SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ความเป็ นมาของกีตาร์   By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
ประวัตความเป็ นมาของกีตาร์
       ิ
              กีตาร์ถือเป็ นเครื่ องดนตรี ที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่งของมนุษย์เพียงแต่ชื่อเรี ยกและรู ปร่ างย่อมแตกต่างกัน
ไปตามแต่ละยุคสมัย ซึ่งเริ่ มเป็ นที่นิยมในแถบเปอร์เซียและตะวันออกกลางหลายประเทศต่อมาได้เผยแพร่ ไปยังกรุ ง
                                                            โรมโดยชาวโรมันหรื อชาวมัวร์ จากนั้นก็เริ่ มได้รับความ
                                                            นิยมในสเปน ในยุโรปกีตาร์มกเป็ นที่นิยมในหมู่ชนชั้นสูง
                                                                                              ั
                                                              และมีเชื้อพระวงศ์หลายพระองค์ที่ให้ความสนใจและศึกษา
                                                            อย่างเช่น Queen Elizabeth I ซึ่งโปรดกับ Lute lซึ่ งถือว่าเป็ น
                                                                              ็่
                                                            ต้นแบบของกีตาร์กวาได้ แต่การพัฒนาที่แท้จริ งนั้นได้เกิด
                                                                  จากการที่นกดนตรี ได้นามันไปแสดงหรื อเล่นร่ วมกับวง
                                                                            ั            ํ
                                                            ดนตรี ของประชาชนทัว ๆ ไปทําให้มีการเผยแพร่ ไปยังระดับ
                                                                                 ่
                                                                ประชาชนจนได้มีการนําไปผสมผสานเข้ากับเพลงพื้นบ้าน
                                                            ทัว ๆ ไปและเกิดแนวดนตรี ในแบบต่าง ๆ มากขึ้น
                                                              ่

                     ้                                                       ็
                   ผูหนึ่งที่สมควรจะกล่าวถึงเมื่อพูดถึงประวัติของกีตาร์กคือ Fernando Sor             ซึ่งถือว่าเป็ นผูที่มี
                                                                                                                      ้
ความสําคัญและมีอิทธิพลต่อวงการกีตาร์เป็ นอันมาก เนื่องจาการอุทิศตนให้กบ          ั
การพัฒนารู ปแบบการเล่นกีตาร์เทคนิคต่าง ๆ และได้แต่งตําราไว้มากมาย ในปี
1813 เขาเดินทางไปยังปารี ตซึ่งเขาได้รับความสําเร็ จและความนิยมอย่างมาก
จากนั้นก็ได้เดินทางไปยังลอนดอนโดยพระราชูปถัมป์ ของ Duke of Sussex และที่
นันการแสดงของเขาทําให้กีตาร์เริ่ มได้รับความนิยม จากอังกฤษเขาได้เดินทางไป
    ่
ยังปรัสเซีย รัสเซียและได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากชาวเมืองเซนต์ ปี เตอร์
เบิร์ก ซึ่งที่นนเขาได้แต่งเพลงที่มีความสําคัญอย่างมากเพลงหนึ่งถวายแก่พระเจ้า
               ่ั
Nicolus I จากนั้นเขาก็ได้กลับมายังปารี ตจนกระทังเสี ยชีวิตเมื่อปี 1839 หลังจาก
                                                    ่
นั้นได้มีการเรี ยนีการสอนทฤษฎีกีตาร์ที่เด่นชัดและสมบูรณ์มากขึ้น ทําให้กีตาร์
ได้รับการพัฒนาอย่างมาก หลังจากนั้นมีอีกผูหนึ่งที่มีความสําคัญต่อกีตาร์
                                                  ้
เช่นกันคือ Francisco Tarrega (1854-1909) ซึ่งเกิดมาในครอบครัวที่ยากจนแต่ดวย        ้
ความสามารถด้านดนตรี ของเขาก็ทาให้เขาประสบความสําเร็ จจนได้จากการแสดง
                                         ํ
ณ Alhambra Theater จากนั้นเขาได้เดินทางไปยัง Valencia, Lyons และ Paris เขา
ได้รับการยกย่องว่าได้รวมเอาคุณสมบัติของเครื่ องดนตรี 3 ชนิดมารวมกันคือ
ไวโอลิน, เปี ยโน และ รวมเข้ากับเสี ยงของกีตาร์ได้อย่างไพเราะกลมกลืน ทุกคนที่ได้ฟังเขาเล่นต่างบอกว่าเขาเล่นได้
อย่างมีเอกลักษณ์และสําเนียงที่มีความไพเราะน่าทึ่ง           หลังจากเขาประสบความสําเร็ จใน London, Brussels,Berne
                                                              ั
และ Rome เขาก็ได้เดินทางกลับบ้านและได้เริ่ มอุทิศตนให้กบการแต่งเพลงและสอนกีตาร์อย่างจริ งจัง ซึ่งนักกีตาร์ใน
รุ่ นหลัง ๆ ได้ยกย่องว่าเขาเป็ นผูริเริ่ มการสอนกีตาร์ยคใหม่ (ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Fernando_Sor)
                                  ้                    ุ


                                                                ความเป็ นมาของกีตาร์   By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
อีกคนหนึ่งที่จะขาดไม่ได้คือ Andres Sergovia ผูซ่ ึงเดินทาง
                                                                                                              ้
                                                         แสดงและเผยแพร่ กีตาร์มาแล้วเกือบทัวโลกเพื่อให้คน ได้รู้จก
                                                                                               ่                        ั
                                                         กีตาร์มากขึ้น (แต่คงไม่ได้มาเมืองไทยน่ะครับ) ทั้งการแสดง
                                                         เดี่ยวหรื อเล่นกับวงออเคสตร้า จนเป็ นแรงบันดาลใจให้มีการ
                                                         แต่งตําราและบทเพลงของกีตาร์ข้ ึนมาอีกมากมาย อันเนื่อง มา
                                                         จากการเผยแพร่ ความรู ้ในเรื่ องกีตาร์อย่างเปิ ดเผยและจริ งจังของ
                                                         เขาผูน้ ี นอกจากนี้ผลงานต่าง ๆ ของเขาได้ทาให้ประวัติศาสตร์
                                                               ้                                       ํ
กีตาร์เปลี่ยนหน้าใหม่เพราะทําให้นกีตาร์ได้มี โอกาสแสดงใน concert hall มากขึ้น และ ทําให้เกิดครู และหลักสู ตร
                                       ั
กีตาร์ข้ ึนในโรงเรี ยนดนตรี อีกด้วยสําหรับการร้องไปพร้อมกับกีตาร์ได้เริ่ มมีข้ ึน เมื่อสามารถปรับให้ระดับเสี ยงของ
กีตาร์น้ นเข้ากับเสี ยงร้องได้ ซึ่งผมเข้าใจว่าในอดีตกีตาร์มีไว้บรรเลงมากกว่าแต่เมื่อสามารถผสมผสานเสี ยง ของกีตาร์
            ั
กับเสี ยงร้องได้การร้องคลอไปกับกีตาร์จึงเริ่ มเป็ นที่นิยมมากขึ้น นักร้องนักกีตาร์(คือทั้งเล่นทั้งร้อง) น่าจะมาจากนักร้อง
ในยุคกลางซึ่งเป็ นชนชั้นสู งได้ปลีกตัวไปทํางานในแบบที่เป็ น อิสระและอยากจะทําจึงมี การ ผสมกันกับรู ปแบบของ
ดนตรี พ้ืนบ้านมากขึ้น ซึ่งงานดนตรี จึงแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
               1. เป็ นงานประพันธ์เพื่อจรรโลงโลกหรื อมีความจริ งจังในทางดนตรี เพือการ แสดงเป็ นส่ วนใหญ่ ก็คือ
                                                                                       ่
เพลงคลาสสิ กนันเอง ่
              2. งานที่สร้างจากคนพื้นบ้านจากการถ่ายทอดจากพ่อสู่ ลูกลูกสู่หลาน เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาและ
สภาพความเป็ นอยู่ แสดงถึงวิถีการดําเนินชีวิต ใช้ในการผ่อนคลายจากการงานความทุกข์ความยากจน เล่าเหตุการณ์
                                                                                                           ่
ต่าง ๆ อันได้มาจากประสบการณ์หรื อสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัวขณะนั้นจึงมีความเป็ นธรรมชาติอยูมากและโดยที่
                                                                           ่
ทั้ง 2 ส่ วนดังกล่าวได้มีการแลกเปลี่ยนถ่ายทอดความรู ้ซ่ ึงกันและกันอยูตลอดเวลา จากอดีตถึงปัจจุบนจนมีการซึมซับ
                                                                                                         ั
เข้าไปยังเนื้อเพลงและทํานองเพลงทําให้เกิด รู ปแบบของดนตรี ในแบบใหม่ ๆมากขึ้นเรื่ อย ๆ
               ในอเมริ กา ผูที่เข้าไปอาศัยได้นาเอาดนตรี และการเต้นรําของพวก
                             ้                 ํ
เขาเข้ามาด้วยเช่นพวกทหาร นักสํารวจ พวกเคาบอยหรื อคนงานเหมืองทําให้
มีการผสมผสานกันในรู ปแบบของดนตรี และที่สาคัญที่สุดคือพวก อเมริ กน
                                                     ํ                          ั
                                   ่                   ้ ํ
นิโกร ซึ่งส่ วนใหญ่จะอยูในฐานะทาสซึ่งเป็ นผูให้กาเนิดเพลงบลูส์นนเอง          ่ั
ซึ่งส่ วนใหญ่แสดงถึงความยากลําบาก ความยากจนถ่ายทอดมาในบทเพลง
                                 ่
สไตล์ของพวกเขาเพื่อได้ผอนคลายจากความเหนื่อยยากและเล่นง่าย ๆ ด้วย
          ั
กีตาร์กบเม้าท์ออร์แกนเป็ นต้น ซึ่งเพลงบลูส์นนเองที่เป็ นพื้นฐานของดนตรี
                                                  ่ั
                           ่
อีกหลาย ๆ ประเภทไม่วาจะเป็ นเพลงร็ อคหรื อแจ๊สในปัจจุบน จนเดี๋ยวนี้
                                                                 ั
กีตาร์มีความสําคัญกับดนตรี แทบทุกชนิด
                       ่
                  แม้วากีตาร์จะถูกสร้างมาหลายรู ปแบบแต่แบบที่ถือว่าดีที่สุดคงเป็ นแบบ สแปนนิช 6 สาย ซึ่งถือว่าเป็ น
การพัฒนาที่ดีอย่างมากทั้งด้านการประดิษฐ์และด้านเทคนิค ซึ่งสามารถใช้เล่นในงานแสดงคอนเสิ ร์ท(หมายถึงดนตรี
คลาสสิ ก) หรื อเล่นเพลงทัว ๆ ไปทําให้รูปทรงกีตาร์แบบนี้เป็ นที่นิยมจนปัจจุบน เริ่ มจากในศตวรรษที่ 18 ได้มีการ
                               ่                                                  ั
เปลี่ยนจากสายที่เป็ นสายคู่มาเป็ นสายเดี่ยวและเปลี่ยนจาก 5 สายเป็ น 6 สาย ช่างทํากีตาร์ในยุคศตวรรษที่ 19 ได้ขยาย


