SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
๑๗๐
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
อุดมการณประชาธิปไตย
อุดมการณประชาธิปไตย ก็คือ การเขาถึงเปาหมายสูงสุดของประชาธิปไตย
โดยยึดหลักนิติธรรมอันกําหนดถึงสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค และความยุติธรรมใน
หมูประชาชน ดําเนินการปกครองโดยถือหลักเสียงขางมากที่เคารพสิทธิของฝายขาง
นอย รวมถึงมีการกําหนดหลักเกณฑการดําเนินการและการสืบทอดหรือเปลี่ยนแปลง
ตําแหนงที่ตั้งอยูบนพื้นฐานแหงความยินยอมพรอมใจของประชาชนตามหลักอํานาจ
อธิปไตยของปวงชน
ชัยอนันต สมุทวณิช ไดกลาวถึงอุดมการณประชาธิปไตยที่สําคัญ วามีอยู ๗
ประการ5
๖ ไดแก
๑. รากฐานอันสําคัญยิ่งของอุดมการณประชาธิปไตย ไดแก การมีศรัทธาใน
ความสามารถ สติปญญาของมนุษย ในการที่จะสามารถรวมมือกันทํางาน และการ
รูจักหาเหตุผล ความถูกตอง
๒. การมีศรัทธาในความสามารถที่จะใฝหาเหตุผลของมนุษย ทําใหอุดมการณ
ประชาธิปไตยสนับสนุนสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น โดยการเปดโอกาสให
ทุก ๆ ฝายเสนอขอเท็จจริง เหตุผล และความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาที่กําลังพิจารณา
อยูใหหมดเสียกอน แลวจึงรวมกันตัดสินใจ จากหลักการนี้จึงเกิดการประกันสิทธิ
เสรีภาพทางการพูด การพิมพโฆษณา และการเผยแพรการประชุม ตลอดจนเสรีภาพ
ในการรวมกลุมจัดตั้งสมาคมและพรรคการเมือง
๓. อุดมการณประชาธิปไตยเชื่อวามนุษยทุกคนมีความเทาเทียมกัน ความเทา
เทียมหรือความเสมอภาคนี้ไมไดหมายความถึงความเทาเทียมกันทางสติปญญาหรือ
กายภาพ แตเปนความเสมอภาคตามกฎหมายและทางการเมือง โดยที่ทุกคนควร
ไดรับการปฏิบัติจากเจาหนาที่ของรัฐและจากกฎหมายโดยเทาเทียมกัน ไมมีการ
แบงแยกวาเปนเพศใด มีกําเนิดอยางไร มีฐานะเปนอยางไร
๔. อุดมการณประชาธิปไตยเชื่อวาอํานาจทางการปกครองของรัฐบาลเกิดขึ้น
จากความยินยอมของประชาชนผูอยูใตการปกครองนั้น การใหความยินยอมเทากับ
๖
ชัยอนันต สมุทวณิช. (๒๕๒๔). การเลือกตั้ง พรรคการเมือง รัฐสภา และคณะทหาร. กรุงเทพฯ : บรรณ
กิจ.
๑๗๑
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
เปนการสรางความชอบธรรมใหกับกําลังหรืออํานาจ ดังนั้นรัฐบาลที่ชอบธรรม จึง
ไดแกรัฐบาลที่เปนตัวแทนของประชาชน
๕. อุดมการณประชาธิปไตยเชื่อวาสถาบันทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
ที่เปนกลไกในการปกครองรัฐบาลนั้นมีอยูเพื่อรับใชคนในสังคม ดังนั้นเสรีภาพสวน
บุคคลจึงเปนสวนที่มีความ
๖. เนื่องจากความเชื่อดังกลาว ที่วารัฐเปนเพียงอุปกรณที่ชวยใหคนในสังคมมี
ความสุขสมบูรณและรัฐอยูไดก็ดวยเปาหมายที่จะคุมครองชีวิตและทรัพยสิน และการ
แสวงหาความสุขของคนในสังคม ดังนั้นประชาชนจึงมีสิทธิอันชอบธรรมที่จะทาการ
คัดคาน ตอตานรัฐบาลที่ไมปฏิบัติตามจุดมุงหมายดังกลาว
๗. อุดมการณประชาธิปไตยเคารพในการตัดสินใจหรือมติของเสียงขางมาก
และพิทักษความคิดเห็นและผลประโยชนของเสียงขางนอย
