SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
โครงงานภาษาไทย จัดทำโดย นางสาว อรณี  คุณสิงห์ ชั้น ม. 6/3 เลขที่ 25 เสนอ พ่อครู คเชนทร์  กองพิลา
ภาษาไทย ภาษาไทย เป็นภาษาทางการของประเทศไทย และภาษาแม่ของชาวไทย และชนเชื้อสายอื่นในประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไต ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางท่านเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับ ตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติกตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ เป็นที่ลำบากของชาวต่างชาติเนื่องจาก การออกเสียงวรรณยุกต์ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละคำ และการสะกดคำที่ซับซ้อน นอกจากภาษากลางแล้ว ในประเทศไทยมีการใช้ ภาษาไทยถิ่นอื่นด้วย
ชื่อภาษาและที่มา คำว่า ไทย หมายความว่า อิสรภาพ เสรีภาพ หรืออีกความหมายหนึ่งคือ ใหญ่ ยิ่งใหญ่ เพราะการจะเป็นอิสระได้จะต้องมีกำลังที่มากกว่า แข็งแกร่งกว่า เพื่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึก แม้คำนี้จะมีรูปเหมือนคำยืมจากภาษาบาลีสันสกฤต แต่แท้ที่จริงแล้ว คำนี้เป็นคำไทยแท้ที่เกิดจากกระบวนการสร้างคำที่เรียกว่า 'การลากคำเข้าวัด' ซึ่งเป็นการลากความวิธีหนึ่ง ตามหลักคติชนวิทยา คนไทยเป็นชนชาติที่นับถือกันว่า ภาษาบาลีซึ่งเป็นภาษาที่บันทึกพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นภาษาอันศักดิ์สิทธิ์และเป็นมงคล เมื่อคนไทยต้องการตั้งชื่อประเทศว่า ไท ซึ่งเป็นคำไทยแท้ จึงเติมตัว ย เข้าไปข้างท้าย เพื่อให้มีลักษณะคล้ายคำในภาษาบาลีสันสกฤตเพื่อความเป็นมงคลตามความเชื่อของตน ภาษาไทยจึงหมายถึงภาษาของชนชาติไทยผู้เป็นไทนั่นเอง
ระบบเสียง ระบบเสียงในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ        เสียงพยัญชนะ        เสียงสระ        เสียงวรรณยุกต์ พยัญชนะ         เสียงสัทอักษรพยัญชนะในภาษาไทย (เสียงแปร) มีอยู่ด้วยกัน 21 เสียง
สระ เสียงสระในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ สระเดี่ยว สระประสม และสระเกิน  สระเดี่ยว คือสระที่เกิดจากฐานเพียงฐานเดียว มีทั้งสิ้น 18 เสียง สระประสม คือสระที่เกิดจากสระเดี่ยวสองเสียงมาประสมกัน เกิดการเลื่อนของลิ้นในระดับสูงลดลงสู่ระดับต่ำ ดังนั้นจึงสามารถเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "สระเลื่อน" มี 3 เสียงดังนี้ เ–ีย /iaː/ ประสมจากสระ อี และ อา เ–ือ /ɯaː/ ประสมจากสระ อือ และ อา –ัว /uaː/ ประสมจากสระ อู และ อา ในบางตำราจะเพิ่มสระสระประสมเสียงสั้น คือ เ–ียะ เ–ือะ –ัวะ ด้วย แต่ในปัจจุบันสระเหล่านี้ปรากฏเฉพาะคำเลียนเสียงเท่านั้น เช่น เพียะ เปรี๊ยะ ผัวะ เป็นต้น