                                                              ความเป็ นมาของกีตาร์   By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
ขนาดของ body เพิ่มส่ วนโค้งของสะโพกลดส่ วนผิวหน้าที่นูนออกมา และ
                                              เปลี่ยนแปลงโครงยึดภายใน ลูกบิดไม้แบบ เก่าถูกเปลี่ยนเป็ นแบบใหม่ ในยุค
                                              เดียวกันนี้ Fernando Sor ซึ่งได้กล่าวมาในข้างต้นแล้วเป็ นผูที่พฒนาและทําให้
                                                                                                             ั
                                              เครื่ องดนตรี น้ ีเป็ นที่ ยอมรับและใช้ในการแสดงได้จนกระทังมาถึงยุคของ
                                                                                                          ่
                                                                                              ั
                                              Andres Segovia ได้คิดดัดแปลงให้สามารถใช้กบไฟฟ้ าได้ ซึ่งเป็ นการพัฒนาอีก
                                              ระดับของเพลงป๊ อปในอเมริ กาในช่วง 1930 กีตาร์ไฟฟ้ าต้นแบบช่วงนั้นเป็ นแบบ
                                              ทรงตันและหลักการนําเสี ยงจากกีตาร์ไปผสมกับ กระแสไฟฟ้ าแล้วขยายเสี ยง
                                              ออกมานั้นทําให้นกดนตรี และนักประดิษฐ์
                                                                     ั
                                                          ั
                                              ชาวอเมริ กน ซึ่งชื่อเขาพวกเรารู ้จกกันดีใน
                                                                                   ั
นามของโมเดลหนึ่งของกิ๊บสันนันก็คือ Les Paul ได้พฒนาจากต้นแบบ ดังกล่าว
                                        ่                          ั
มาเป็ นแบบ solid body กีตาร์ หรื อกีตาร์ไฟฟ้ าที่เราเห็นในปั จจุบนนันแหละครับั ่
ซึ่งเป็ นจุดเริ่ มต้นที่ สําคัญมากของดนตรี ยคนั้นและทําให้กีตาร์เป็ นเครื่ องดนตรี ที่
                                                    ุ
ได้รับความนิยม อย่างมากในช่วงปี 1940
                        หลังจากนั้นในต้นปี 1940 นักประดิษฐ์ชาวแคลิฟอเนียอีกคนซึ่งเราก็รู้จกชื่อเขาในนามของยีหอกีตาร์
                                                                                                ั                 ่ ้
ที่สุดยอดอีกยีหอหนึ่งนันก็คือ Leo Fender เขาได้ประดิษฐ์กีตาร์และเครื่ องขยายเสี ยงในร้านซ่อมวิทยุของเขา เขาได้
                    ่ ้           ่
                                            สร้างเครื่ องขยายเสี ยงแต่ขณะนั้นไม่มีปุ่มคอนโทรลต่าง ๆ เช่นปัจจุบน และใช้กบ
                                                                                                                ั         ั
                                            กีตาร์ของเขาซึ่งมีปุ่มควบคุมเสี ยงดังเบาและทุมแหลม ซึ่งเป็ นต้นแบบกีตาร์
                                                                                            ้
                                            ไฟฟ้ ายุคใหม่ เขาไม่ได้หยุดแค่น้ นด้วยเทคโนโลยี
                                                                                 ั
                                                              ่
                                            ขณะนั้นเขารู ้วาเขาน่าจะดัดแปลงกีตาร์ โปร่ งให้
                                                            ั
                                            สามารถใช้กบเครื่ องขยายเสี ยงได้ และ ความ
พยายามเขาก็สาเร็ จจนได้ในปี 1948 และได้กีตาร์ที่ชื่อว่า Telecaster ซึ่งชื่อเดิมที่เขาใช้
                      ํ
เรี ยกคือ Broadcaster แต่คาว่า tele เป็ นที่ติดปากกันมากกว่าและถือว่าเป็ นกีตาร์ไฟฟ้ า
                                    ํ
ทรงตันในรู ปทรงสแปนนิสรุ่ น แรกที่ซ้ือขายกันในเชิงพานิชย์และได้รับความนิยมอย่าง
มากจนกระทังปั จจุบน
                  ่           ั
                                                                           ่
                        ปั จจุบนสําหรับกีตาร์มีพร้อมแล้วทุกอย่างไม่วาจะเป็ นรู ปร่ างรู ปทรงประเภทต่าง ๆ ให้เลือกเล่นตามใจ
                                ั
ชอบ สไตล์เพลงหลากหลายสไตล์ โรงเรี ยนสอน ตําราต่าง ๆ ให้ศึกษามากมายแต่แน่นอนการพัฒนาย่อมไม่มีวนหยุด                    ั
ไม่แน่ในอนาคตคุณอาจเป็ นคนหนึ่งที่สร้างอะไรใหม่ ๆ ให้กีตาร์จนโลกต้องบันทึกไว้กได้                 ็




                                                                ความเป็ นมาของกีตาร์   By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
ส่ วนประกอบของกีตาร์
               กีตาร์มีอยูดวยกันหลาย ประเภท โดยทัวไปที่เรารู ้จกกันก็จะมีกีตาร์โปร่ ง กีตาร์คลาสสิ ค กีตาร์ไฟฟ้ า ใน
                  ้       ่ ้                    ่             ั            ้            ้              ้
ที่น้ ีเราจะมาพูดคุยกันถึงกีตาร์ประเภทที่ใช้สายเหล็ก ซึ่ งโดยทัวไปมักจะเรี ยกกันว่ากีตาร์โฟล์ค (บางคนอาจเรี ยกว่า
                             ้                                 ่                      ้
กีตาร์โปร่ งหรื อกีตาร์อะคูสติก) กีตาร์แต่ละชนิดนั้นก็จะมีเสี ยงและวิธีการเล่นที่แตกต่างกัน ตามแต่สไตล์ของเพลงที่จะ
   ้                ้               ้
เล่น โดยในรายละเอียดส่ วนประกอบหลักต่างๆ ของตัวกีตาร์จะคล้ายคลึงกัน ดังนี้
                                                  ้




           Head ส่วนหัวของกีตาร์ สําหรับใส่สายและลูกบิด
                              ้
                       ชุ ดลูกบิด โดยทัวไปที่เราพบเห็นก็จะมี 2 แบบ ได้แก่
                                        ่
                            1. แบบที่ตวลูกบิดหันไปด้านหลังตั้งฉากกับตัวกีตาร์ แกนหมุนสายเป็ นพลาสติก ซึ่งจะใช
                                      ั                                   ้
กับกีตาร์คลาสสิ ค
      ้
                                      ั                   ้                                  ้           ั ้
                            2. แบบที่ตวลูกบิดขนานกับตัวกีตาร์ หรื อแกนหมุนสายตั้งฉากกับตัวกีตาร์ ซึ่งใช้กบกีตาร์
โฟล์ค หรื อกีตาร์ไฟฟ้ า
              ้
                                                                           ่
                    นัท (nut) บางคนอาจเรี ยกว่าหย่องหรื อสะพานสายบน ติดอยูบนปลายสุ ดของฟิ งเกอร์บอร์ด เพื่อ
รองรับสายกีตาร์ให้ยกสู งจากฟิ งเกอร์บอร์ด ซึ่งระยะความสูงของสายกับฟิ งเกอร์บอร์ดดังกล่าวซึ่งเราเรี ยกว่า action
            ้
นั้นมีความสําคัญมาก เพราะถ้าตั้งความสูงไว้ไม่เหมาะสมแล้ว จะทําให้การเล่นกีตาร์มีความลําบาก เช่น ถ้าระยะ
                                                                           ้
ดังกล่าวสูงเกินไป ผูเ้ ล่นก็ตองออกแรงกดสายมากขึ้นทําให้เกิดอาการปวดนิ้ว เมื่อยล้า หรื อเจ็บนิ้วมากขึ้น แต่ถาระยะ
                             ้                                                                             ้
ดังกล่าวตํ่าเกินไป ก็จะทําให้เกิดเสี ยงแปลกๆ ออกมาเวลาดีด เพราะการสันของสายไปโดนเฟร็ ตมากเกินไปจึงทําให้มี
                                                                    ่
เสี ยงที่แปร่ งเกิดขึ้น