อุดมการณประชาธิปไตย ดังกลาวนั้น จึงอาจเรียกวาเปนอุดมคติของการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งในความเปนจริงก็ยังไมไดเกิดขึ้นในทุก ๆ สังคม
แตการที่จะบรรลุถึงอุดมคติทั้งเจ็ดประการนั้น ทั้งรัฐบาลและประชาชนจะตองมีความ
เชื่อรวมกัน มีอุดมคติรวมกันเสียกอนวาอุดมคติเหลานี้เปนสิ่งที่พึงปรารถนา และ
จะตองมุงมั่น พยายามที่จะขจัดอุป สรรคที่จะมากีดขวางห ลักการเหลานี้ดวย
อุดมการณประชาธิปไตยจึงจะกลายมาเปนความจริงและเปนแนวทางในการปกครอง
ประเทศไดดวย
อุดมการณทางการเมือง
ความหมายของอุดมการณทางการเมือง (Political Ideology) มีผูนิยาม
หลากหลาย เชนหมายถึง ความคิด ความเชื่อ ที่มีแบบแผนเกี่ยวกับหลักการและ
คุณคาทางการเมือง เปนความคิดความเชื่อที่มีแนวทางแนนอน มีเหตุผล มีจุดหมาย
ปลายทาง และวัตถุประสงคที่มนุษยพยายามจะดําเนินการใหสัมฤทธิผล หรืออาจ
หมายถึง ความคิดความเชื่อที่ทําใหเกิดกลไกควบคุม เพื่อบรรลุเปาหมายแหงความคิด
ความเชื่อนั้น เชนอุดมการณมารกซิสม กอใหเกิดพรรคคอมมิวนิสตเพื่อสรางและ
ควบคุมใหการปกครองบรรลุเปาหมายของอุดมการณ
อุดมการณมิใชเปนเพียงปรัชญาการเมือง อุดมการณทางการเมืองจะเรียกรอง
ใหมีการกระทําจากผูศรัทธาในอุดมการณ เกิดความรูสึกวาถูกตองที่จะกระทําตามนั้น
อุดมการณทางการเมืองมักจะเชื่อมโยงกลุมคนกลุมใดกลุมหนึ่งเปนพิเศษ
“ดังนั้น อุดมการณจึงมีขอเรียกรองที่จะใหคนยอมรับ เชื่อมั่น ศรัทธาเพื่อให
เกิดความรวมมือกันในกลุมชนที่จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดังที่มุงไว” ขอควร
สังเกตประการหนึ่งคือ ในภาษาอังกฤษคําที่เปนอุดมการณมักจะมีคําวา “ism”
ตอทาย ซึ่งในภาษาไทยจะเปนคําวา “นิยม” เชน Liberalism หรือ เสรีนิยม
นักปราชญทางรัฐศาสตร เดอ ท็อคเคอวิลล (De Tocqueville) กลาวให
ความสําคัญกับอุดมการณวา “หากปราศจากอุดมการณแลว สังคมก็มิอาจจะตั้งอยู
๑๗๒
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
หรือเจริญเติบโตตอไปได เหตุวาเมื่อมนุษยไมมีความเชื่อมั่นรวมกันในความคิดอันใด
อันหนึ่ง มนุษยก็ไมอาจดําเนินการใดๆ รวมกันได เมื่อขาดพฤติกรรมรวมดังกลาว
มนุษยก็ยังคงมีอยูแตจะปราศจากสิ่งที่เรียกวา สังคม”
ความสําคัญบทบาทของอุดมการณทางการเมือง
๑. เปนแรงผลักดันใหมนุษยทําสิ่งตางๆ ตามอุดมการณ
๒. เปนเปาหมายปลายทาง และรากฐานของหลักเกณฑตาง ๆ ทําใหสังคม
พัฒนาไปขางหนา
๓. ทําใหมนุษยยอมเชื่อฟงและเกิดความรับผิดชอบตออุดมการณ
๔. ทําใหเกิดการรวมกลุมคนที่ยึดมั่นในอุดมการณเดียวกัน
๕. เปนการกลอมเกลาทางสังคมวามนุษยพึงมีหรือพึงใชชีวิตอยางไร
องคประกอบของอุดมการณทางการเมือง
อุดมการณมีหลากหลายแตทั้งหมดมีองคประกอบรวมกัน ดังนี้
๑. คานิยม (Value) ทุกอุดมการณตางลวนเห็นวา คานิยมบ างอยางที่
อุดมการณตนเองยึดถือดีกวาคานิยมอื่นๆ และยังใชเปนเกณฑในการตัดสินความคิด
ความเชื่อและการกระทําของอุดมการณอื่นๆ ดวย อีกทั้งยังเปนขออางเพื่อที่จะใชใน
การชักจูงความคิดเห็นหรือเพื่อที่จะตอตานหรือยับยั้งความคิดอื่น มีสาระและน้ําเสียง
