SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
หน่วยที่

2

ดนตรีตะวันตก

(The Western Music)
วัตถุประสงค์
สมัย

1.

เพื่อให้นิสิตทราบถึงประวัติความเป็นมาและรูปแบบของดนตรีตะวันตกในแต่ละ

2.
3.
4.

ยุค

เพื่อให้นิสิตทราบถึงการแบ่งแยกประเภทของเครื่องดนตรีตะวันตก
เพื่อให้นิสิตทราบถึงบทเพลงที่สำาคัญของดนตรีตะวันตก
เพื่อให้นิสิตทราบถึงการประสมวงดนตรีตะวันตก

ตอนที่

2.1

และโอกาสในการบรรเลง

ประวัติความเป็นมาและรูปแบบของดนตรี

จากวิวฒนาการของดนตรีตะวันตกที่เกิดขึ้นโดยการค้นคว้าของนักวิชาการทางด้านดนตรีวิทยา
ั
นั้น

ประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตกสามารถแบ่งออกได้เป็น

6

ยุคใหญ่ๆ

ดังนี้คือ

1. ยุคกลาง (The Middle Ages)
2. ยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยา (The Renaissance Period)
3. ยุคบาโร๊ค (The Baroque Period)
4. ยุคคลาสสิค (The Classical Period)
5. ยุคโรแมนติค (The Romantic Period)
6. ยุคอิมเพรสชั่นนิสติค (The Impressionistic Period or
Impressionism)
7. ยุคศตวรรษที่ 20 (The Twentieth Century)
ลักษณะเด่นๆโดยสรุปของดนตรีตะวันตกในแต่ละยุคมีดังนี้

เรื่อง

2.1.1

ยุคกลาง

(The Middle Ages)

5–15 (ราว ค.ศ. 450 – 1400) เรียก
อีกอย่างหนึ่งว่ายุคเมดิอิวัล (Medieval Period) หรือยุคมืด (Dark Ages)
เนื่องจากสภาพทั่วไปยังคงมีแต่สงคราม ดนตรีสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ ดนตรีสำาหรับ
ศาสนา (Ritual Music) และดนตรีสำาหรับชาวบ้านทั่วไป (Secular Music) ดนตรี
Secular Music นั้นไม่มีบทบาทสำาคัญ แต่จะเล่นกันในกลุ่มชาวบ้านในชนบท ดนตรีที่ถอว่า
ื
ยุคกลางคือ ช่วงเวลาระหว่างศตวรรษที่

เป็นภาพรวมของดนตรีในยุคนี้คือดนตรีที่ใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
เพลงสวดเพื่อสรรเสริญพระเจ้า
และไม่มีอตราจังหวะ
ั

(Polyphony)
เครื่องดนตรี

เรื่อง

2.1.2

ซึ่งส่วนมากจะมีลกษณะเป็น
ั

(Chant)

มีเนื้อร้องเป็นภาษาลาติน เป็นบทเพลงที่มีแนวทำานองเดียว
ในช่วงปลายยุคได้พัฒนาให้มีแนวทำานองหลายแนวสอดประสานกัน

และมีอตราจังหวะ เพลงร้องพบได้ทั่วไปและเป็นที่นิยมมากกว่าเพลงที่บรรเลงด้วย
ั

รูปแบบของเพลงเป็นแบบทำานองทีไล่ล้อตามกัน
่

ยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยา

(Canon)

(The Renaissance Period)
ยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาหรือยุคเรเนสซองค์อยู่ในช่วงศตวรรษที่

15–16

(ราวๆ

..

ค ศ

1450–1600)

เป็นยุคของการแสวงหาความรู้และค้นพบในสิ่งใหม่ๆ สำาหรับดนตรีนั้นลักษณะ
ของการสอดประสานทำานองยังคงได้รับความนิยมในยุคนี้
เพลงในยุคนี้มีลกษณะล้อกันในแนวทำานอง
ั

(Imitative Style) และมีทั้งเพลงที่มีอัตราจังหวะและไม่มีอตราจังหวะ ลักษณะบันได
ั
เสียงเป็นแบบโหมด (Modes) ยังไม่ได้ได้รับนิยม การประสานเสียงเกิดจากแนวทำานองแต่ละแนว
เดียวกัน