                                                             ความเป็ นมาของกีตาร์   By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
Neck ส่วนคอกีตาร์ ประกอบไปด้วย
               ้
             คอกีต้าร์ คือ ส่ วนที่เราใช้จบคอร์ดเล่นโน้ตต่างๆ
                                           ั
              ฟิ งเกอร์ บอร์ ด (fingerboard) คือ แผ่นไม้ที่ติดลงบนคอกีตาร์อีกชั้น เป็ นตัวที่ใช้ยดเฟร็ ต หรื อ
                                                                        ้                         ึ
ลวดลายมุกประดับต่าง ๆ และเราก็จะเล่นโน้ตต่าง ๆของกีตาร์บนหน้าฟิ งเกอร์บอร์ดนี้เอง
                                                        ้
                                                 ่
              เฟร็ต (fret) ทํามาจากโลหะฝังอยูบนคอกีตาร์ เป็ นตัวที่จะกําหนดเสี ยงของโน้ตดนตรี จากการกด
สายกีตาร์ลงบนเฟร็ ตต่าง ๆ การกดสายที่ช่องเฟร็ ตใด สายใด ระดับเสี ยงก็จะเปลี่ยนไปด้วย เฟร็ ตจึงเป็ นส่ วนสําคัญที่
       ้
ใช้แบ่งระดับเสี ยงของโน้ต
             มุกประดับ มีไว้เพื่อใช้สงเกตตําแหน่งช่องกีตาร์ โดยทัวไปจะฝังที่ช่อง 3, 5, 7, 9, 12, 15
                                        ั                           ่




 Body ส่วนลําตัวของกีตาร์
                       ้
              ไม้ดานหน้า (top) ไม้ดานหลัง (back) และไม้ดานข้าง (side) ส่ วน ที่เว้าของ body บางทีเราก็เรี ยกว่า
                   ้                ้                    ้
      ้                                       ่ ั
เอวกีตาร์จะให้เสี ยงดีมากน้อยเพียงใดก็ข้ ึนอยูกบไม้ ที่ใช้ทาลําตัวนี้ ซึ่งทั้งไม้ดานหน้า ด้านข้าง และด้านหลัง มีผลต่อ
                                                           ํ                      ้
มวลรวมเสี ยงของกีตาร์ท้ งสิ้ น
                  ้ ั
             โพรงเสี ยง (sound hole) คือส่ วนที่เป็ นกระบอกทําหน้าที่เป็ นลําโพงเสี ยง รับเสี ยงจากการสัน
                                                                                                         ่
      ้ ํ                                                                           ่
ของกีตาร์ทาให้เกิดเสี ยงก้องดังขึ้น มี ลักษณะเป็ นรู กลม ๆ หรื อบางครั้งก็ไม่กลม อยูบนด้านหน้าของ body นันเอง ซึ่ง
                                                                                                         ่
                         ่                                                                        ่ ้
อาจจะมีลายประดับต่างๆ อยูรอบๆ โพรงเสี ยงเพื่อความสวยงาม สําหรับกีตาร์โฟล์คมักจะมีแผ่นพลาสติกติดอยูดาน
ขอบโพรงเสี ยงใต้สาย 1 เรี ยกว่า Pickgard เพื่อป้ องกันการขูดขีดผิวกีตาร์จากการดีดสายด้วยปิ๊ คหรื อเล็บ
           สะพานสาย (bridge) เป็ นตัวที่ยดสายให้ติดกับ body และยึดสายด้วยหมุดยึดสาย(pin)
                                          ึ
                                           ่ ั
           หย่อง (saddle) จะฝังหรื อยึดอยูกบสะพานสาย เพื่อรองรับสายกีตาร์ท้ ง 6 สาย
                                                                             ั

                                                             ความเป็ นมาของกีตาร์   By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
ประเภทของกีตาร์
                              ั ่                       ่                                          ่
        ตามที่เรานั้นเคย รู ้กนอยูแล้วว่ากีตาร์นนก็มีอยูสองแบบคือ กีตาร์โปร่ ง กับกีตาร์ไฟฟ้ า แต่วาเราลองมารู ้จก
                                                ั่                                                               ั
กีตาร์ในแต่ละประเภทกันให้มากกว่านี้ดีกว่า
         กีตาร์ โปร่ ง หรือ อาคูสติกกีตาร์ นันเอง ก็คือกีตาร์ที่มีลาตัวโปร่ งไม่ตองอาศัยไฟฟ้ าในการเล่น ซึ่ง
                                                   ่                   ํ          ้
                                              ้                     ุ่
สามารถที่จะพกพาไปเล่นได้ในทุก ๆ ที่ ไม่ตองใช้อุปกรณ์อะไรให้วนวาย สามารถแบ่งได้ดงนี้       ั

                                                       กีตาร์ คลาสสิ ก (Classic Guitar) ซึ่งถือว่าเป็ นต้นแบบของ
                                                กีตาร์ในยุคปั จจุบนนันเองซึ่งมีลกษณะเด่นก็คือมีลูกบิดและแกนพัน
                                                                  ั ่           ั
                                                สายเป็ นพลาสติก มีคอ หรื อ ฟิ งเกอร์บอร์ดที่ใหญ่คือประมาณ 2 นิ้ว
                                                ลักษณะแบนราบ และ ใช้สายเอ็นหรื อไนล่อน ส่ วน 3 สายบน(สาย
                                                เบส) จะทําด้วยไนล่อนหรื อ ใยไหมแล้วพันด้วยเส้นโลหะ เช่น เส้น
                                                ทองแดงหรื อบรอนซ์ ซึ่งทําให้มีความนุ่มมือเวลาเล่นไม่เจ็บเหมือน
                                                สายโลหะ จึงเหมาะกับคนที่อยากหัดกีตาร์แต่กลัวเจ็บนิ้ว

            กีตาร์อีกอย่างที่อยากกล่าวถึงในหัวข้อกีตาร์คลาสสิ กคือ กีตาร์ฟลาเมนโก (flamenco) ซึ่งมีโครงสร้างแทบ
จะเหมือนกับกีตาร์คลาสสิ กทุกประการ เนื่องจากได้มีการ พัฒนามาจากกีตาร์คลาสสิ กนันเอง จะต่างกันก็ที่ลาตัวจะ
                                                                                           ่                ํ
บางกว่า และมีปิคการ์ดทั้งด้านบนล่างของโพรงเสี ยง และสไตล์การเล่นนันเองที่จะเป็ นแบบสแปนนิสหรื อแบบลาติน
                                                                        ่
ซึ่งจะมีจงหวะที่ ค่อนข้างกระชับและสนุกสนาน
         ั
                                                                        ด้วยเหตุที่ใช้สายไนล่อนนันเองทําให้กีตาร์
                                                                                                   ่
                                                         คลาสิ กมีเสี ยงที่ไพเราะนุ่มนวลและคอที่กว้างทําให้ระยะ
                                                         ระหว่างสายก็มากขึ้นไปด้วย ซึ่งทําให้การเล่นกีตาร์คลาส
                                                         สิ คนั้นจะสามารถเล่นได้ท้ งการ solo เล่น chord และ bass
                                                                                       ั
                                                         ได้นอกจากนี้ยงมีการใช้เทคนิคลูกเล่นต่าง ๆ อีกมากมาย
                                                                           ั
                                                         ทําให้การเล่นกีตาร์คลาสสิ กนั้นมีความไพเราะมากยิงขึ้น่
                                                         แต่กไม่ง่ายนักกว่าจะเล่นได้อย่างที่วา นอกจากจะได้ไป
                                                               ็                                 ่
                                                         เรี ยนอย่างเป็ นจริ งเป็ นจังกับโรงเรี ยนดนตรี




                                                                      ส่ วนต่าง ๆ ของกีตาร์คลาสสิ ก


                                                            ความเป็ นมาของกีตาร์   By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
 กีตาร์ โฟล์ ค(Folk Guitar) ถือว่าเป็ นที่นิยมและรู ้จกกันมากที่สุดเนื่องจากหาซื้อง่ายราคาไม่แพง
                                                                    ั
จนเกินไป(ที่แพง ๆ ก็มี) สามารถฝึ กหัดได้ง่ายไม่ตองรู ้ถึงทฤษฎีดนตรี มากนัก ใช้เวลาไม่นาน
                                                      ้
ก็จะสามารถเล่นเพลงง่าย ๆ ฟังกันในหมู่เพื่อนฝูงได้แล้วแต่จริ ง ๆ กีตาร์โฟล์คมันมีอะไรมาก
กว่านั้น ลักษณะทัว ๆ ไป คือ แกนหมุนและลูกบิดมักเป็ นโลหะ คอ หรื อ ฟิ งเกอร์บอร์ดเล็กกว่า
                    ่
กีตาร์คลาสสิ กมีลกษณะโค้งเล็กน้อยรับกับนิ้วมือ แต่มีลาตัว (body) ที่ใหญ่ และ แข็งแรงกว่า
                  ั                                        ํ
กีตาร์คลาสสิ ก ใช้สายที่ทาจากโลหะ เนื่องจากคอกีตาร์ที่เล็กและสายที่เป็ นโลหะกีตาร์ประเภท
                             ํ
นี้จึงเหมาะกับการเล่นด้วยปิ ค (flat pick) หรื อการเกา (finger picking) ซึ่งเสี ยงที่ได้จะดังชัดเจน
สดใสกว่ากีตาร์คลาสสิ ก จึงเหมาะกับการเล่นกับดนตรี ทว ๆ ไป ซึ่งอาจเล่นเดี่ยวหรื อเล่นเป็ น
                                                             ั่
วงก็ได้       กีตาร์โฟล์คนั้นมีขนาดและรู ปร่ างต่าง ๆ กันไปบ้างตามแต่ละความต้องการใช้
ประโยชน์ หรื อตามแต่ละผูผลิตส่ วนมากก็จะแบ่งได้เป็ น standard folk กีตาร์, jumbo folk กีตาร์
                               ้
flat top folk กีตาร์ นอกจากนี้ยงมีแบบพิเศษอีกประเภทคือ กีตาร์ 12 สาย(แถวบนขวาสุ ด) ซึ่ง
                                  ั
จะมีสายแบ่งเป็ น 6 คู่ซ่ ึงเวลาเล่นก็เล่นเหมือนกีตาร์ทว ๆ ไป เพียงแต่จะได้เสี ยงที่กงวานและ
                                                        ั่                            ั
แน่นขึ้น