สระเกิน คือสระที่มีเสียงของพยัญชนะปนอยู่ มี 8 เสียงดังนี้ -ำ /am, aːm/ ประสมจาก อะ + ม (อัม) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาม) ใ– /aj, aːj/ ประสมจาก อะ + ย (อัย) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาย) ไ– /aj, aːj/ ประสมจาก อะ + ย (อัย) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาย) เ–า /aw, aːw/ ประสมจาก อะ + ว (เอา) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาว) ฤ /rɯ/ ประสมจาก ร + อึ (รึ) บางครั้งเปลี่ยนเป็น /ri/ (ริ) หรือ /rɤː/ (เรอ) ฤๅ /rɯː/ ประสมจาก ร + อือ (รือ) ฦ /lɯ/ ประสมจาก ล + อึ (ลึ) ฦๅ /lɯː/ ประสมจาก ล + อือ (ลือ) บางตำราก็ว่าสระเกินเป็นพยางค์ ไม่ถูกจัดว่าเป็นสระ สระบางรูปเมื่อมีพยัญชนะสะกด จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระ สามารถสรุปได้ตามตารางด้านขวา ¹ คำที่สะกดด้วย –ะ + ว นั้นไม่มี เพราะซ้ำกับ –ัว แต่เปลี่ยนไปใช้ เ–า แทน ² คำที่สะกดด้วย –อ + ร จะลดรูปเป็น –ร ไม่มีตัวออ เช่น พร ศร จร ซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระ โ–ะ ดังนั้นคำที่สะกดด้วย โ–ะ + ร จึงไม่มี ³ คำที่สะกดด้วย เ–อ + ย จะลดรูปเป็น เ–ย ไม่มีพินทุ์อิ เช่น เคย เนย เลย ซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระ เ– ดังนั้นคำที่สะกดด้วย เ– + ย จึงไม่มี ⁴ พบได้น้อยคำเท่านั้นเช่น เทอญ เทอม ⁵ มีพยัญชนะสะกดเป็น ย เท่านั้น เช่น ไทย ไชย
วรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ ในภาษาไทย (เสียงดนตรีหรือเสียงผัน) จำแนกออกได้เป็น 5 เสียง ได้แก่ เสียงสามัญ (ระดับเสียงกลาง) เสียงเอก (ระดับเสียงต่ำ) เสียงโท (ระดับเสียงสูง-ต่ำ) เสียงตรี (ระดับเสียงกลาง-สูง หรือ ระดับเสียงสูงอย่างเดียว) เสียงจัตวา (ระดับเสียงต่ำ-กึ่งสูง) ส่วน รูปวรรณยุกต์ มี 4 รูป ได้แก่ ไม้เอก ( -่ ) ไม้โท ( -้ ) ไม้ตรี ( -๊ ) ไม้จัตวา ( -๋ ) ทั้งนี้คำที่มีรูปวรรณยุกต์เดียวกัน ไม่จำเป็นต้องมีระดับเสียงวรรณยุกต์เดียวกัน ขึ้นอยู่กับระดับเสียงของอักษรนำด้วย เช่น ข้า (ไม้โท) ออกเสียงโทเหมือน ค่า (ไม้เอก) เป็นต้น
ไวยากรณ์ ภาษาไทยเป็นภาษาคำโดด คำในภาษาไทยจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไม่ว่าจะอยู่ในกาล (tense) การก (case) มาลา (mood) หรือวาจก (voice) ใดก็ตาม คำในภาษาไทยไม่มีลิงก์ (gender) ไม่มีพจน์ (number) ไม่มีวิภัตติปัจจัย แม้คำที่รับมาจากภาษาผันคำ (ภาษาที่มีวิภัตติปัจจัย) เป็นต้นว่าภาษาบาลีสันสกฤต เมื่อนำมาใช้ในภาษาไทย ก็จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูป คำในภาษาไทยหลายคำไม่สามารถกำหนดหน้าที่ของคำตายตัวลงไปได้ ต้องอาศัยบริบทเข้าช่วยในการพิจารณา เมื่อต้องการจะผูกประโยค ก็นำเอาคำแต่ละคำมาเรียงติดต่อกันเข้า ภาษาไทยมีโครงสร้างแตกกิ่งไปทางขวา คำคุณศัพท์จะวางไว้หลังคำนาม ลักษณะทางวากยสัมพันธ์โดยรวมแล้วจะเป็นแบบ 'ประธาน-กริยา-กรรม'
