SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง
ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
มาตรฐานที่ ๔.๑
เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญา
ทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐานที่ ๔.๑
เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปั ญญา
ทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
วิเคราะห์ชนิด และหน้าที่ของคาในประโยค
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
๑. อธิบายชนิดและหน้าที่ของคาวิเศษณ์ (K)
๒. วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคาวิเศษณ์ในประโยค ( P)
๓. เห็นความสาคัญของชนิดและหน้าที่ของคาวิเศษณ์ใน
ประโยค (A)
คาวิเศษณ์
เด็กอ้วน ขาวกระต่าย น้องกินข้าวขนม หวาน เก่ง
คาวิเศษณ์
คาวิเศษณ์ คือ คาที่ทาหน้าที่ขยายคาอื่น ให้มีความหมายชัดเจนขึ้น
ชนิดของคาวิเศษณ์
๑. วิเศษณ์บอกลักษณะ
๒. วิเศษณ์บอกเวลา
๓. วิเศษณ์บอกสถานที่
๔. วิเศษณ์บอกปริมาณหรือจานวน
๕. วิเศษณ์ไม่ชี้เฉพาะ
๖. วิเศษณ์ชี้เฉพาะ
๘. วิเศษณ์แสดงคาขานรับ
และโต้ตอบ
๗. วิเศษณ์บอกคาถาม
๙. วิเศษณ์บอกปฏิเสธ
ชนิดของคาวิเศษณ์
๑. วิเศษณ์บอกลักษณะ (ลักษณวิเศษณ์) ได้แก่ คาที่ใช้ขยายหรือประกอบ
คาอื่นเพื่อบอกลักษณะของคานั้นๆ แบ่งออกได้ดังนี้
- บอกสี เช่น ขาว ดา แดง เหลือง เขียว
แตงโมมีเปลือกสีเขียวเนื้อสีแดง และมีเมล็ดสีดา
- บอกรส เช่น เผ็ด หวาน มัน เปรี้ยว เค็ม ฝาด
แม่ทาแกงเผ็ดเป็ดย่างอร่อยมาก เค้กเป็นขนมหวานที่น้องชอบ
- บอกกลิ่น เช่น หอม หืน เหม็น ฉุน
ดอกกุหลาบมีสีสวยและกลิ่นหอม
- บอกขนาด เช่น ใหญ่ เล็ก กว้าง แคบ บาง
บ้านหลังใหญ่อยู่กลางทุ่งกว้าง
- บอกสัณฐาน เช่น กลม แบน รี ป้อม เหลี่ยม
พิซซ่ามีลักษณะเป็นแผ่นกลมแบน
- บอกอาการ เช่น ด่วน เร็ว ไว ช้า เฉื่อย
รถไฟแล่นช้า
รถยนต์แล่นเร็ว
- บอกชนิด เช่น ดี เลิศ วิเศษ ชั่ว เลว ผิด ถูก พอใช้ ปานกลาง
ตารวจเป็นคนดี ผู้ร้ายเป็นคนเลว
- บอกเสียง เช่น เพราะ ไพเราะ ดัง ค่อย แหบ
น้องร้องไห้เสียงดัง
มาช่าร้องเพลงเพราะ
๒. วิเศษณ์บอกเวลา (กาลวิเศษณ์) คือคาที่ใช้ขยายคาอื่นเพื่อ
บอกเวลา เช่น เช้า สาย เที่ยง บ่าย เย็น ค่า
วันนี้ฉันตื่นสาย คุณยายเดินเล่นเวลาเช้า เสมอ
๓. วิเศษณ์บอกสถานที่ (สถานวิเศษณ์) คือ คาที่ใช้ขยายหรือ
ประกอบคาอื่น เพื่อบอกสถานที่ เช่น ใกล้ ไกล เหนือ ใต้
บน ล่าง ห่าง ชิด หน้า หลัง นอก ใน
น้องเดินข้างหน้าพี่เดินข้างหลัง เฮลิคอปเตอร์บินไปทางทิศเหนือ
๔. วิเศษณ์บอกปริมาณหรือจานวน (ประมาณวิเศษณ์) คือ
คาที่ขยายหรือประกอบคาอื่นเพื่อบอกปริมาณหรือจานวน
เช่น มาก หลาย เต็ม น้อย บาง บ้าง ทุก หมด หนึ่ง ที่
หนึ่ง
เด็กหลายคนวิ่งตามกันไปที่สนาม
ต้อยติ่งตั้งใจเรียนมาก
๕. วิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ (อนิยมวิเศษณ์) คือคาที่ใช้
ขยายคาอื่นโดยไม่บอกกาหนดแน่นอน เช่น อะไร ไหน ใย
ไฉน ใด อื่น
คุณจะเลือกเสื้อตัวไหนก็ได้
ขนมอะไรฉันก็กินได้หมด
๖. วิเศษณ์ชี้เฉพาะ (นิยมวิเศษณ์) คือคาที่ใช้ขยายคาอื่น
เพื่อบอกกาหนดที่แน่นอน เช่น นี่ โน่น นี้ นั้น โน้น เอง
บ้านนี้มีต้นเฟื่องฟ้าหน้าบ้าน ฉันทากับข้าวเอง
๗. วิเศษณ์บอกคาถาม (ปฤจฉาวิเศษณ์) คาที่ใช้ขยาย เพื่อบอก
ความสงสัย หรือคาถาม เช่น ใคร อะไร ไหน หรือ ใย ไฉน
ใด ทาไม
ทาไมเธอไม่ทาการบ้าน การเล่นฟุตบอลมีกติกาอย่างไร
๘. วิเศษณ์แสดงคาขานรับและโต้ตอบ (ประติชญาวิเศษณ์) คือ
คาที่ใช้แสดงการรับรองและเรียกขานในการตอบโต้กัน เช่น จ๋า
จ้ะ ขา ครับ ขอรับ ค่ะ
แม่จ๋าหนูหิวข้าว เจ้านายมีอะไรให้ผมรับใช้ขอรับ
๙. วิเศษณ์บอกปฏิเสธ (ประติเษธวิเศษณ์) คือ คาที่ประกอบคาอื่น
เพื่อบอกความหมายห้าม เช่น อย่า ไม่ได้ ไม่ ไม่ได้ ไม่ใช่
ฉันยังไม่ได้อ่านหนังสือเลย
อย่าขับรถแซงในที่คับขัน
นักเรียนไม่ควรหลับในห้องเรียน
ทาไมลูกจึงไม่เชื่อฟังแม่เลย
เธอจะมาทาโศกเศร้าอย่างนี้ไม่ได้นะ
เงินทองไม่ใช่ของหาง่าย
ข้อสังเกต
ภาษาไทยมีลักษณะพิเศษ คือ คาเดียวกันทาหน้าที่ได้หลายอย่าง
สาหรับคาวิเศษณ์ก็เช่นเดียวกันอาจเป็นคาชนิดอื่นได้อีก เช่น
วิเศษณ์ชี้เฉพาะ นี่ นั่น โน่น นี้ นั้น โน้น อาจเป็น นิยมสรรพ
นาม ตามที่กล่าวมาแล้ว