        Resonator กีตาร์ หรื อ Resophonic กีตาร์ เป็ นกีตาร์อีกประเภทที่เราไม่ค่อยเห็นบ่อยนัก บางทีกเ็ รี ยกว่า
dobro มีลกษณะเด่นคืออาศัย resonatorซึ่ งจะทําให้เกิดเสี ยง resonance หรื อขยายเสี ยงให้ดงโดยทําให้เกิด resonance มี
          ั                                                                              ั
ทั้งแบบ tri-plate resonator คือมีเจ้า resonator 3 แผ่น และแบบ single-resonator คือมี resonator แผ่นเดียวนันเอง
                                                                                                          ่




โครงสร้างโดยส่ วนใหญ่จะทําด้วยโลหะ สําหรับกีตาร์ประเภทนี้มกจะเล่นกับเพลงบลูส์ที่ใช้สไลด์เช่นพวกเดลต้าบลูส์
                                                                    ั
หรื อประเภทบลูกลาส ( bluegrass ) โดยใช้ไสลด์กีตาร์ หรื อเล่นกับเพลงแบบฮาวาย
        Arch top Guitar เป็ นกีตาร์อีประเภทหนึ่งบ้านเราอาจจะไม่ค่อยเห็นคนเล่นมากนักลักษณะทัว ๆ ไป จะ       ่
คล้ายกับกีตาร์โฟล์ค แต่ดานหน้าจะโค้ง(arch แปลว่าโค้ง) ซึ่งกีตาร์โฟล์คจะแบนราบ และโพรงเสี ยงจะไม่เป็ นแบบช่อง
                          ้
กลม แต่จะเป็ นรู ปตัว f (แค่คล้ายตัว f ที่เป็ นตัวเขียนไม่ใช่ตวพิมนะครับ) อยู่ 2 ช่องบนด้านหน้าของลําตัว ส่ วนสะพาน
                                                              ั
ยึดสายด้านล่างมักเป็ นแบบหางปลา (tail piece) ส่ วนมากจะใช้เล่นในดนตรี แจ๊ส




                                                            ความเป็ นมาของกีตาร์   By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
 Semi Acoustic Guitar เป็ นกีตาร์ที่มีลกษณะครึ่ ง ๆ หรื อลูกผสมระหว่างกีตาร์โปร่ งกับกีตาร์ไฟฟ้ า แต่
                                                ั
ไม่ใช่กีตาร์โปร่ งไฟฟ้ านะครับ กีตาร์โปร่ งไฟฟ้ าก็คือกีตาร์โปร่ งที่ได้มีการประกอบเอา pick up (ที่เราเรี ยกกันว่าคอน
แทคนันแหละครับ) ประกอบเข้าไปกับตัวกีตาร์โปร่ งทําให้สามารถต่อสายจากกีตาร์เข้าเครื่ องขยายได้โดยตรง ไม่ตอง
     ่                                                                                                 ้
เอาไมค์มาจ่อที่กีตาร์หรื อไม่ตองไปซื้อ pick up มาต่อต่างหาก แต่ Semi Acoustic กีตาร์จะมีลาตัวโปร่ ง และแบนราบ
                              ้                                                          ํ
แต่จะมี pick up ติดอยูบนลําตัว และมักจะมีช่องเสี ยงเป็ นรู ปตัว f เช่นเดียวกับแบบ arch top ซึ่งทําให้กีตาร์ประเภทนี้มี
                      ่
คุณสมบัติของกีตาร์โปร่ งคือเล่นแบบไม่ต่อเครื่ องขยายก็ได้หรื อจะต่อเครื่ องขยายก็สามารถเล่นได้เช่นเดียวกับกีตาร์
ไฟฟ้ า ส่ วนใหญ่กีตาร์ประเภทนี้มกจะพบว่าใช้ในดนตรี บลูส์ หรื อดนตรี แจ๊สเป็ นส่ วนมาก
                                ั




                                                              ความเป็ นมาของกีตาร์   By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
่            ่
        Solid Body Electric Guitarซึ่ งก็คือกีตาร์ไฟฟ้ าที่เรา ๆ ท่าน ๆ รู ้จกกันดีอยูแล้วซึ่งมีอยูมากมายหลายแบบ
                                                                              ั
แต่ลกษณะเด่นก็คือลําตัวจะเป็ นแบบตัน และประกอบด้วย pick up ซึ่งเป็ นหัวใจของกีตาร์ไฟฟ้ าอีก 2 หรื อ 3 ชุด ไว้บน
    ั
ลําตัวกีตาร์สาหรับแปลงสัณญาณเสี ยงเป็ นกระแสไฟฟ้ าเข้าไปยังเครื่ องขยายอีกที
             ํ                                                                       กีตาร์ประเภทนี้ตองมีเครื่ องขยาย
                                                                                                     ้
         ่                                                                ิ           ้ ็
(แอมป์ นันแหละครับ)มิฉะนั้นเวลาเล่นต้องเอาหูไปแนบใกล้ ๆ ตัวกีตาร์ถึงจะได้ยนเสี ยง แต่ขอดีกคือเราสามารถที่จะ
ปรับแต่งเสี ยงของมันได้อย่างอิสระด้วยการ control ปุ่ ม volume หรื อ tone และยังใช้ร่วมกับ effect ต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบนมี
                                                                                                                  ั
การผลิตมามากมายหลายแบบเหลือเกิน เช่น distortion ,overdrive, flanger เป็ นต้น ทําให้สามารถปรับแต่งสําเนียงกีตาร์
ตามที่เราต้องการได้




             นอกจากนี้ pick up ที่ใช้ยงมีท้ งแบบ single coil และแบบ double coil (humbacking) ซึ่งต่างลักษณะของ
                                      ั ั
การพันขดลวดรอบแกนแม่เหล็กและทําให้เสี ยงที่ได้ออกมานั้นต่างกันอีกด้วย การติดตั้ง pick up ไว้ในตําแหน่งที่
ต่างกันก็จะให้เสี ยงที่ต่างกันด้วยเช่นกัน เช่น การติด pick up ติดกับปลายสุ ดของฟิ งเกอร์บอร์ดจะให้เสี ยงที่ทม หรื อ
                                                                                                            ุ้
pick up ที่ติดกับสะพานสาย (bridge) จะให้เสี ยงที่แหลมกว่าใช้ในการ solo เป็ นต้น และอุปกรณ์พิเศษอีกอย่าง




                                                            ความเป็ นมาของกีตาร์   By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
่ ั
ที่สามารถทําให้เสี ยงกีตาร์แปลกออกไปก็คือคันโยก (tremolo bar) ได้แก่ชุดก้านยาว ๆ ที่ติดอยูกบสะพานสายนันเองใช้
                                                                                                      ่
                                                      กดขึ้นลงเพื่อเปลี่ยนความตึงของสายกีตาร์ทาให้ระดับเสี ยงที่
                                                                                              ํ
                                                ออกมานั้นแตกต่างไปจากปกติ สําหรับกีตาร์ไฟฟ้ าปัจจุบนเป็ นที่
                                                                                                   ั
                                                นิยมกันมากในวงการดนตรี pop rock เพราะมีเสี ยงหนักแน่นเล่น
                                                ได้ท้ งแบบ rhythm หรื อการ solo (หรื อเล่น lead กีตาร์) โชว์
                                                      ั
                                                      สําเนียงของกีตาร์และสไตล์ของแต่ละคนซึ่งเป็ นที่นิยมในหมู่
                                                วัยรุ่ นมาก



         Steel หรือ pedal steel guitar หลายคนอาจไม่คุนเคยกับเจ้ากีตาร์แบบนี้เท่าไรนัก ส่ วนใหญ่กีตาร์แบบนี้จะ
                                                      ้
เล่นในเพลงประเภทเพลง country และแบบ ฮาวาย เป็ นส่ วนมากเวลาเล่นจะเล่นด้วยสไลด์




        กีตาร์ แบบอืน ๆ นอกจากกีตาร์ประเภทต่าง ๆ ที่กล่าวมาด้านบนแล้ว ยังมีกีตาร์แบบพิเศษอื่น ๆ ซึ่งอาจจะทํา
                      ่
ขึ้นมาเพื่อประโยชน์เฉพาะประเภท หรื อเล่นเป็ นพิเศษกับเพลงนี้โดยเฉพาะ เราจะไม่ค่อยเห็นมากนักเช่นกีตาร์ที่มี
จํานวนสายแปลก ๆ มีรูปร่ างแปลก ๆ เช่นกีตาร์ 7 สาย กีตาร์ Harmony Sovereigh แบบ 9 สาย กีตาร์ที่ใช้สายของกีตาร์
เบสประกอบด้วย กีตาร์ 2 คอ กีตาร์ 2 คอรู ปตัว V หรื อ 4 คอ รู ปตัว X เป็ นต้น




                                                          ความเป็ นมาของกีตาร์   By Ozzy Rockman / www.kruood.net 

More Related Content

What's hot

ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่มแบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่มKhemjira_P
 
บัญชีลงเวลา
บัญชีลงเวลาบัญชีลงเวลา
บัญชีลงเวลาNamchai
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวTeacher Sophonnawit
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานWareerut Hunter
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2Mam Chongruk
 
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3Teacher Sophonnawit
 
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุดแบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุดwitchcom
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2KruPa Jggdd
 
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2iberryh
 
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์kanjana2536
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.peter dontoom
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟFern Monwalee
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 KruPa Jggdd
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 

What's hot (20)

ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่มแบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
 
บัญชีลงเวลา
บัญชีลงเวลาบัญชีลงเวลา
บัญชีลงเวลา
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถว
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
 
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
 
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุดแบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
 
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
 
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 

Viewers also liked

ประวัติความเป็นมาของกีต้าร์คลาสสิค
ประวัติความเป็นมาของกีต้าร์คลาสสิคประวัติความเป็นมาของกีต้าร์คลาสสิค
ประวัติความเป็นมาของกีต้าร์คลาสสิคTuckky' Dolly
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanxun
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 
การใช้ Present continuous tense
การใช้ Present continuous tenseการใช้ Present continuous tense
การใช้ Present continuous tenseพัน พัน
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 

Viewers also liked (10)

ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
 
สายกีตาร์
สายกีตาร์สายกีตาร์
สายกีตาร์
 
ประวัติความเป็นมาของกีต้าร์คลาสสิค
ประวัติความเป็นมาของกีต้าร์คลาสสิคประวัติความเป็นมาของกีต้าร์คลาสสิค
ประวัติความเป็นมาของกีต้าร์คลาสสิค
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
Present perfect tense
Present perfect tensePresent perfect tense
Present perfect tense
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
การใช้ Present continuous tense
การใช้ Present continuous tenseการใช้ Present continuous tense
การใช้ Present continuous tense
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 

Similar to ประวัติความเป็นมาของกีตาร์

วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxpinglada1
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมRuz' Glaow
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docpinglada1
 
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทยงานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทยChattharika Kongkom
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfPingladaPingladaz
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลsangkeetwittaya stourajini
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 

Similar to ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ (20)

วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยม
 
พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทยงานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
ลีลาศ
ลีลาศลีลาศ
ลีลาศ
 
ลีลาศ
ลีลาศลีลาศ
ลีลาศ
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 

More from kruood

เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...kruood
 
Web dreamcs5
Web dreamcs5Web dreamcs5
Web dreamcs5kruood
 
กำหนดการ(..
กำหนดการ(..กำหนดการ(..
กำหนดการ(..kruood
 
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6kruood
 
ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6
ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6
ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6kruood
 
Nsc2014 isan-web koksi2556
Nsc2014 isan-web koksi2556Nsc2014 isan-web koksi2556
Nsc2014 isan-web koksi2556kruood
 
Manchakhiri old town.
Manchakhiri old town.Manchakhiri old town.
Manchakhiri old town.kruood
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาดkruood
 
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์kruood
 
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบเรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบkruood
 
The Guitar Of Chet Atkins -
The Guitar Of Chet Atkins -The Guitar Of Chet Atkins -
The Guitar Of Chet Atkins -kruood
 
Nsc2013 booklet
Nsc2013 bookletNsc2013 booklet
Nsc2013 bookletkruood
 
ผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasan
ผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasanผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasan
ผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasankruood
 
Korat th
Korat thKorat th
Korat thkruood
 
Korat eng
Korat engKorat eng
Korat engkruood
 
Fermented eng
Fermented engFermented eng
Fermented engkruood
 
Fried eng
Fried engFried eng
Fried engkruood
 
Fermented th
Fermented thFermented th
Fermented thkruood
 
Blue crab th
Blue crab thBlue crab th
Blue crab thkruood
 
Blue crab eng
Blue crab engBlue crab eng
Blue crab engkruood
 

More from kruood (20)

เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
 
Web dreamcs5
Web dreamcs5Web dreamcs5
Web dreamcs5
 
กำหนดการ(..
กำหนดการ(..กำหนดการ(..
กำหนดการ(..
 
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
 
ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6
ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6
ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6
 
Nsc2014 isan-web koksi2556
Nsc2014 isan-web koksi2556Nsc2014 isan-web koksi2556
Nsc2014 isan-web koksi2556
 
Manchakhiri old town.
Manchakhiri old town.Manchakhiri old town.
Manchakhiri old town.
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
 
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบเรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
 
The Guitar Of Chet Atkins -
The Guitar Of Chet Atkins -The Guitar Of Chet Atkins -
The Guitar Of Chet Atkins -
 
Nsc2013 booklet
Nsc2013 bookletNsc2013 booklet
Nsc2013 booklet
 
ผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasan
ผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasanผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasan
ผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasan
 