การยืมคำจากภาษาอื่น ภาษาไทยเป็นภาษาหนึ่งที่มีการยืมคำมาจากภาษาอื่นๆค่อนข้างสูงมาก มีทั้งแบบยืมมาจากภาษาในตระกูลภาษาไท-กะได ด้วยกันเอง และข้ามตระกูลภาษา โดยส่วนมากจะยืมมาจากภาษาบาลีภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ซึ่งมีทั้งรักษาคำเดิม ออกเสียงใหม่ สะกดใหม่ หรือเปลี่ยนความหมายใหม่ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน บางครั้งเป็นการยืมมาซ้อนคำ เกิดเป็นคำซ้อน คือ คำย่อยในคำหลัก มีความหมายเดียวกันทั้ง เช่น ดั้งจมูก โดยมีคำว่าดั้ง เป็นคำในภาษาไต ส่วนจมูก เป็นคำในภาษาเขมร อิทธิฤทธิ์ มาจาก อิทธิ (iddhi) ในภาษาบาลี ซ้อนกับคำว่า ฤทธิ (ṛddhi) ในภาษาสันสกฤต โดยทั้งสองคำมีความหมายเดียวกัน
คำที่ยืมมาจากภาษาบาลี-สันสกฤต คำจำนวนมากในภาษาไทย ไม่ใช้คำในกลุ่มภาษาไต แต่เป็นคำที่ยืมมาจากกลุ่มภาษาสันสกฤต-ปรากฤต โดยมีตัวอย่างดังนี้ รักษารูปเดิม หรือเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย วชิระ (บาลี:วชิระ [vajira]), วัชระ (สันส:วัชร [vajra]) ศัพท์ (สันส:ศัพทะ [śabda]), สัท (เช่น สัทอักษร) (บาลี:สัททะ [sadda]) อัคนี และ อัคคี (สันส:อัคนิ [agni] บาลี:อัคคิ [aggi]) โลก (โลก) - (บาลี-สันส:โลกะ [loka]) ญาติ (ยาด) - (บาลี:ญาติ (ยา-ติ) [ñāti]) เสียง พ มักแผลงมาจาก ว เพียร (มาจาก พิริยะ และมาจาก วิริยะ อีกทีหนึ่ง) (สันส:วีรยะ [vīrya], บาลี:วิริยะ [viriya]) พฤกษา (สันส:วฤกษะ [vṛkṣa]) พัสดุ (สันส: [vastu] (วัสตุ); บาลี: [vatthu] (วัตถุ))
เสียง -อระ เปลี่ยนมาจาก -ะระหรดี (หอ-ระ-ดี) (บาลี:หรติ [harati] (หะระติ)) เสียง ด มักแผลงมาจาก ต หรดี (หอ-ระ-ดี) (บาลี:หรติ [harati] (หะระติ) เทวดา (บาลี:เทวะตา [devatā] วัสดุ และ วัตถุ (สันส: [vastu] (วัสตุ); บาลี: [vatthu] (วัตถุ) กบิลพัสดุ์ (กะ-บิน-ละ-พัด) (สันส: [kapilavastu] (กปิลวัสตุ); บาลี: [kapilavatthu] (กปิลวัตถุ) เสียง บ มักแผลงมาจาก ป กบิลพัสดุ์ (กะ-บิน-ละ-พัด) (สันส: [kapilavastu] (กปิลวัสตุ); บาลี: [kapilavatthu] (กปิลวัตถุ)) บุพเพ และ บูรพ (บาลี: [pubba] (ปุพพ))
จบการนำเสนอ         ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
Basic Thai Language Course
Basic Thai Language CourseBasic Thai Language Course
Basic Thai Language Course101_languages
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศ
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศบทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศ
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศG ''Pamiiz Porpam
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
English Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทย
English Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทยEnglish Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทย
English Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทยThanya Wattanaphichet
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609CUPress
 