เป็นวิเศษณ์ชี้เฉพาะนาฬิกานี่เป็นของฉัน
เป็นนิยมสรรพนามนี่เป็นนาฬิกาของฉัน
วิเศษณ์ไม่ชี้เฉพาะ อะไร ไหน ใด อาจเป็น สรรพนามไม่ชี้เฉพาะ
ตามที่กล่าวมาแล้ว
ข้อสังเกต
ปัญหาใด ๆ ล้วนมีทางแก้
ใด ๆ ในโลกล้วนอนิจจัง
เป็น วิเศษณ์ไม่ชี้เฉพาะ
เป็น สรรพนามไม่ชี้เฉพาะ
เมื่อนาคาวิเศษณ์ออกจากประโยค ใจความของประโยคก็ยังคง
สมบูรณ์ แต่อาจไม่ชัดเจนเท่ากับประโยคที่มีคาวิเศษณ์ประกอบอยู่ด้วย
เช่น - นักเรียนเข้าห้องประชุม
- นักเรียนทั้งหมด เข้าห้องประชุม
( “ทั้งหมด” เป็นวิเศษณ์ขยายคานาม “นักเรียน”)
ข้อสังเกต
หน้าที่ของคาวิเศษณ์
คาวิเศษณ์ ทาหน้าที่ขยายคานาม คาสรรพนาม คากริยา และคาวิเศษณ์
ด้วยกันเอง มักวางไว้ข้างหลังคาที่ขยาย ซึ่งคาที่ถูกขยายอาจเป็นประธาน
กรรม หรือคาขยายก็ได้ ดังนี้
๑. ขยายคานาม อาจวางไว้ข้างหน้า ข้างหลัง หรือทั้งข้างหน้าและ
ข้างหลังคานามก็ได้ เช่น
เด็กดีมีความอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่
๒. ขยายคาสรรพนาม เช่น
ท่านทั้งหลายกรุณาพร้อมใจไปเลือกตั้ง เราทุกคนต้องช่วยกันปลูกต้นไม้
คนอ้วนกินจุน้องเดินช้า
๓. ขยายคากริยา เช่น
๔. ขยายคาวิเศษณ์ เช่น
คนอ้วนกินจุมาก
น้องเดินช้ามาก
๕. ทาหน้าที่เป็นตัวแสดงกริยาอาการในประโยค เช่น
ดอกไม้บานแล้ว
สุดาเต้นเก่ง
ให้นักเรียนเติมคาวิเศษณ์ลงในช่องว่างโดยพิจารณาให้เหมาะสมกับ
ข้อความที่กาหนดให้
๑. เขามาโรงเรียน...................จนคุณครูต้องตักเตือน
๒. บ้านหลัง....................เป็นของเธอคนเดียว
๓. ดอกกุหลาบมีกลิ่น...................และหนาม..................
๔. น้าร้อนปลา...................น้าเย็นปลา..................
๕. ฝนตก...................ทาให้น้าท่วมสุโขทัย
จบเรื่องคาวิเศษณ์แล้วค่ะ
นักเรียนทุกคนตั้งใจเรียนดีมาก
รับรางวัลไปเลยค่ะ

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทงานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทKu'kab Ratthakiat
 
งานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธานงานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธานKu'kab Ratthakiat
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานKu'kab Ratthakiat
 
การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..Moo Moo
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609CUPress
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 

What's hot (20)

คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
คำอุทาน
คำอุทาน คำอุทาน
คำอุทาน
 
คำสันธาน 2
คำสันธาน 2คำสันธาน 2
คำสันธาน 2
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
งานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทงานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบท
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
งานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธานงานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธาน
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 

Similar to คำวิเศษณ์

คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6thaneerat
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยthaneerat
 
Research 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichaiResearch 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichailittle-pig
 
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์ปวริศา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำLadawan Munchit
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 

Similar to คำวิเศษณ์ (19)

Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
Research 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichaiResearch 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichai
 
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
kumprasom
kumprasomkumprasom
kumprasom
 
เก็บคะแนน คำนาม
เก็บคะแนน คำนามเก็บคะแนน คำนาม
เก็บคะแนน คำนาม
 

คำวิเศษณ์