Korat th
Korat thKorat th
Korat th
 
Korat eng
Korat engKorat eng
Korat eng
 
Fermented eng
Fermented engFermented eng
Fermented eng
 
Fried eng
Fried engFried eng
Fried eng
 
Fermented th
Fermented thFermented th
Fermented th
 
Blue crab th
Blue crab thBlue crab th
Blue crab th
 
Blue crab eng
Blue crab engBlue crab eng
Blue crab eng
 

ประวัติความเป็นมาของกีตาร์

  • 1. ความเป็ นมาของกีตาร์ By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
  • 2. ประวัตความเป็ นมาของกีตาร์ ิ กีตาร์ถือเป็ นเครื่ องดนตรี ที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่งของมนุษย์เพียงแต่ชื่อเรี ยกและรู ปร่ างย่อมแตกต่างกัน ไปตามแต่ละยุคสมัย ซึ่งเริ่ มเป็ นที่นิยมในแถบเปอร์เซียและตะวันออกกลางหลายประเทศต่อมาได้เผยแพร่ ไปยังกรุ ง โรมโดยชาวโรมันหรื อชาวมัวร์ จากนั้นก็เริ่ มได้รับความ นิยมในสเปน ในยุโรปกีตาร์มกเป็ นที่นิยมในหมู่ชนชั้นสูง ั และมีเชื้อพระวงศ์หลายพระองค์ที่ให้ความสนใจและศึกษา อย่างเช่น Queen Elizabeth I ซึ่งโปรดกับ Lute lซึ่ งถือว่าเป็ น ็่ ต้นแบบของกีตาร์กวาได้ แต่การพัฒนาที่แท้จริ งนั้นได้เกิด จากการที่นกดนตรี ได้นามันไปแสดงหรื อเล่นร่ วมกับวง ั ํ ดนตรี ของประชาชนทัว ๆ ไปทําให้มีการเผยแพร่ ไปยังระดับ ่ ประชาชนจนได้มีการนําไปผสมผสานเข้ากับเพลงพื้นบ้าน ทัว ๆ ไปและเกิดแนวดนตรี ในแบบต่าง ๆ มากขึ้น ่ ้ ็ ผูหนึ่งที่สมควรจะกล่าวถึงเมื่อพูดถึงประวัติของกีตาร์กคือ Fernando Sor ซึ่งถือว่าเป็ นผูที่มี ้ ความสําคัญและมีอิทธิพลต่อวงการกีตาร์เป็ นอันมาก เนื่องจาการอุทิศตนให้กบ ั การพัฒนารู ปแบบการเล่นกีตาร์เทคนิคต่าง ๆ และได้แต่งตําราไว้มากมาย ในปี 1813 เขาเดินทางไปยังปารี ตซึ่งเขาได้รับความสําเร็ จและความนิยมอย่างมาก จากนั้นก็ได้เดินทางไปยังลอนดอนโดยพระราชูปถัมป์ ของ Duke of Sussex และที่ นันการแสดงของเขาทําให้กีตาร์เริ่ มได้รับความนิยม จากอังกฤษเขาได้เดินทางไป ่ ยังปรัสเซีย รัสเซียและได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากชาวเมืองเซนต์ ปี เตอร์ เบิร์ก ซึ่งที่นนเขาได้แต่งเพลงที่มีความสําคัญอย่างมากเพลงหนึ่งถวายแก่พระเจ้า ่ั Nicolus I จากนั้นเขาก็ได้กลับมายังปารี ตจนกระทังเสี ยชีวิตเมื่อปี 1839 หลังจาก ่ นั้นได้มีการเรี ยนีการสอนทฤษฎีกีตาร์ที่เด่นชัดและสมบูรณ์มากขึ้น ทําให้กีตาร์ ได้รับการพัฒนาอย่างมาก หลังจากนั้นมีอีกผูหนึ่งที่มีความสําคัญต่อกีตาร์ ้ เช่นกันคือ Francisco Tarrega (1854-1909) ซึ่งเกิดมาในครอบครัวที่ยากจนแต่ดวย ้ ความสามารถด้านดนตรี ของเขาก็ทาให้เขาประสบความสําเร็ จจนได้จากการแสดง ํ ณ Alhambra Theater จากนั้นเขาได้เดินทางไปยัง Valencia, Lyons และ Paris เขา ได้รับการยกย่องว่าได้รวมเอาคุณสมบัติของเครื่ องดนตรี 3 ชนิดมารวมกันคือ ไวโอลิน, เปี ยโน และ รวมเข้ากับเสี ยงของกีตาร์ได้อย่างไพเราะกลมกลืน ทุกคนที่ได้ฟังเขาเล่นต่างบอกว่าเขาเล่นได้ อย่างมีเอกลักษณ์และสําเนียงที่มีความไพเราะน่าทึ่ง หลังจากเขาประสบความสําเร็ จใน London, Brussels,Berne ั และ Rome เขาก็ได้เดินทางกลับบ้านและได้เริ่ มอุทิศตนให้กบการแต่งเพลงและสอนกีตาร์อย่างจริ งจัง ซึ่งนักกีตาร์ใน รุ่ นหลัง ๆ ได้ยกย่องว่าเขาเป็ นผูริเริ่ มการสอนกีตาร์ยคใหม่ (ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Fernando_Sor) ้ ุ ความเป็ นมาของกีตาร์ By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
  • 3. อีกคนหนึ่งที่จะขาดไม่ได้คือ Andres Sergovia ผูซ่ ึงเดินทาง ้ แสดงและเผยแพร่ กีตาร์มาแล้วเกือบทัวโลกเพื่อให้คน ได้รู้จก ่ ั กีตาร์มากขึ้น (แต่คงไม่ได้มาเมืองไทยน่ะครับ) ทั้งการแสดง เดี่ยวหรื อเล่นกับวงออเคสตร้า จนเป็ นแรงบันดาลใจให้มีการ แต่งตําราและบทเพลงของกีตาร์ข้ ึนมาอีกมากมาย อันเนื่อง มา จากการเผยแพร่ ความรู ้ในเรื่ องกีตาร์อย่างเปิ ดเผยและจริ งจังของ เขาผูน้ ี นอกจากนี้ผลงานต่าง ๆ ของเขาได้ทาให้ประวัติศาสตร์ ้ ํ กีตาร์เปลี่ยนหน้าใหม่เพราะทําให้นกีตาร์ได้มี โอกาสแสดงใน concert hall มากขึ้น และ ทําให้เกิดครู และหลักสู ตร ั กีตาร์ข้ ึนในโรงเรี ยนดนตรี อีกด้วยสําหรับการร้องไปพร้อมกับกีตาร์ได้เริ่ มมีข้ ึน เมื่อสามารถปรับให้ระดับเสี ยงของ กีตาร์น้ นเข้ากับเสี ยงร้องได้ ซึ่งผมเข้าใจว่าในอดีตกีตาร์มีไว้บรรเลงมากกว่าแต่เมื่อสามารถผสมผสานเสี ยง ของกีตาร์ ั กับเสี ยงร้องได้การร้องคลอไปกับกีตาร์จึงเริ่ มเป็ นที่นิยมมากขึ้น นักร้องนักกีตาร์(คือทั้งเล่นทั้งร้อง) น่าจะมาจากนักร้อง ในยุคกลางซึ่งเป็ นชนชั้นสู งได้ปลีกตัวไปทํางานในแบบที่เป็ น อิสระและอยากจะทําจึงมี การ ผสมกันกับรู ปแบบของ ดนตรี พ้ืนบ้านมากขึ้น ซึ่งงานดนตรี จึงแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. เป็ นงานประพันธ์เพื่อจรรโลงโลกหรื อมีความจริ งจังในทางดนตรี เพือการ แสดงเป็ นส่ วนใหญ่ ก็คือ ่ เพลงคลาสสิ กนันเอง ่ 2. งานที่สร้างจากคนพื้นบ้านจากการถ่ายทอดจากพ่อสู่ ลูกลูกสู่หลาน เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาและ สภาพความเป็ นอยู่ แสดงถึงวิถีการดําเนินชีวิต ใช้ในการผ่อนคลายจากการงานความทุกข์ความยากจน เล่าเหตุการณ์ ่ ต่าง ๆ อันได้มาจากประสบการณ์หรื อสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัวขณะนั้นจึงมีความเป็ นธรรมชาติอยูมากและโดยที่ ่ ทั้ง 2 ส่ วนดังกล่าวได้มีการแลกเปลี่ยนถ่ายทอดความรู ้ซ่ ึงกันและกันอยูตลอดเวลา จากอดีตถึงปัจจุบนจนมีการซึมซับ ั เข้าไปยังเนื้อเพลงและทํานองเพลงทําให้เกิด รู ปแบบของดนตรี ในแบบใหม่ ๆมากขึ้นเรื่ อย ๆ ในอเมริ กา ผูที่เข้าไปอาศัยได้นาเอาดนตรี และการเต้นรําของพวก ้ ํ เขาเข้ามาด้วยเช่นพวกทหาร นักสํารวจ พวกเคาบอยหรื อคนงานเหมืองทําให้ มีการผสมผสานกันในรู ปแบบของดนตรี และที่สาคัญที่สุดคือพวก อเมริ กน ํ ั ่ ้ ํ นิโกร ซึ่งส่ วนใหญ่จะอยูในฐานะทาสซึ่งเป็ นผูให้กาเนิดเพลงบลูส์นนเอง ่ั ซึ่งส่ วนใหญ่แสดงถึงความยากลําบาก ความยากจนถ่ายทอดมาในบทเพลง ่ สไตล์ของพวกเขาเพื่อได้ผอนคลายจากความเหนื่อยยากและเล่นง่าย ๆ ด้วย ั กีตาร์กบเม้าท์ออร์แกนเป็ นต้น ซึ่งเพลงบลูส์นนเองที่เป็ นพื้นฐานของดนตรี ่ั ่ อีกหลาย ๆ ประเภทไม่วาจะเป็ นเพลงร็ อคหรื อแจ๊สในปัจจุบน จนเดี๋ยวนี้ ั กีตาร์มีความสําคัญกับดนตรี แทบทุกชนิด ่ แม้วากีตาร์จะถูกสร้างมาหลายรู ปแบบแต่แบบที่ถือว่าดีที่สุดคงเป็ นแบบ สแปนนิช 6 สาย ซึ่งถือว่าเป็ น การพัฒนาที่ดีอย่างมากทั้งด้านการประดิษฐ์และด้านเทคนิค ซึ่งสามารถใช้เล่นในงานแสดงคอนเสิ ร์ท(หมายถึงดนตรี คลาสสิ ก) หรื อเล่นเพลงทัว ๆ ไปทําให้รูปทรงกีตาร์แบบนี้เป็ นที่นิยมจนปัจจุบน เริ่ มจากในศตวรรษที่ 18 ได้มีการ ่ ั เปลี่ยนจากสายที่เป็ นสายคู่มาเป็ นสายเดี่ยวและเปลี่ยนจาก 5 สายเป็ น 6 สาย ช่างทํากีตาร์ในยุคศตวรรษที่ 19 ได้ขยาย ความเป็ นมาของกีตาร์ By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