หรือไปในแนวที่เปนจริยธรรม ศีลธรรม หรือบรรทัดฐานใหคนยึดถือปฏิบัติตาม เชน
อุดมการณเสรีนิยม (Liberalism) มีคานิยมวาการตระหนักถึงศักยภาพของมนุษยแต
ละคนเปนหนึ่งในเปาหมายสูงสุดของสังคม ซึ่งจะปรากฎเปนจริงไดก็แตเฉพาะใน
ระบอบการเมืองที่พลเมืองแตละคนตางลวนมีอํานาจในการกําหนดนโยบายของรัฐไม
แตกตางกัน ตรงกันขามกับอุดมการณฟาสซิสม (Fascism) ซึ่งมองมนุษยไมเทาเทียม
กัน บางคนฉลาดกวาบางคน จึงใหความสําคัญกับคนที่เกงกวาฉลาดกวา และให
ความสําคัญกับผูนําหรือผูปกครองเหนือสิทธิ เสรีภาพของปจเจกชน และความยิ่งใหญ
ของเชื้อชาติตนเหนือเชื้อชาติอื่น
๒. วิสัยทัศนตอสังคมการเมืองในอุดมคติ (Vision of the Ideal Polity)
แตละอุดมการณตางมีวิสัยทัศนวา สังคมการเมืองควรจะมีลักษณะอยางไร หากมี
โอกาสในการบริหารจัดการสังคมการเมืองภายใตอุดมการณของตน เชน มารกซิสม
(Marxism) เห็นวาหากสังคมไมมีการถือครองกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินของปจเจกชน
(Private Property) ชนชั้นในสังคมก็จะสูญสลายหายไป เมื่อไมมีชนชั้นใดที่มีอํานาจ
และการกดขี่ขูดรีดเหนือชนชั้นอื่น ซึ่งในทายที่สุดก็จะทําใหรัฐสูญสลายตามไปดวย
๓. มโนทัศนวาดวยธรรมชาติของมนุษย (Conception of Human Nature)
อุดมการณทั้งหลายตางลวนมีความคิด ความเชื่อถึงธรรมชาติของมนุษยวาเปน
อยางไร เชน เสรีนิยมคลาสสิค (Classical Liberalism) เชื่อวาโดยธรรมชาติมนุษย
ทุกคนตองการเลือกตัวแทนและนโยบายที่ดีที่สุดเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้น เมื่อระบบ
๑๗๓
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การเมืองเปดโอกาสใหมีการเปดเผยขอมูล ขอเท็จจริงของนโยบายและความคิด
ทางการเมืองของตัวนักการเมืองผานการหาเสียงเลือกตั้ง ประชาชนยอมตองเลือก
แนวทางที่ดีที่สุดเพื่อประโยชนแกตนเองที่จะไดรับ
๔. ยุทธศาสตร (Strategy of Action) แตละอุดมการณมียุทธศาสตรในการ
เปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองที่เปนอยูใหเปนสังคมเมืองที่ตนเองใฝฝน เชน มารกซิสม
พยายามสรางจิตสํานึกทางชนชั้น (Class Consciousness) ใหเกิดขึ้นในหมูกรรมกร
ผูใชแรงงานเพื่อลมลางระบบทุนนิยมแลวแทนที่ดวยระบบสังคมนิยม หรือเสรีนิยมที่
ไมตองการใหรัฐเขามาแทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประชาชน ตลอดจนการ
ดําเนินชีวิตในดานตาง ๆ เชน การกิน การดื่ม การแตงกาย หรือแมกระทั่งพฤติกรรม
ทางเพศดวยเชื่อวาจะเปนหนทางที่ดีที่สุดตอชีวิตของมนุษย
๕. ยุทธวิธีทางการเมือง (Political Tactics) ในขณะที่ยุทธศาสตรหมายถึง
แผนแมบทของการบรรลุสูความสําเร็จตามความใฝฝน ยุทธวิธีคือ แผนการยอยในทาง
ปฏิบัติที่มาจากแผนแมบทเพื่อบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการนั่นเอง อุดมการณทาง
การเมืองแตละประเภทตางมียุทธวิธีทางการเมืองของตนเอง แมกระทั่งอุดมการณ
เดียวกัน แตเมื่อแตกแขนงแยกยอยออกไปยังมียุทธวิธีที่แตกตางกัน เชน สังคมนิยม
ซึ่งแตกแขนงออกไปเปนสังคมนิยมมารกซิสต (Marxist Socialism) และสังคมนิยม