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมายบทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมายenoomtoe
 

What's hot (16)

1276933222 morpheme
1276933222 morpheme1276933222 morpheme
1276933222 morpheme
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
Basic Thai Language Course
Basic Thai Language CourseBasic Thai Language Course
Basic Thai Language Course
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
 
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศ
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศบทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศ
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศ
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
English Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทย
English Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทยEnglish Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทย
English Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทย
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
 
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมายบทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
 

Viewers also liked

Programme du festival Les Toiles Contemporaines 2012
Programme du festival Les Toiles Contemporaines 2012Programme du festival Les Toiles Contemporaines 2012
Programme du festival Les Toiles Contemporaines 2012association-panorama
 
πολυμεσα ελενη,ελενη
πολυμεσα ελενη,ελενηπολυμεσα ελενη,ελενη
πολυμεσα ελενη,ελενηEleni Panatha
 
DOCument Editie 2006
DOCument Editie 2006DOCument Editie 2006
DOCument Editie 2006gleduc
 
Gratuité des lycées français
Gratuité des lycées françaisGratuité des lycées français
Gratuité des lycées françaisAxelle Gamsi
 
Donkere wolken #36
Donkere wolken #36Donkere wolken #36
Donkere wolken #36Marly
 
Bibbank, een werknaam
Bibbank, een werknaamBibbank, een werknaam
Bibbank, een werknaamBibnet vzw
 
Webcare nieuwe stijl: de strijd om de ambassadeurs
Webcare nieuwe stijl: de strijd om de ambassadeursWebcare nieuwe stijl: de strijd om de ambassadeurs
Webcare nieuwe stijl: de strijd om de ambassadeursLudo Raedts
 
Vitae - Presentie netwerkbijeenkomst 6 januari 2011
Vitae - Presentie netwerkbijeenkomst 6 januari 2011Vitae - Presentie netwerkbijeenkomst 6 januari 2011
Vitae - Presentie netwerkbijeenkomst 6 januari 2011martijnsonneveld
 
часть3
часть3часть3
часть3loki_ua
 
5 jawapan praktis 012 bhg b
5 jawapan praktis 012 bhg b5 jawapan praktis 012 bhg b
5 jawapan praktis 012 bhg bKamarudin Jaafar
 
Perkaitan antara pendidikan sivik dan kewarganegaraan dengan kurikulum
Perkaitan antara pendidikan sivik dan kewarganegaraan dengan kurikulumPerkaitan antara pendidikan sivik dan kewarganegaraan dengan kurikulum
Perkaitan antara pendidikan sivik dan kewarganegaraan dengan kurikulumNur Fateha
 

Viewers also liked (20)

Virmalised
VirmalisedVirmalised
Virmalised
 
Voľný čas
Voľný časVoľný čas
Voľný čas
 
Programme du festival Les Toiles Contemporaines 2012
Programme du festival Les Toiles Contemporaines 2012Programme du festival Les Toiles Contemporaines 2012
Programme du festival Les Toiles Contemporaines 2012
 
πολυμεσα ελενη,ελενη
πολυμεσα ελενη,ελενηπολυμεσα ελενη,ελενη
πολυμεσα ελενη,ελενη
 
Lte
LteLte
Lte
 
DOCument Editie 2006
DOCument Editie 2006DOCument Editie 2006
DOCument Editie 2006
 
Gratuité des lycées français
Gratuité des lycées françaisGratuité des lycées français
Gratuité des lycées français
 
Donkere wolken #36
Donkere wolken #36Donkere wolken #36
Donkere wolken #36
 
Titov5.2
Titov5.2Titov5.2
Titov5.2
 
Bibbank, een werknaam
Bibbank, een werknaamBibbank, een werknaam
Bibbank, een werknaam
 
Webcare nieuwe stijl: de strijd om de ambassadeurs
Webcare nieuwe stijl: de strijd om de ambassadeursWebcare nieuwe stijl: de strijd om de ambassadeurs
Webcare nieuwe stijl: de strijd om de ambassadeurs
 
Vitae - Presentie netwerkbijeenkomst 6 januari 2011
Vitae - Presentie netwerkbijeenkomst 6 januari 2011Vitae - Presentie netwerkbijeenkomst 6 januari 2011
Vitae - Presentie netwerkbijeenkomst 6 januari 2011
 
часть3
часть3часть3
часть3
 
Föreläsning dramaturgi och manus
Föreläsning dramaturgi och manusFöreläsning dramaturgi och manus
Föreläsning dramaturgi och manus
 
Hot Japan戦略
Hot Japan戦略Hot Japan戦略
Hot Japan戦略
 
แนวข้อสอบรายวิชา313
แนวข้อสอบรายวิชา313แนวข้อสอบรายวิชา313
แนวข้อสอบรายวิชา313
 
ประเทศภูฏาน
ประเทศภูฏานประเทศภูฏาน
ประเทศภูฏาน
 
5 jawapan praktis 012 bhg b
5 jawapan praktis 012 bhg b5 jawapan praktis 012 bhg b
5 jawapan praktis 012 bhg b
 