  • 4. ขนาดของ body เพิ่มส่ วนโค้งของสะโพกลดส่ วนผิวหน้าที่นูนออกมา และ เปลี่ยนแปลงโครงยึดภายใน ลูกบิดไม้แบบ เก่าถูกเปลี่ยนเป็ นแบบใหม่ ในยุค เดียวกันนี้ Fernando Sor ซึ่งได้กล่าวมาในข้างต้นแล้วเป็ นผูที่พฒนาและทําให้ ั เครื่ องดนตรี น้ ีเป็ นที่ ยอมรับและใช้ในการแสดงได้จนกระทังมาถึงยุคของ ่ ั Andres Segovia ได้คิดดัดแปลงให้สามารถใช้กบไฟฟ้ าได้ ซึ่งเป็ นการพัฒนาอีก ระดับของเพลงป๊ อปในอเมริ กาในช่วง 1930 กีตาร์ไฟฟ้ าต้นแบบช่วงนั้นเป็ นแบบ ทรงตันและหลักการนําเสี ยงจากกีตาร์ไปผสมกับ กระแสไฟฟ้ าแล้วขยายเสี ยง ออกมานั้นทําให้นกดนตรี และนักประดิษฐ์ ั ั ชาวอเมริ กน ซึ่งชื่อเขาพวกเรารู ้จกกันดีใน ั นามของโมเดลหนึ่งของกิ๊บสันนันก็คือ Les Paul ได้พฒนาจากต้นแบบ ดังกล่าว ่ ั มาเป็ นแบบ solid body กีตาร์ หรื อกีตาร์ไฟฟ้ าที่เราเห็นในปั จจุบนนันแหละครับั ่ ซึ่งเป็ นจุดเริ่ มต้นที่ สําคัญมากของดนตรี ยคนั้นและทําให้กีตาร์เป็ นเครื่ องดนตรี ที่ ุ ได้รับความนิยม อย่างมากในช่วงปี 1940 หลังจากนั้นในต้นปี 1940 นักประดิษฐ์ชาวแคลิฟอเนียอีกคนซึ่งเราก็รู้จกชื่อเขาในนามของยีหอกีตาร์ ั ่ ้ ที่สุดยอดอีกยีหอหนึ่งนันก็คือ Leo Fender เขาได้ประดิษฐ์กีตาร์และเครื่ องขยายเสี ยงในร้านซ่อมวิทยุของเขา เขาได้ ่ ้ ่ สร้างเครื่ องขยายเสี ยงแต่ขณะนั้นไม่มีปุ่มคอนโทรลต่าง ๆ เช่นปัจจุบน และใช้กบ ั ั กีตาร์ของเขาซึ่งมีปุ่มควบคุมเสี ยงดังเบาและทุมแหลม ซึ่งเป็ นต้นแบบกีตาร์ ้ ไฟฟ้ ายุคใหม่ เขาไม่ได้หยุดแค่น้ นด้วยเทคโนโลยี ั ่ ขณะนั้นเขารู ้วาเขาน่าจะดัดแปลงกีตาร์ โปร่ งให้ ั สามารถใช้กบเครื่ องขยายเสี ยงได้ และ ความ พยายามเขาก็สาเร็ จจนได้ในปี 1948 และได้กีตาร์ที่ชื่อว่า Telecaster ซึ่งชื่อเดิมที่เขาใช้ ํ เรี ยกคือ Broadcaster แต่คาว่า tele เป็ นที่ติดปากกันมากกว่าและถือว่าเป็ นกีตาร์ไฟฟ้ า ํ ทรงตันในรู ปทรงสแปนนิสรุ่ น แรกที่ซ้ือขายกันในเชิงพานิชย์และได้รับความนิยมอย่าง มากจนกระทังปั จจุบน ่ ั ่ ปั จจุบนสําหรับกีตาร์มีพร้อมแล้วทุกอย่างไม่วาจะเป็ นรู ปร่ างรู ปทรงประเภทต่าง ๆ ให้เลือกเล่นตามใจ ั ชอบ สไตล์เพลงหลากหลายสไตล์ โรงเรี ยนสอน ตําราต่าง ๆ ให้ศึกษามากมายแต่แน่นอนการพัฒนาย่อมไม่มีวนหยุด ั ไม่แน่ในอนาคตคุณอาจเป็ นคนหนึ่งที่สร้างอะไรใหม่ ๆ ให้กีตาร์จนโลกต้องบันทึกไว้กได้ ็ ความเป็ นมาของกีตาร์ By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
  • 5. ส่ วนประกอบของกีตาร์ กีตาร์มีอยูดวยกันหลาย ประเภท โดยทัวไปที่เรารู ้จกกันก็จะมีกีตาร์โปร่ ง กีตาร์คลาสสิ ค กีตาร์ไฟฟ้ า ใน ้ ่ ้ ่ ั ้ ้ ้ ที่น้ ีเราจะมาพูดคุยกันถึงกีตาร์ประเภทที่ใช้สายเหล็ก ซึ่ งโดยทัวไปมักจะเรี ยกกันว่ากีตาร์โฟล์ค (บางคนอาจเรี ยกว่า ้ ่ ้ กีตาร์โปร่ งหรื อกีตาร์อะคูสติก) กีตาร์แต่ละชนิดนั้นก็จะมีเสี ยงและวิธีการเล่นที่แตกต่างกัน ตามแต่สไตล์ของเพลงที่จะ ้ ้ ้ เล่น โดยในรายละเอียดส่ วนประกอบหลักต่างๆ ของตัวกีตาร์จะคล้ายคลึงกัน ดังนี้ ้ Head ส่วนหัวของกีตาร์ สําหรับใส่สายและลูกบิด ้  ชุ ดลูกบิด โดยทัวไปที่เราพบเห็นก็จะมี 2 แบบ ได้แก่ ่ 1. แบบที่ตวลูกบิดหันไปด้านหลังตั้งฉากกับตัวกีตาร์ แกนหมุนสายเป็ นพลาสติก ซึ่งจะใช ั ้ กับกีตาร์คลาสสิ ค ้ ั ้ ้ ั ้ 2. แบบที่ตวลูกบิดขนานกับตัวกีตาร์ หรื อแกนหมุนสายตั้งฉากกับตัวกีตาร์ ซึ่งใช้กบกีตาร์ โฟล์ค หรื อกีตาร์ไฟฟ้ า ้ ่  นัท (nut) บางคนอาจเรี ยกว่าหย่องหรื อสะพานสายบน ติดอยูบนปลายสุ ดของฟิ งเกอร์บอร์ด เพื่อ รองรับสายกีตาร์ให้ยกสู งจากฟิ งเกอร์บอร์ด ซึ่งระยะความสูงของสายกับฟิ งเกอร์บอร์ดดังกล่าวซึ่งเราเรี ยกว่า action ้ นั้นมีความสําคัญมาก เพราะถ้าตั้งความสูงไว้ไม่เหมาะสมแล้ว จะทําให้การเล่นกีตาร์มีความลําบาก เช่น ถ้าระยะ ้ ดังกล่าวสูงเกินไป ผูเ้ ล่นก็ตองออกแรงกดสายมากขึ้นทําให้เกิดอาการปวดนิ้ว เมื่อยล้า หรื อเจ็บนิ้วมากขึ้น แต่ถาระยะ ้ ้ ดังกล่าวตํ่าเกินไป ก็จะทําให้เกิดเสี ยงแปลกๆ ออกมาเวลาดีด เพราะการสันของสายไปโดนเฟร็ ตมากเกินไปจึงทําให้มี ่ เสี ยงที่แปร่ งเกิดขึ้น ความเป็ นมาของกีตาร์ By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
  • 6. Neck ส่วนคอกีตาร์ ประกอบไปด้วย ้  คอกีต้าร์ คือ ส่ วนที่เราใช้จบคอร์ดเล่นโน้ตต่างๆ ั  ฟิ งเกอร์ บอร์ ด (fingerboard) คือ แผ่นไม้ที่ติดลงบนคอกีตาร์อีกชั้น เป็ นตัวที่ใช้ยดเฟร็ ต หรื อ ้ ึ ลวดลายมุกประดับต่าง ๆ และเราก็จะเล่นโน้ตต่าง ๆของกีตาร์บนหน้าฟิ งเกอร์บอร์ดนี้เอง ้ ่  เฟร็ต (fret) ทํามาจากโลหะฝังอยูบนคอกีตาร์ เป็ นตัวที่จะกําหนดเสี ยงของโน้ตดนตรี จากการกด สายกีตาร์ลงบนเฟร็ ตต่าง ๆ การกดสายที่ช่องเฟร็ ตใด สายใด ระดับเสี ยงก็จะเปลี่ยนไปด้วย เฟร็ ตจึงเป็ นส่ วนสําคัญที่ ้ ใช้แบ่งระดับเสี ยงของโน้ต  มุกประดับ มีไว้เพื่อใช้สงเกตตําแหน่งช่องกีตาร์ โดยทัวไปจะฝังที่ช่อง 3, 5, 7, 9, 12, 15 ั ่  Body ส่วนลําตัวของกีตาร์ ้  ไม้ดานหน้า (top) ไม้ดานหลัง (back) และไม้ดานข้าง (side) ส่ วน ที่เว้าของ body บางทีเราก็เรี ยกว่า ้ ้ ้ ้ ่ ั เอวกีตาร์จะให้เสี ยงดีมากน้อยเพียงใดก็ข้ ึนอยูกบไม้ ที่ใช้ทาลําตัวนี้ ซึ่งทั้งไม้ดานหน้า ด้านข้าง และด้านหลัง มีผลต่อ ํ ้ มวลรวมเสี ยงของกีตาร์ท้ งสิ้ น ้ ั  โพรงเสี ยง (sound hole) คือส่ วนที่เป็ นกระบอกทําหน้าที่เป็ นลําโพงเสี ยง รับเสี ยงจากการสัน ่ ้ ํ ่ ของกีตาร์ทาให้เกิดเสี ยงก้องดังขึ้น มี ลักษณะเป็ นรู กลม ๆ หรื อบางครั้งก็ไม่กลม อยูบนด้านหน้าของ body นันเอง ซึ่ง ่ ่ ่ ้ อาจจะมีลายประดับต่างๆ อยูรอบๆ โพรงเสี ยงเพื่อความสวยงาม สําหรับกีตาร์โฟล์คมักจะมีแผ่นพลาสติกติดอยูดาน ขอบโพรงเสี ยงใต้สาย 1 เรี ยกว่า Pickgard เพื่อป้ องกันการขูดขีดผิวกีตาร์จากการดีดสายด้วยปิ๊ คหรื อเล็บ  สะพานสาย (bridge) เป็ นตัวที่ยดสายให้ติดกับ body และยึดสายด้วยหมุดยึดสาย(pin) ึ ่ ั  หย่อง (saddle) จะฝังหรื อยึดอยูกบสะพานสาย เพื่อรองรับสายกีตาร์ท้ ง 6 สาย ั ความเป็ นมาของกีตาร์ By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
  • 7. ประเภทของกีตาร์ ั ่ ่ ่ ตามที่เรานั้นเคย รู ้กนอยูแล้วว่ากีตาร์นนก็มีอยูสองแบบคือ กีตาร์โปร่ ง กับกีตาร์ไฟฟ้ า แต่วาเราลองมารู ้จก ั่ ั กีตาร์ในแต่ละประเภทกันให้มากกว่านี้ดีกว่า  กีตาร์ โปร่ ง หรือ อาคูสติกกีตาร์ นันเอง ก็คือกีตาร์ที่มีลาตัวโปร่ งไม่ตองอาศัยไฟฟ้ าในการเล่น ซึ่ง ่ ํ ้ ้ ุ่ สามารถที่จะพกพาไปเล่นได้ในทุก ๆ ที่ ไม่ตองใช้อุปกรณ์อะไรให้วนวาย สามารถแบ่งได้ดงนี้ ั  กีตาร์ คลาสสิ ก (Classic Guitar) ซึ่งถือว่าเป็ นต้นแบบของ กีตาร์ในยุคปั จจุบนนันเองซึ่งมีลกษณะเด่นก็คือมีลูกบิดและแกนพัน ั ่ ั สายเป็ นพลาสติก มีคอ หรื อ ฟิ งเกอร์บอร์ดที่ใหญ่คือประมาณ 2 นิ้ว ลักษณะแบนราบ และ ใช้สายเอ็นหรื อไนล่อน ส่ วน 3 สายบน(สาย เบส) จะทําด้วยไนล่อนหรื อ ใยไหมแล้วพันด้วยเส้นโลหะ เช่น เส้น ทองแดงหรื อบรอนซ์ ซึ่งทําให้มีความนุ่มมือเวลาเล่นไม่เจ็บเหมือน สายโลหะ จึงเหมาะกับคนที่อยากหัดกีตาร์แต่กลัวเจ็บนิ้ว กีตาร์อีกอย่างที่อยากกล่าวถึงในหัวข้อกีตาร์คลาสสิ กคือ กีตาร์ฟลาเมนโก (flamenco) ซึ่งมีโครงสร้างแทบ จะเหมือนกับกีตาร์คลาสสิ กทุกประการ เนื่องจากได้มีการ พัฒนามาจากกีตาร์คลาสสิ กนันเอง จะต่างกันก็ที่ลาตัวจะ ่ ํ บางกว่า และมีปิคการ์ดทั้งด้านบนล่างของโพรงเสี ยง และสไตล์การเล่นนันเองที่จะเป็ นแบบสแปนนิสหรื อแบบลาติน ่ ซึ่งจะมีจงหวะที่ ค่อนข้างกระชับและสนุกสนาน ั ด้วยเหตุที่ใช้สายไนล่อนนันเองทําให้กีตาร์ ่ คลาสิ กมีเสี ยงที่ไพเราะนุ่มนวลและคอที่กว้างทําให้ระยะ ระหว่างสายก็มากขึ้นไปด้วย ซึ่งทําให้การเล่นกีตาร์คลาส สิ คนั้นจะสามารถเล่นได้ท้ งการ solo เล่น chord และ bass ั ได้นอกจากนี้ยงมีการใช้เทคนิคลูกเล่นต่าง ๆ อีกมากมาย ั ทําให้การเล่นกีตาร์คลาสสิ กนั้นมีความไพเราะมากยิงขึ้น่ แต่กไม่ง่ายนักกว่าจะเล่นได้อย่างที่วา นอกจากจะได้ไป ็ ่ เรี ยนอย่างเป็ นจริ งเป็ นจังกับโรงเรี ยนดนตรี ส่ วนต่าง ๆ ของกีตาร์คลาสสิ ก ความเป็ นมาของกีตาร์ By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