สอดประสานกัน มิได้เกิดจากการใช้คุณสมบัติของคอร์ด ลักษณะของเสียงเกี่ยวกับความดังค่อยยังไม่ค่อย
พบ เพลงร้องและเพลงบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีได้รับความนิยมพอๆกัน และมีการประสมวงดนตรีขนาด
เล็กเกิดขึ้น
เรื่อง

2.1.3

ยุคบาโร๊ค

(The Baroque Period)
17–18 (

. . 1600 – 1750)

ยุคบาโร๊คอยู่ในช่วงระหว่างศตวรรษที่
ราวๆ ค ศ
เป็นยุคที่มีความเจริญรุ่งเรืองในหลายๆด้าน
สำาหรับลักษณะของดนตรีนั้นในช่วงต้นยุคมีการใช้เสียง
ประสาน และการสอดประสานทำานองเป็นลักษณะที่พบได้เสมอในปลายยุค เริ่มนิยมการใช้บันไดเสียง

(Major and Minor Scales) แทนการใช้โหมดต่างๆ การ
ประสานเสียงมีหลักเกณฑ์c]t เป็นระบบ อัตราจังหวะเป็นสิ่งสำาคัญของบทเพลง มีการใช้ความดังเบาของ
เมเจอร์ และไมเนอร์

เสียง แต่เป็นลักษณะที่ดังหรือเบาแบบทันทีทันใด มิใช่แบบค่อยๆดังขึ้นหรือค่อยๆเบาลง และไม่มีลักษณะ
ของความดังมากหรือเบามาก บทเพลงบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีได้รับความนิยมมากขึ้น บทเพลงร้องยังคง
มีอยู่และได้รับความนิยมเช่นกัน

เรื่อง

2.1.4

ยุคคลาสสิค

(The Classical Period)

ยุคคลาสสิคอยู่ในช่วงระหว่างศตวรรษที่

18

และช่วงต้นของศตวรรษที่

19 (ค.ศ.

1750–1825)

เป็นยุคที่ดนตรีมกฎเกณฑ์อย่างมาก การใส่เสียงประสานเป็นลักษณะเด่นของยุค
ี
นี้ การสอดประสานทำานองมิได้เป็นลักษณะเด่นในยุคนี้ การใช้บันไดเสียงเมเจอร์และไมเนอร์เป็นหลักใน
การประพันธ์เพลง ลักษณะของบทเพลงมีความสวยสดงดงาม มีระเบียบแบบแผน บริสุทธิ์ ลักษณะของ
เสียงเกี่ยวกับความดังเบาเป็นหลักสำาคัญของเพลง แต่ไม่มีการแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้ประพันธ์
ไว้ในบทเพลงอย่างเด่นชัด
บทเพลงร้องและบทเพลงบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีมีลักษณะซับซ้อนมากขึ้น
บทเพลงบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีเป็นที่นิยมอย่างมาก การผสมวงดนตรีมีการพัฒนามากขึ้น การบรรเลง
โดยใช้วงดนตรีและการบรรเลงเดี่ยวของผู้เล่นเพียงคนเดียวในลักษณะบทเพลงที่เรียกว่า

Concerto
(Symphony)
เรื่อง

2.1.5

ยุคโรแมนติค

ได้รับความนิยมมากในยุคนี้เช่นเดียวกันกับบทเพลงประเภทซิมโฟนี
และบทเพลงเดี่ยว

(Sonata)

ด้วยเครื่องดนตรีต่างๆ

(The Romantic Period)
19 ( . .1825 – 1900 )

เป็นยุคของดนตรีระหว่างศตวรรษที่
ค ศ
ลักษณะเด่นของ
ดนตรีในยุคนี้คือ เป็นดนตรีที่แสดงอารมณ์ความรู้สึกของผู้ประพันธ์เป็นอย่างมาก ฉะนั้นโครงสร้างของ
ดนตรีจึงมีหลายหลากแตกต่างกันไปในรายละเอียด การใช้บันไดเสียงเมเจอร์และไมเนอร์ยังเป็นสิ่งสำาคัญ
การใช้เสียงประสานเป็นลักษณะเด่นของเพลงในยุคนี้แต่ได้มีการพัฒนาและคิดค้นหลักวิธีการใหม่ๆขึ้น มี
การใช้สีสันของเสียงจากเครื่องดนตรีเป็นสื่อในการแสดงออกทางอารมณ์ บทเพลงมักจะมีความยาวมาก
ขึ้นเนื่องจากมีการขยายโครงสร้างและรูปแบบของดนตรี การผสมวงดนตรีได้มการพัฒนาไปมาก วงดนตรี
ี
ออร์เคสตร้ามีขนาดใหญ่กว่าวงดนตรีออร์เคสตร้าในยุคคลาสสิค บทเพลงมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป
บทเพลงคอนแชร์โต
ซิมโฟนี
โซนาตา
และแชมเมอร์
มิวสิค
ยังคงได้รับความนิยมมาก