Ssrn id381880
Ssrn id381880Ssrn id381880
Ssrn id381880
 
Perkaitan antara pendidikan sivik dan kewarganegaraan dengan kurikulum
Perkaitan antara pendidikan sivik dan kewarganegaraan dengan kurikulumPerkaitan antara pendidikan sivik dan kewarganegaraan dengan kurikulum
Perkaitan antara pendidikan sivik dan kewarganegaraan dengan kurikulum
 

Similar to โครงงานภาษาไทย อรณี

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่Piyarerk Bunkoson
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยguestd57bc7
 

Similar to โครงงานภาษาไทย อรณี (20)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 

โครงงานภาษาไทย อรณี

  • 1. โครงงานภาษาไทย จัดทำโดย นางสาว อรณี คุณสิงห์ ชั้น ม. 6/3 เลขที่ 25 เสนอ พ่อครู คเชนทร์ กองพิลา
  • 2. ภาษาไทย ภาษาไทย เป็นภาษาทางการของประเทศไทย และภาษาแม่ของชาวไทย และชนเชื้อสายอื่นในประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไต ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางท่านเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับ ตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติกตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ เป็นที่ลำบากของชาวต่างชาติเนื่องจาก การออกเสียงวรรณยุกต์ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละคำ และการสะกดคำที่ซับซ้อน นอกจากภาษากลางแล้ว ในประเทศไทยมีการใช้ ภาษาไทยถิ่นอื่นด้วย
  • 3. ชื่อภาษาและที่มา คำว่า ไทย หมายความว่า อิสรภาพ เสรีภาพ หรืออีกความหมายหนึ่งคือ ใหญ่ ยิ่งใหญ่ เพราะการจะเป็นอิสระได้จะต้องมีกำลังที่มากกว่า แข็งแกร่งกว่า เพื่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึก แม้คำนี้จะมีรูปเหมือนคำยืมจากภาษาบาลีสันสกฤต แต่แท้ที่จริงแล้ว คำนี้เป็นคำไทยแท้ที่เกิดจากกระบวนการสร้างคำที่เรียกว่า 'การลากคำเข้าวัด' ซึ่งเป็นการลากความวิธีหนึ่ง ตามหลักคติชนวิทยา คนไทยเป็นชนชาติที่นับถือกันว่า ภาษาบาลีซึ่งเป็นภาษาที่บันทึกพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นภาษาอันศักดิ์สิทธิ์และเป็นมงคล เมื่อคนไทยต้องการตั้งชื่อประเทศว่า ไท ซึ่งเป็นคำไทยแท้ จึงเติมตัว ย เข้าไปข้างท้าย เพื่อให้มีลักษณะคล้ายคำในภาษาบาลีสันสกฤตเพื่อความเป็นมงคลตามความเชื่อของตน ภาษาไทยจึงหมายถึงภาษาของชนชาติไทยผู้เป็นไทนั่นเอง
  • 4. ระบบเสียง ระบบเสียงในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ พยัญชนะ เสียงสัทอักษรพยัญชนะในภาษาไทย (เสียงแปร) มีอยู่ด้วยกัน 21 เสียง