ประชาธิปไตย (Social Democratic) เปนตน ขณะที่สังคมนิยมมารกซิสตเห็นวา
ระบบทุนนิยมจะลมสลายไดตองใชกําลังโคนลมโดยชนชั้นกรรมมาชีพเทานั้น แตสังคม
นิยมประชาธิปไตยปฏิเสธการใชความรุนแรง อีกทั้งยังศรัทธาในสถาบันทางการเมือง
ในระบอบประชาธิปไตยวาจะทําใหอุดมการณสังคมนิยมบรรลุผลได
อุดมการณใหความหมายกับชีวิตหรือมอมเมาชีวิต
ในดานบ วก มองวา อุดมการณผลักดันใหชีวิต สังคม ไป ขางหนาตาม
อุดมการณ เปนคุณคาของชีวิตและของสังคมนั้น สรางสรรคสังคม ประเทศชาติ ให
เจริญรุงเรืองตามอุดมการณ คนจํานวนไมนอยที่ยอมตายเพื่ออุดมการณทางการเมือง
ที่ตนยึดมั่น ยกตัวอยาง เชน อุดมการณประชาธิปไตย ทําใหคนเห็นวาตัวเองมีคุณคา
และสังคมใหโอกาสแกทุกคนในการสรางสรรคชีวิตของตนเอง อุดมการณทาง
การเมืองที่สอนใหคนยอมเปนระเบิดพลีชีพเพื่อเปาหมายของอุดมการณของกลุม
(ตัวอยางการยอมตัวเพื่ออุดมการณทางการเมือง) บางคนอาจไมเห็นดวย แตคนที่อยู
ในอุดมการณนั้นเห็นวาคนนี้เปนแบบอยางที่นายกยอง เขาทําในสิ่งที่ถูกตองสมควร
แลว
ใน ดาน ล บ มารกซแล ะเอ งเก ล ส (Karl Marx, Friedrich Engels) ชี้วา
“อุดมการณเปนมายา (illusion) หรือสํานึกจอมปลอม (false consciousness)
เปนเครื่องมือที่ชนชั้นปกครองใหมอมเมาใหชนชั้นที่ถูกปกครองไมเห็นธาตุแทของการ
ที่ตนถูกกดขี่ขูดรีดโดยชนชั้นที่ไดเปรียบ”
๑๗๔
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
คารล ปอปเปอร (Karl Popper) เห็นวา “อุดมการณ คือ ระบบของ
ความคิดที่ปดตัวเองจากโลกภายนอก (a closed system of thought)” เขา
ยกตัวอยางวาระบบเผด็จการเบ็ดเสร็จในชวงระหวางสงครามโลกครั้งที่ ๑ และ ๒ ไม
วาจะเปนระบบคอมมิวนิสตโซเวียตหรือนาซีเยอรมัน ลวนใชอุดมการณเปนเครื่องมือ
ที่พวกเหลานี้ใชควบคุมสังคมใหประชนชนคลอยตาม และผูมีอํานาจที่อยูเบื้องหลังจะ
ผูกขาดการตีความวาอะไรจริง อะไรเท็จ อะไรควรไมควร โดยไมยอมรับใหมีความคิด
ความเชื่อที่แตกตางไปจากแนวการตีความของตน
ดว ย เห ตุก า ร ณม อ งอุด ม ก า ร ณเชิง วิพ า ก ษ จ อ หน ท อ ม ปสัน (John
Thompson) จึงแจกแจงอุดมการณออกเปน ๒ ประเภทใหญๆ คือ
๑. แนวคิดอิสระวาดวยอุดมการณ (Neutral Conception of Ideology)
ซึ่งหมายถึงการอธิบายอุดมการณโดยไมตีความวาอุดมการณจําเปนตองเปนความคิดที่
ผิดพลาดหรือแปลกแยกกับผลประโยชนของกลุมหรือชนชั้นใดชนชั้นหนึ่งเปนการ
เฉพาะอยางที่มารกซอธิบายไว แตอุดมการณประเภทนี้เปนหนึ่งในแงมุมของชีวิตทาง
สังคม อาจถูกนําเสนอในรูปแบบทางการเมืองรูปแบบตางๆ โดยไมไดคํานึงวาจะ
นําไปสูการปฏิวัติ ปฏิรูป การฟนฟู หรือเปนตัวจุดประกายนําไปสูการกอรูปใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลงหรือรักษาไวซึ่งระเบียบสังคมหรือไม
๒ . แ น ว คิด วา ดว ย อุด ม ก า ร ณเชิง วิพ า ก ษ (Critical Conception of
Ideology) ซึ่งแตกตางอยางตรงกันขามกับแนวคิดแรก โดยอธิบายอุดมการณวา เปน
แนวคิดหรือความเชื่อที่ผิดพลาดหรือเปนจิตสํานึกจอมปลอม ทอมปสันจัดใหมารกซ
อยูในประเภทความคิดนี้