  • 8.  กีตาร์ โฟล์ ค(Folk Guitar) ถือว่าเป็ นที่นิยมและรู ้จกกันมากที่สุดเนื่องจากหาซื้อง่ายราคาไม่แพง ั จนเกินไป(ที่แพง ๆ ก็มี) สามารถฝึ กหัดได้ง่ายไม่ตองรู ้ถึงทฤษฎีดนตรี มากนัก ใช้เวลาไม่นาน ้ ก็จะสามารถเล่นเพลงง่าย ๆ ฟังกันในหมู่เพื่อนฝูงได้แล้วแต่จริ ง ๆ กีตาร์โฟล์คมันมีอะไรมาก กว่านั้น ลักษณะทัว ๆ ไป คือ แกนหมุนและลูกบิดมักเป็ นโลหะ คอ หรื อ ฟิ งเกอร์บอร์ดเล็กกว่า ่ กีตาร์คลาสสิ กมีลกษณะโค้งเล็กน้อยรับกับนิ้วมือ แต่มีลาตัว (body) ที่ใหญ่ และ แข็งแรงกว่า ั ํ กีตาร์คลาสสิ ก ใช้สายที่ทาจากโลหะ เนื่องจากคอกีตาร์ที่เล็กและสายที่เป็ นโลหะกีตาร์ประเภท ํ นี้จึงเหมาะกับการเล่นด้วยปิ ค (flat pick) หรื อการเกา (finger picking) ซึ่งเสี ยงที่ได้จะดังชัดเจน สดใสกว่ากีตาร์คลาสสิ ก จึงเหมาะกับการเล่นกับดนตรี ทว ๆ ไป ซึ่งอาจเล่นเดี่ยวหรื อเล่นเป็ น ั่ วงก็ได้ กีตาร์โฟล์คนั้นมีขนาดและรู ปร่ างต่าง ๆ กันไปบ้างตามแต่ละความต้องการใช้ ประโยชน์ หรื อตามแต่ละผูผลิตส่ วนมากก็จะแบ่งได้เป็ น standard folk กีตาร์, jumbo folk กีตาร์ ้ flat top folk กีตาร์ นอกจากนี้ยงมีแบบพิเศษอีกประเภทคือ กีตาร์ 12 สาย(แถวบนขวาสุ ด) ซึ่ง ั จะมีสายแบ่งเป็ น 6 คู่ซ่ ึงเวลาเล่นก็เล่นเหมือนกีตาร์ทว ๆ ไป เพียงแต่จะได้เสี ยงที่กงวานและ ั่ ั แน่นขึ้น Resonator กีตาร์ หรื อ Resophonic กีตาร์ เป็ นกีตาร์อีกประเภทที่เราไม่ค่อยเห็นบ่อยนัก บางทีกเ็ รี ยกว่า dobro มีลกษณะเด่นคืออาศัย resonatorซึ่ งจะทําให้เกิดเสี ยง resonance หรื อขยายเสี ยงให้ดงโดยทําให้เกิด resonance มี ั ั ทั้งแบบ tri-plate resonator คือมีเจ้า resonator 3 แผ่น และแบบ single-resonator คือมี resonator แผ่นเดียวนันเอง ่ โครงสร้างโดยส่ วนใหญ่จะทําด้วยโลหะ สําหรับกีตาร์ประเภทนี้มกจะเล่นกับเพลงบลูส์ที่ใช้สไลด์เช่นพวกเดลต้าบลูส์ ั หรื อประเภทบลูกลาส ( bluegrass ) โดยใช้ไสลด์กีตาร์ หรื อเล่นกับเพลงแบบฮาวาย  Arch top Guitar เป็ นกีตาร์อีประเภทหนึ่งบ้านเราอาจจะไม่ค่อยเห็นคนเล่นมากนักลักษณะทัว ๆ ไป จะ ่ คล้ายกับกีตาร์โฟล์ค แต่ดานหน้าจะโค้ง(arch แปลว่าโค้ง) ซึ่งกีตาร์โฟล์คจะแบนราบ และโพรงเสี ยงจะไม่เป็ นแบบช่อง ้ กลม แต่จะเป็ นรู ปตัว f (แค่คล้ายตัว f ที่เป็ นตัวเขียนไม่ใช่ตวพิมนะครับ) อยู่ 2 ช่องบนด้านหน้าของลําตัว ส่ วนสะพาน ั ยึดสายด้านล่างมักเป็ นแบบหางปลา (tail piece) ส่ วนมากจะใช้เล่นในดนตรี แจ๊ส ความเป็ นมาของกีตาร์ By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
  • 9.  Semi Acoustic Guitar เป็ นกีตาร์ที่มีลกษณะครึ่ ง ๆ หรื อลูกผสมระหว่างกีตาร์โปร่ งกับกีตาร์ไฟฟ้ า แต่ ั ไม่ใช่กีตาร์โปร่ งไฟฟ้ านะครับ กีตาร์โปร่ งไฟฟ้ าก็คือกีตาร์โปร่ งที่ได้มีการประกอบเอา pick up (ที่เราเรี ยกกันว่าคอน แทคนันแหละครับ) ประกอบเข้าไปกับตัวกีตาร์โปร่ งทําให้สามารถต่อสายจากกีตาร์เข้าเครื่ องขยายได้โดยตรง ไม่ตอง ่ ้ เอาไมค์มาจ่อที่กีตาร์หรื อไม่ตองไปซื้อ pick up มาต่อต่างหาก แต่ Semi Acoustic กีตาร์จะมีลาตัวโปร่ ง และแบนราบ ้ ํ แต่จะมี pick up ติดอยูบนลําตัว และมักจะมีช่องเสี ยงเป็ นรู ปตัว f เช่นเดียวกับแบบ arch top ซึ่งทําให้กีตาร์ประเภทนี้มี ่ คุณสมบัติของกีตาร์โปร่ งคือเล่นแบบไม่ต่อเครื่ องขยายก็ได้หรื อจะต่อเครื่ องขยายก็สามารถเล่นได้เช่นเดียวกับกีตาร์ ไฟฟ้ า ส่ วนใหญ่กีตาร์ประเภทนี้มกจะพบว่าใช้ในดนตรี บลูส์ หรื อดนตรี แจ๊สเป็ นส่ วนมาก ั ความเป็ นมาของกีตาร์ By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
  • 10. ่ Solid Body Electric Guitarซึ่ งก็คือกีตาร์ไฟฟ้ าที่เรา ๆ ท่าน ๆ รู ้จกกันดีอยูแล้วซึ่งมีอยูมากมายหลายแบบ ั แต่ลกษณะเด่นก็คือลําตัวจะเป็ นแบบตัน และประกอบด้วย pick up ซึ่งเป็ นหัวใจของกีตาร์ไฟฟ้ าอีก 2 หรื อ 3 ชุด ไว้บน ั ลําตัวกีตาร์สาหรับแปลงสัณญาณเสี ยงเป็ นกระแสไฟฟ้ าเข้าไปยังเครื่ องขยายอีกที ํ กีตาร์ประเภทนี้ตองมีเครื่ องขยาย ้ ่ ิ ้ ็ (แอมป์ นันแหละครับ)มิฉะนั้นเวลาเล่นต้องเอาหูไปแนบใกล้ ๆ ตัวกีตาร์ถึงจะได้ยนเสี ยง แต่ขอดีกคือเราสามารถที่จะ ปรับแต่งเสี ยงของมันได้อย่างอิสระด้วยการ control ปุ่ ม volume หรื อ tone และยังใช้ร่วมกับ effect ต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบนมี ั การผลิตมามากมายหลายแบบเหลือเกิน เช่น distortion ,overdrive, flanger เป็ นต้น ทําให้สามารถปรับแต่งสําเนียงกีตาร์ ตามที่เราต้องการได้ นอกจากนี้ pick up ที่ใช้ยงมีท้ งแบบ single coil และแบบ double coil (humbacking) ซึ่งต่างลักษณะของ ั ั การพันขดลวดรอบแกนแม่เหล็กและทําให้เสี ยงที่ได้ออกมานั้นต่างกันอีกด้วย การติดตั้ง pick up ไว้ในตําแหน่งที่ ต่างกันก็จะให้เสี ยงที่ต่างกันด้วยเช่นกัน เช่น การติด pick up ติดกับปลายสุ ดของฟิ งเกอร์บอร์ดจะให้เสี ยงที่ทม หรื อ ุ้ pick up ที่ติดกับสะพานสาย (bridge) จะให้เสี ยงที่แหลมกว่าใช้ในการ solo เป็ นต้น และอุปกรณ์พิเศษอีกอย่าง ความเป็ นมาของกีตาร์ By Ozzy Rockman / www.kruood.net 
  • 11. ่ ั ที่สามารถทําให้เสี ยงกีตาร์แปลกออกไปก็คือคันโยก (tremolo bar) ได้แก่ชุดก้านยาว ๆ ที่ติดอยูกบสะพานสายนันเองใช้ ่ กดขึ้นลงเพื่อเปลี่ยนความตึงของสายกีตาร์ทาให้ระดับเสี ยงที่ ํ ออกมานั้นแตกต่างไปจากปกติ สําหรับกีตาร์ไฟฟ้ าปัจจุบนเป็ นที่ ั นิยมกันมากในวงการดนตรี pop rock เพราะมีเสี ยงหนักแน่นเล่น ได้ท้ งแบบ rhythm หรื อการ solo (หรื อเล่น lead กีตาร์) โชว์ ั สําเนียงของกีตาร์และสไตล์ของแต่ละคนซึ่งเป็ นที่นิยมในหมู่ วัยรุ่ นมาก  Steel หรือ pedal steel guitar หลายคนอาจไม่คุนเคยกับเจ้ากีตาร์แบบนี้เท่าไรนัก ส่ วนใหญ่กีตาร์แบบนี้จะ ้ เล่นในเพลงประเภทเพลง country และแบบ ฮาวาย เป็ นส่ วนมากเวลาเล่นจะเล่นด้วยสไลด์  กีตาร์ แบบอืน ๆ นอกจากกีตาร์ประเภทต่าง ๆ ที่กล่าวมาด้านบนแล้ว ยังมีกีตาร์แบบพิเศษอื่น ๆ ซึ่งอาจจะทํา ่ ขึ้นมาเพื่อประโยชน์เฉพาะประเภท หรื อเล่นเป็ นพิเศษกับเพลงนี้โดยเฉพาะ เราจะไม่ค่อยเห็นมากนักเช่นกีตาร์ที่มี จํานวนสายแปลก ๆ มีรูปร่ างแปลก ๆ เช่นกีตาร์ 7 สาย กีตาร์ Harmony Sovereigh แบบ 9 สาย กีตาร์ที่ใช้สายของกีตาร์ เบสประกอบด้วย กีตาร์ 2 คอ กีตาร์ 2 คอรู ปตัว V หรื อ 4 คอ รู ปตัว X เป็ นต้น ความเป็ นมาของกีตาร์ By Ozzy Rockman / www.kruood.net