  • 5. สระ เสียงสระในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ สระเดี่ยว สระประสม และสระเกิน สระเดี่ยว คือสระที่เกิดจากฐานเพียงฐานเดียว มีทั้งสิ้น 18 เสียง สระประสม คือสระที่เกิดจากสระเดี่ยวสองเสียงมาประสมกัน เกิดการเลื่อนของลิ้นในระดับสูงลดลงสู่ระดับต่ำ ดังนั้นจึงสามารถเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "สระเลื่อน" มี 3 เสียงดังนี้ เ–ีย /iaː/ ประสมจากสระ อี และ อา เ–ือ /ɯaː/ ประสมจากสระ อือ และ อา –ัว /uaː/ ประสมจากสระ อู และ อา ในบางตำราจะเพิ่มสระสระประสมเสียงสั้น คือ เ–ียะ เ–ือะ –ัวะ ด้วย แต่ในปัจจุบันสระเหล่านี้ปรากฏเฉพาะคำเลียนเสียงเท่านั้น เช่น เพียะ เปรี๊ยะ ผัวะ เป็นต้น
  • 6. สระเกิน คือสระที่มีเสียงของพยัญชนะปนอยู่ มี 8 เสียงดังนี้ -ำ /am, aːm/ ประสมจาก อะ + ม (อัม) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาม) ใ– /aj, aːj/ ประสมจาก อะ + ย (อัย) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาย) ไ– /aj, aːj/ ประสมจาก อะ + ย (อัย) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาย) เ–า /aw, aːw/ ประสมจาก อะ + ว (เอา) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาว) ฤ /rɯ/ ประสมจาก ร + อึ (รึ) บางครั้งเปลี่ยนเป็น /ri/ (ริ) หรือ /rɤː/ (เรอ) ฤๅ /rɯː/ ประสมจาก ร + อือ (รือ) ฦ /lɯ/ ประสมจาก ล + อึ (ลึ) ฦๅ /lɯː/ ประสมจาก ล + อือ (ลือ) บางตำราก็ว่าสระเกินเป็นพยางค์ ไม่ถูกจัดว่าเป็นสระ สระบางรูปเมื่อมีพยัญชนะสะกด จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระ สามารถสรุปได้ตามตารางด้านขวา ¹ คำที่สะกดด้วย –ะ + ว นั้นไม่มี เพราะซ้ำกับ –ัว แต่เปลี่ยนไปใช้ เ–า แทน ² คำที่สะกดด้วย –อ + ร จะลดรูปเป็น –ร ไม่มีตัวออ เช่น พร ศร จร ซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระ โ–ะ ดังนั้นคำที่สะกดด้วย โ–ะ + ร จึงไม่มี ³ คำที่สะกดด้วย เ–อ + ย จะลดรูปเป็น เ–ย ไม่มีพินทุ์อิ เช่น เคย เนย เลย ซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระ เ– ดังนั้นคำที่สะกดด้วย เ– + ย จึงไม่มี ⁴ พบได้น้อยคำเท่านั้นเช่น เทอญ เทอม ⁵ มีพยัญชนะสะกดเป็น ย เท่านั้น เช่น ไทย ไชย
  • 7. วรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ ในภาษาไทย (เสียงดนตรีหรือเสียงผัน) จำแนกออกได้เป็น 5 เสียง ได้แก่ เสียงสามัญ (ระดับเสียงกลาง) เสียงเอก (ระดับเสียงต่ำ) เสียงโท (ระดับเสียงสูง-ต่ำ) เสียงตรี (ระดับเสียงกลาง-สูง หรือ ระดับเสียงสูงอย่างเดียว) เสียงจัตวา (ระดับเสียงต่ำ-กึ่งสูง) ส่วน รูปวรรณยุกต์ มี 4 รูป ได้แก่ ไม้เอก ( -่ ) ไม้โท ( -้ ) ไม้ตรี ( -๊ ) ไม้จัตวา ( -๋ ) ทั้งนี้คำที่มีรูปวรรณยุกต์เดียวกัน ไม่จำเป็นต้องมีระดับเสียงวรรณยุกต์เดียวกัน ขึ้นอยู่กับระดับเสียงของอักษรนำด้วย เช่น ข้า (ไม้โท) ออกเสียงโทเหมือน ค่า (ไม้เอก) เป็นต้น