More Related Content

What's hot

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตยSaiiew Sarana
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 

What's hot (15)

7.0
7.07.0
7.0
 
7.2
7.27.2
7.2
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
 
6.1
6.16.1
6.1
 
3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
Lesson8 bp
Lesson8 bpLesson8 bp
Lesson8 bp
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
Lesson7 bp
Lesson7 bpLesson7 bp
Lesson7 bp
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
Lesson6 bp
Lesson6 bpLesson6 bp
Lesson6 bp
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 

Viewers also liked (20)

Chapter 5 composition
Chapter 5 compositionChapter 5 composition
Chapter 5 composition
 
222
222222
222
 
444
444444
444
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
111
111111
111
 
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลองการสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
 
555
555555
555
 
2
22
2
 
580820 lesson 222
580820 lesson 222580820 lesson 222
580820 lesson 222
 
580808 lesson 333
580808 lesson 333580808 lesson 333
580808 lesson 333
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
333
333333
333
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Color theory
Color theoryColor theory
Color theory
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก  ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
2
22
2
 
Lesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhismLesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhism
 
Lesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunismLesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunism
 

Similar to 8.3

ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนiearn4234
 
คำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุดคำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุดChor Chang
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)pajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
10 ethics and lifestyle
10 ethics and lifestyle10 ethics and lifestyle
10 ethics and lifestyleetcenterrbru
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 

Similar to 8.3 (20)

1047
10471047
1047
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
Human2.3
Human2.3Human2.3
Human2.3
 
คำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุดคำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุด
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
Law dem-habermas
Law dem-habermasLaw dem-habermas
Law dem-habermas
 
10 ethics and lifestyle
10 ethics and lifestyle10 ethics and lifestyle
10 ethics and lifestyle
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 

More from manit akkhachat (18)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Buddhist studies
Buddhist studiesBuddhist studies
Buddhist studies
 
Test001
Test001Test001
Test001
 
610801 lesson 1
610801 lesson 1610801 lesson 1
610801 lesson 1
 
05
0505
05
 
04
0404
04
 
03
0303
03
 
02
0202
02
 
01
0101
01
 
Nrru 006
Nrru 006Nrru 006
Nrru 006
 
Nrru 005
Nrru 005Nrru 005
Nrru 005
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Lesson 4 christianity
Lesson 4 christianityLesson 4 christianity
Lesson 4 christianity
 
