย เชน กรีก ละติน เปอรเซีย ภาษาอังกฤษรับคําศัพทมาจากกรีกและละติน ทําใหภาษาอังกฤษมีศัพทจํานวนมากสอดคลองกับ ศัพทภาษาสันสกฤต ทีนี้ ภาษาไทยนําศัพทภาษาสันสกฤตมาใช ทําใหศัพทภาษาไทยหลายคําตรงกับ ศัพทอังกฤษไปโดยอัตโนมัติ ภาษาสันสกฤตใชตัวอักษรใดเขียนก็ได ภาษาสันสกฤตมีเสียงพยัญชนะ และเสียงสระ (ไมมี วรรณยุกต) ในสมัยพระเวทมีเสียงสูงกลางต่ําดวย เรามักเห็นเอกสารภาษาสันสกฤตที่เขียนดวยอักษร เทวนาครี (เท-วะ-นา-คะ-รี) แตอาจใชอักษรอื่นเขียนก็ได เชน อักษรทมิฬ โรมัน หรืออักษรไทย ปจจุบันชาวไทยมากกวาครึ่ง ใชชื่อเปนภาษาสันสกฤตลวน หรือผสมภาษาสันสกฤต คนไทย เห็นวา ศัพทภาษาสันสกฤตหลายคํามีความหมายที่ดี เปนมงคล และกระชับ (คําสั้น แตความหมาย เยอะ) จึงนิยมใชสรางศัพทสําคัญๆ มาตั้งแตสมัยโบราณ โดยเฉพาะพระนามบุคคลสําคัญ เชน พระมหากษัตริย พระราชวงศ พระพุทธรูป ราชทินนามของขุนนาง หนวยงาน ภายหลังใชตั้งชื่อ นามสกุล พบไดโดยทั่วไป การลําดับคําศัพทในภาษาสันสกฤตเปนแบบจิ๊กซอว คําศัพทในภาษาสันสกฤตนั้น เมื่อ นํามาใช จะมีการกําหนดหนาที่ไวชัดเจน วาตัวใดเปนประธาน กริยา กรรมฯลฯ จึงสามารถวาง ตรงไหนก็ไดในประโยค ผูอานตองหาเอาเอง วาประธาน กริยา กรรม และคําขยายอยูตรงไหน แต โดยทั่วไปนิยมใช ประธาน กรรม กริยา และคําขยายไวหนาคําที่ถูกขยาย ปจจุบันไมมีการใชภาษาสันสกฤตในชีวิตประจําวัน แตมีการใชในหมูนักวิชาการบาง เชน หนังสือพิมพ วิทยุ บล็อก มหาวิทยาลัยบางแหงในอินเดีย บังคับใหใหนักศึกษาวิชาเอกสันสกฤต ตอง สื่อสารเปนภาษาสันสกฤต (ปาย เอกสาร จดหมาย สนทนา) และเขียนวิทยานิพนธเปนภาษาสันสกฤต มีการจัดสัมมนาวิชาการดานภาษาสันสกฤตระดับโลก ประจําทุก 3 ป เรียกวา World Sanskrit Conference (WSC) แตละประเทศผลัดกันเปนเจาภาพ ครั้งลาสุด เมื่อป 2558 จัดขึ้นที่ ประเทศไทย เปนการประชุมครั้งที่ 16 คราวหนาครั้งที่ 17 จัดที่แวนคูเวอร ประเทศแคนาดา ระหวาง วันที่ 9-13 กรกฎาคม 2561