  • 8. ไวยากรณ์ ภาษาไทยเป็นภาษาคำโดด คำในภาษาไทยจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไม่ว่าจะอยู่ในกาล (tense) การก (case) มาลา (mood) หรือวาจก (voice) ใดก็ตาม คำในภาษาไทยไม่มีลิงก์ (gender) ไม่มีพจน์ (number) ไม่มีวิภัตติปัจจัย แม้คำที่รับมาจากภาษาผันคำ (ภาษาที่มีวิภัตติปัจจัย) เป็นต้นว่าภาษาบาลีสันสกฤต เมื่อนำมาใช้ในภาษาไทย ก็จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูป คำในภาษาไทยหลายคำไม่สามารถกำหนดหน้าที่ของคำตายตัวลงไปได้ ต้องอาศัยบริบทเข้าช่วยในการพิจารณา เมื่อต้องการจะผูกประโยค ก็นำเอาคำแต่ละคำมาเรียงติดต่อกันเข้า ภาษาไทยมีโครงสร้างแตกกิ่งไปทางขวา คำคุณศัพท์จะวางไว้หลังคำนาม ลักษณะทางวากยสัมพันธ์โดยรวมแล้วจะเป็นแบบ 'ประธาน-กริยา-กรรม'
  • 9. การยืมคำจากภาษาอื่น ภาษาไทยเป็นภาษาหนึ่งที่มีการยืมคำมาจากภาษาอื่นๆค่อนข้างสูงมาก มีทั้งแบบยืมมาจากภาษาในตระกูลภาษาไท-กะได ด้วยกันเอง และข้ามตระกูลภาษา โดยส่วนมากจะยืมมาจากภาษาบาลีภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ซึ่งมีทั้งรักษาคำเดิม ออกเสียงใหม่ สะกดใหม่ หรือเปลี่ยนความหมายใหม่ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน บางครั้งเป็นการยืมมาซ้อนคำ เกิดเป็นคำซ้อน คือ คำย่อยในคำหลัก มีความหมายเดียวกันทั้ง เช่น ดั้งจมูก โดยมีคำว่าดั้ง เป็นคำในภาษาไต ส่วนจมูก เป็นคำในภาษาเขมร อิทธิฤทธิ์ มาจาก อิทธิ (iddhi) ในภาษาบาลี ซ้อนกับคำว่า ฤทธิ (ṛddhi) ในภาษาสันสกฤต โดยทั้งสองคำมีความหมายเดียวกัน
  • 10. คำที่ยืมมาจากภาษาบาลี-สันสกฤต คำจำนวนมากในภาษาไทย ไม่ใช้คำในกลุ่มภาษาไต แต่เป็นคำที่ยืมมาจากกลุ่มภาษาสันสกฤต-ปรากฤต โดยมีตัวอย่างดังนี้ รักษารูปเดิม หรือเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย วชิระ (บาลี:วชิระ [vajira]), วัชระ (สันส:วัชร [vajra]) ศัพท์ (สันส:ศัพทะ [śabda]), สัท (เช่น สัทอักษร) (บาลี:สัททะ [sadda]) อัคนี และ อัคคี (สันส:อัคนิ [agni] บาลี:อัคคิ [aggi]) โลก (โลก) - (บาลี-สันส:โลกะ [loka]) ญาติ (ยาด) - (บาลี:ญาติ (ยา-ติ) [ñāti]) เสียง พ มักแผลงมาจาก ว เพียร (มาจาก พิริยะ และมาจาก วิริยะ อีกทีหนึ่ง) (สันส:วีรยะ [vīrya], บาลี:วิริยะ [viriya]) พฤกษา (สันส:วฤกษะ [vṛkṣa]) พัสดุ (สันส: [vastu] (วัสตุ); บาลี: [vatthu] (วัตถุ))
  • 11. เสียง -อระ เปลี่ยนมาจาก -ะระหรดี (หอ-ระ-ดี) (บาลี:หรติ [harati] (หะระติ)) เสียง ด มักแผลงมาจาก ต หรดี (หอ-ระ-ดี) (บาลี:หรติ [harati] (หะระติ) เทวดา (บาลี:เทวะตา [devatā] วัสดุ และ วัตถุ (สันส: [vastu] (วัสตุ); บาลี: [vatthu] (วัตถุ) กบิลพัสดุ์ (กะ-บิน-ละ-พัด) (สันส: [kapilavastu] (กปิลวัสตุ); บาลี: [kapilavatthu] (กปิลวัตถุ) เสียง บ มักแผลงมาจาก ป กบิลพัสดุ์ (กะ-บิน-ละ-พัด) (สันส: [kapilavastu] (กปิลวัสตุ); บาลี: [kapilavatthu] (กปิลวัตถุ)) บุพเพ และ บูรพ (บาลี: [pubba] (ปุพพ))
  • 12. จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