Lesson 1 religion
Lesson 1 religionLesson 1 religion
Lesson 1 religion
 

8.3

  • 1. ๑๗๐ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อุดมการณประชาธิปไตย อุดมการณประชาธิปไตย ก็คือ การเขาถึงเปาหมายสูงสุดของประชาธิปไตย โดยยึดหลักนิติธรรมอันกําหนดถึงสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค และความยุติธรรมใน หมูประชาชน ดําเนินการปกครองโดยถือหลักเสียงขางมากที่เคารพสิทธิของฝายขาง นอย รวมถึงมีการกําหนดหลักเกณฑการดําเนินการและการสืบทอดหรือเปลี่ยนแปลง ตําแหนงที่ตั้งอยูบนพื้นฐานแหงความยินยอมพรอมใจของประชาชนตามหลักอํานาจ อธิปไตยของปวงชน ชัยอนันต สมุทวณิช ไดกลาวถึงอุดมการณประชาธิปไตยที่สําคัญ วามีอยู ๗ ประการ5 ๖ ไดแก ๑. รากฐานอันสําคัญยิ่งของอุดมการณประชาธิปไตย ไดแก การมีศรัทธาใน ความสามารถ สติปญญาของมนุษย ในการที่จะสามารถรวมมือกันทํางาน และการ รูจักหาเหตุผล ความถูกตอง ๒. การมีศรัทธาในความสามารถที่จะใฝหาเหตุผลของมนุษย ทําใหอุดมการณ ประชาธิปไตยสนับสนุนสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น โดยการเปดโอกาสให ทุก ๆ ฝายเสนอขอเท็จจริง เหตุผล และความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาที่กําลังพิจารณา อยูใหหมดเสียกอน แลวจึงรวมกันตัดสินใจ จากหลักการนี้จึงเกิดการประกันสิทธิ เสรีภาพทางการพูด การพิมพโฆษณา และการเผยแพรการประชุม ตลอดจนเสรีภาพ ในการรวมกลุมจัดตั้งสมาคมและพรรคการเมือง ๓. อุดมการณประชาธิปไตยเชื่อวามนุษยทุกคนมีความเทาเทียมกัน ความเทา เทียมหรือความเสมอภาคนี้ไมไดหมายความถึงความเทาเทียมกันทางสติปญญาหรือ กายภาพ แตเปนความเสมอภาคตามกฎหมายและทางการเมือง โดยที่ทุกคนควร ไดรับการปฏิบัติจากเจาหนาที่ของรัฐและจากกฎหมายโดยเทาเทียมกัน ไมมีการ แบงแยกวาเปนเพศใด มีกําเนิดอยางไร มีฐานะเปนอยางไร ๔. อุดมการณประชาธิปไตยเชื่อวาอํานาจทางการปกครองของรัฐบาลเกิดขึ้น จากความยินยอมของประชาชนผูอยูใตการปกครองนั้น การใหความยินยอมเทากับ ๖ ชัยอนันต สมุทวณิช. (๒๕๒๔). การเลือกตั้ง พรรคการเมือง รัฐสภา และคณะทหาร. กรุงเทพฯ : บรรณ กิจ.
  • 2. ๑๗๑ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เปนการสรางความชอบธรรมใหกับกําลังหรืออํานาจ ดังนั้นรัฐบาลที่ชอบธรรม จึง ไดแกรัฐบาลที่เปนตัวแทนของประชาชน ๕. อุดมการณประชาธิปไตยเชื่อวาสถาบันทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ที่เปนกลไกในการปกครองรัฐบาลนั้นมีอยูเพื่อรับใชคนในสังคม ดังนั้นเสรีภาพสวน บุคคลจึงเปนสวนที่มีความ ๖. เนื่องจากความเชื่อดังกลาว ที่วารัฐเปนเพียงอุปกรณที่ชวยใหคนในสังคมมี ความสุขสมบูรณและรัฐอยูไดก็ดวยเปาหมายที่จะคุมครองชีวิตและทรัพยสิน และการ แสวงหาความสุขของคนในสังคม ดังนั้นประชาชนจึงมีสิทธิอันชอบธรรมที่จะทาการ คัดคาน ตอตานรัฐบาลที่ไมปฏิบัติตามจุดมุงหมายดังกลาว ๗. อุดมการณประชาธิปไตยเคารพในการตัดสินใจหรือมติของเสียงขางมาก และพิทักษความคิดเห็นและผลประโยชนของเสียงขางนอย อุดมการณประชาธิปไตย ดังกลาวนั้น จึงอาจเรียกวาเปนอุดมคติของการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งในความเปนจริงก็ยังไมไดเกิดขึ้นในทุก ๆ สังคม แตการที่จะบรรลุถึงอุดมคติทั้งเจ็ดประการนั้น ทั้งรัฐบาลและประชาชนจะตองมีความ เชื่อรวมกัน มีอุดมคติรวมกันเสียกอนวาอุดมคติเหลานี้เปนสิ่งที่พึงปรารถนา และ จะตองมุงมั่น พยายามที่จะขจัดอุป สรรคที่จะมากีดขวางห ลักการเหลานี้ดวย อุดมการณประชาธิปไตยจึงจะกลายมาเปนความจริงและเปนแนวทางในการปกครอง ประเทศไดดวย อุดมการณทางการเมือง ความหมายของอุดมการณทางการเมือง (Political Ideology) มีผูนิยาม หลากหลาย เชนหมายถึง ความคิด ความเชื่อ ที่มีแบบแผนเกี่ยวกับหลักการและ คุณคาทางการเมือง เปนความคิดความเชื่อที่มีแนวทางแนนอน มีเหตุผล มีจุดหมาย ปลายทาง และวัตถุประสงคที่มนุษยพยายามจะดําเนินการใหสัมฤทธิผล หรืออาจ หมายถึง ความคิดความเชื่อที่ทําใหเกิดกลไกควบคุม เพื่อบรรลุเปาหมายแหงความคิด ความเชื่อนั้น เชนอุดมการณมารกซิสม กอใหเกิดพรรคคอมมิวนิสตเพื่อสรางและ ควบคุมใหการปกครองบรรลุเปาหมายของอุดมการณ อุดมการณมิใชเปนเพียงปรัชญาการเมือง อุดมการณทางการเมืองจะเรียกรอง ใหมีการกระทําจากผูศรัทธาในอุดมการณ เกิดความรูสึกวาถูกตองที่จะกระทําตามนั้น อุดมการณทางการเมืองมักจะเชื่อมโยงกลุมคนกลุมใดกลุมหนึ่งเปนพิเศษ “ดังนั้น อุดมการณจึงมีขอเรียกรองที่จะใหคนยอมรับ เชื่อมั่น ศรัทธาเพื่อให เกิดความรวมมือกันในกลุมชนที่จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดังที่มุงไว” ขอควร สังเกตประการหนึ่งคือ ในภาษาอังกฤษคําที่เปนอุดมการณมักจะมีคําวา “ism” ตอทาย ซึ่งในภาษาไทยจะเปนคําวา “นิยม” เชน Liberalism หรือ เสรีนิยม นักปราชญทางรัฐศาสตร เดอ ท็อคเคอวิลล (De Tocqueville) กลาวให ความสําคัญกับอุดมการณวา “หากปราศจากอุดมการณแลว สังคมก็มิอาจจะตั้งอยู
  • 3. ๑๗๒ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา หรือเจริญเติบโตตอไปได เหตุวาเมื่อมนุษยไมมีความเชื่อมั่นรวมกันในความคิดอันใด อันหนึ่ง มนุษยก็ไมอาจดําเนินการใดๆ รวมกันได เมื่อขาดพฤติกรรมรวมดังกลาว มนุษยก็ยังคงมีอยูแตจะปราศจากสิ่งที่เรียกวา สังคม” ความสําคัญบทบาทของอุดมการณทางการเมือง ๑. เปนแรงผลักดันใหมนุษยทําสิ่งตางๆ ตามอุดมการณ ๒. เปนเปาหมายปลายทาง และรากฐานของหลักเกณฑตาง ๆ ทําใหสังคม พัฒนาไปขางหนา ๓. ทําใหมนุษยยอมเชื่อฟงและเกิดความรับผิดชอบตออุดมการณ ๔. ทําใหเกิดการรวมกลุมคนที่ยึดมั่นในอุดมการณเดียวกัน ๕. เปนการกลอมเกลาทางสังคมวามนุษยพึงมีหรือพึงใชชีวิตอยางไร องคประกอบของอุดมการณทางการเมือง อุดมการณมีหลากหลายแตทั้งหมดมีองคประกอบรวมกัน ดังนี้ ๑. คานิยม (Value) ทุกอุดมการณตางลวนเห็นวา คานิยมบ างอยางที่ อุดมการณตนเองยึดถือดีกวาคานิยมอื่นๆ และยังใชเปนเกณฑในการตัดสินความคิด ความเชื่อและการกระทําของอุดมการณอื่นๆ ดวย อีกทั้งยังเปนขออางเพื่อที่จะใชใน การชักจูงความคิดเห็นหรือเพื่อที่จะตอตานหรือยับยั้งความคิดอื่น มีสาระและน้ําเสียง หรือไปในแนวที่เปนจริยธรรม ศีลธรรม หรือบรรทัดฐานใหคนยึดถือปฏิบัติตาม เชน อุดมการณเสรีนิยม (Liberalism) มีคานิยมวาการตระหนักถึงศักยภาพของมนุษยแต ละคนเปนหนึ่งในเปาหมายสูงสุดของสังคม ซึ่งจะปรากฎเปนจริงไดก็แตเฉพาะใน ระบอบการเมืองที่พลเมืองแตละคนตางลวนมีอํานาจในการกําหนดนโยบายของรัฐไม แตกตางกัน ตรงกันขามกับอุดมการณฟาสซิสม (Fascism) ซึ่งมองมนุษยไมเทาเทียม กัน บางคนฉลาดกวาบางคน จึงใหความสําคัญกับคนที่เกงกวาฉลาดกวา และให ความสําคัญกับผูนําหรือผูปกครองเหนือสิทธิ เสรีภาพของปจเจกชน และความยิ่งใหญ ของเชื้อชาติตนเหนือเชื้อชาติอื่น ๒. วิสัยทัศนตอสังคมการเมืองในอุดมคติ (Vision of the Ideal Polity) แตละอุดมการณตางมีวิสัยทัศนวา สังคมการเมืองควรจะมีลักษณะอยางไร หากมี โอกาสในการบริหารจัดการสังคมการเมืองภายใตอุดมการณของตน เชน มารกซิสม (Marxism) เห็นวาหากสังคมไมมีการถือครองกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินของปจเจกชน (Private Property) ชนชั้นในสังคมก็จะสูญสลายหายไป เมื่อไมมีชนชั้นใดที่มีอํานาจ และการกดขี่ขูดรีดเหนือชนชั้นอื่น ซึ่งในทายที่สุดก็จะทําใหรัฐสูญสลายตามไปดวย ๓. มโนทัศนวาดวยธรรมชาติของมนุษย (Conception of Human Nature) อุดมการณทั้งหลายตางลวนมีความคิด ความเชื่อถึงธรรมชาติของมนุษยวาเปน อยางไร เชน เสรีนิยมคลาสสิค (Classical Liberalism) เชื่อวาโดยธรรมชาติมนุษย ทุกคนตองการเลือกตัวแทนและนโยบายที่ดีที่สุดเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้น เมื่อระบบ
  • 4. ๑๗๓ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การเมืองเปดโอกาสใหมีการเปดเผยขอมูล ขอเท็จจริงของนโยบายและความคิด ทางการเมืองของตัวนักการเมืองผานการหาเสียงเลือกตั้ง ประชาชนยอมตองเลือก แนวทางที่ดีที่สุดเพื่อประโยชนแกตนเองที่จะไดรับ ๔. ยุทธศาสตร (Strategy of Action) แตละอุดมการณมียุทธศาสตรในการ เปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองที่เปนอยูใหเปนสังคมเมืองที่ตนเองใฝฝน เชน มารกซิสม พยายามสรางจิตสํานึกทางชนชั้น (Class Consciousness) ใหเกิดขึ้นในหมูกรรมกร ผูใชแรงงานเพื่อลมลางระบบทุนนิยมแลวแทนที่ดวยระบบสังคมนิยม หรือเสรีนิยมที่ ไมตองการใหรัฐเขามาแทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประชาชน ตลอดจนการ ดําเนินชีวิตในดานตาง ๆ เชน การกิน การดื่ม การแตงกาย หรือแมกระทั่งพฤติกรรม ทางเพศดวยเชื่อวาจะเปนหนทางที่ดีที่สุดตอชีวิตของมนุษย ๕. ยุทธวิธีทางการเมือง (Political Tactics) ในขณะที่ยุทธศาสตรหมายถึง แผนแมบทของการบรรลุสูความสําเร็จตามความใฝฝน ยุทธวิธีคือ แผนการยอยในทาง ปฏิบัติที่มาจากแผนแมบทเพื่อบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการนั่นเอง อุดมการณทาง การเมืองแตละประเภทตางมียุทธวิธีทางการเมืองของตนเอง แมกระทั่งอุดมการณ เดียวกัน แตเมื่อแตกแขนงแยกยอยออกไปยังมียุทธวิธีที่แตกตางกัน เชน สังคมนิยม ซึ่งแตกแขนงออกไปเปนสังคมนิยมมารกซิสต (Marxist Socialism) และสังคมนิยม ประชาธิปไตย (Social Democratic) เปนตน ขณะที่สังคมนิยมมารกซิสตเห็นวา ระบบทุนนิยมจะลมสลายไดตองใชกําลังโคนลมโดยชนชั้นกรรมมาชีพเทานั้น แตสังคม นิยมประชาธิปไตยปฏิเสธการใชความรุนแรง อีกทั้งยังศรัทธาในสถาบันทางการเมือง ในระบอบประชาธิปไตยวาจะทําใหอุดมการณสังคมนิยมบรรลุผลได อุดมการณใหความหมายกับชีวิตหรือมอมเมาชีวิต ในดานบ วก มองวา อุดมการณผลักดันใหชีวิต สังคม ไป ขางหนาตาม อุดมการณ เปนคุณคาของชีวิตและของสังคมนั้น สรางสรรคสังคม ประเทศชาติ ให เจริญรุงเรืองตามอุดมการณ คนจํานวนไมนอยที่ยอมตายเพื่ออุดมการณทางการเมือง ที่ตนยึดมั่น ยกตัวอยาง เชน อุดมการณประชาธิปไตย ทําใหคนเห็นวาตัวเองมีคุณคา และสังคมใหโอกาสแกทุกคนในการสรางสรรคชีวิตของตนเอง อุดมการณทาง การเมืองที่สอนใหคนยอมเปนระเบิดพลีชีพเพื่อเปาหมายของอุดมการณของกลุม (ตัวอยางการยอมตัวเพื่ออุดมการณทางการเมือง) บางคนอาจไมเห็นดวย แตคนที่อยู ในอุดมการณนั้นเห็นวาคนนี้เปนแบบอยางที่นายกยอง เขาทําในสิ่งที่ถูกตองสมควร แลว ใน ดาน ล บ มารกซแล ะเอ งเก ล ส (Karl Marx, Friedrich Engels) ชี้วา “อุดมการณเปนมายา (illusion) หรือสํานึกจอมปลอม (false consciousness) เปนเครื่องมือที่ชนชั้นปกครองใหมอมเมาใหชนชั้นที่ถูกปกครองไมเห็นธาตุแทของการ ที่ตนถูกกดขี่ขูดรีดโดยชนชั้นที่ไดเปรียบ”
  • 5. ๑๗๔ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คารล ปอปเปอร (Karl Popper) เห็นวา “อุดมการณ คือ ระบบของ ความคิดที่ปดตัวเองจากโลกภายนอก (a closed system of thought)” เขา ยกตัวอยางวาระบบเผด็จการเบ็ดเสร็จในชวงระหวางสงครามโลกครั้งที่ ๑ และ ๒ ไม วาจะเปนระบบคอมมิวนิสตโซเวียตหรือนาซีเยอรมัน ลวนใชอุดมการณเปนเครื่องมือ ที่พวกเหลานี้ใชควบคุมสังคมใหประชนชนคลอยตาม และผูมีอํานาจที่อยูเบื้องหลังจะ ผูกขาดการตีความวาอะไรจริง อะไรเท็จ อะไรควรไมควร โดยไมยอมรับใหมีความคิด ความเชื่อที่แตกตางไปจากแนวการตีความของตน ดว ย เห ตุก า ร ณม อ งอุด ม ก า ร ณเชิง วิพ า ก ษ จ อ หน ท อ ม ปสัน (John Thompson) จึงแจกแจงอุดมการณออกเปน ๒ ประเภทใหญๆ คือ ๑. แนวคิดอิสระวาดวยอุดมการณ (Neutral Conception of Ideology) ซึ่งหมายถึงการอธิบายอุดมการณโดยไมตีความวาอุดมการณจําเปนตองเปนความคิดที่ ผิดพลาดหรือแปลกแยกกับผลประโยชนของกลุมหรือชนชั้นใดชนชั้นหนึ่งเปนการ เฉพาะอยางที่มารกซอธิบายไว แตอุดมการณประเภทนี้เปนหนึ่งในแงมุมของชีวิตทาง สังคม อาจถูกนําเสนอในรูปแบบทางการเมืองรูปแบบตางๆ โดยไมไดคํานึงวาจะ นําไปสูการปฏิวัติ ปฏิรูป การฟนฟู หรือเปนตัวจุดประกายนําไปสูการกอรูปใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงหรือรักษาไวซึ่งระเบียบสังคมหรือไม ๒ . แ น ว คิด วา ดว ย อุด ม ก า ร ณเชิง วิพ า ก ษ (Critical Conception of Ideology) ซึ่งแตกตางอยางตรงกันขามกับแนวคิดแรก โดยอธิบายอุดมการณวา เปน แนวคิดหรือความเชื่อที่ผิดพลาดหรือเปนจิตสํานึกจอมปลอม ทอมปสันจัดใหมารกซ อยูในประเภทความคิดนี้