2.1.6 ยุคอิมเพรสชั่นนิสติค (The Impressionistic Period or
Impressionism)
เรื่อง
. . 1890–1910 ลักษณะสำาคัญของเพลง
(Whole-tone Scale) ซึ่งทำาให้บทเพลงมี

ยุคอิมเพรสชั่นนิสติคอยู่ในช่วงระหว่าง ค ศ

ในยุคนี้คอ การใช้บันไดเสียงแบบเสียงเต็ม
ื
ลักษณะลึกลับ คลุมเครือ ไม่กระจ่างชัด บางครั้งจะมีความรู้สึกโล่งๆว่างๆ ลักษณะเสียงไม่หนักแน่นเหมือน
กับบทเพลงในยุคโรแมนติค การประสานเสียงไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ในยุคก่อน สามารถพบการประสาน
เสียงในลักษณะแปลกๆโดยไม่คาดคิดได้ในบทเพลงประเภทอิมเพรสชั่นนิซึม
บทเพลงเป็นรูปแบบง่ายๆ
ส่วนมากเป็นบทเพลงสั้นๆรวมกันเป็นชุด

เรื่อง

2.1.7

ยุคศตวรรษที่

20 (The Twentieth Century)

20

ในยุคศตวรรษที่
เป็นยุคที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทและอิทธิพลเป็นอย่างมากต่อสังคม
ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายในหลายๆด้าน สำาหรับลักษณะของดนตรีในยุคนี้คือ ได้มีการ
ทดลองสิ่งแปลกๆใหม่ๆ
และได้นำาเอาหลักวิธการการเก่าๆมาพัฒนาเปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้เข้ากับแนว
ี
ความคิดในยุคปัจจุบัน มีการใช้การประสานเสียงโดยใช้บันไดเสียงต่างๆรวมกัน และการใช้การประสาน

(Dissonance)

เสียงที่ไม่กลมกลืนกัน
ทำาให้เกิดความรู้สึกระคายหู กระด้างในเวลาฟัง อัตรา
จังหวะของเพลงมีการเปลี่ยนแปลงกลับไปกลับมา วงออร์เคสตร้าได้รับความนิยมน้อยลงในขณะที่วงดนตรี
ขนาดเล็กในลักษณะแชมเบอร์มิวสิคกลับมาได้รับความนิยมมากขึ้น
นอกจากนีได้มีการใช้เทคโนโลยี
้
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อทำาให้เกิดเสียงดนตรีหรือสังเคราะห์เสียง ทำาให้เกิดสีสันที่แปลกออกไป เน้นการใช้
จังหวะในรูปแบบต่างๆ บางครั้งไม่มีทำานองที่โดดเด่น กล่าวโดย สรุปคือ โครงสร้างของเพลงในศตวรรษที่

20

นี้มีหลากหลาย สามารถพบสิ่งต่างๆในยุคก่อนๆที่ผ่านมา แต่ได้มการเสนอแนวคิดใหม่เพิ่มเข้าไป
ี
ตอนที่

2.2

การแบ่งแยกประเภทของเครืองดนตรี
่

เครืองดนตรีในวัฒนธรรมตะวันตกมีมากมายหลายชนิด
่
ประเภทได้ดังนี้
เรื่อง

2.2.1

กลุ่มเครืองเป่า
่

(Wind Instruments)

กลุ่มเครื่องเป่าสามารถแยกออกได้เป็น
เครืองลมไม้
่

-

ซึ่งสามารถจัดกลุ่มและแบ่งแยก

2

(Woodwind)

เครืองลมทองเหลืองประเภทท่อ
่

- เครื่องลมทองเหลืองประเภทลิ้นเดี่ยว
โฟน

ประเภทใหญ่คอ
ื
สามารถแยกออกได้เป็น

เกร

เครื่องเป่าจำาพวกฮอร์น

เรื่อง

(Horn)

เครื่องเป่าจำาพวกแตร

2.2.2

เครื่องสาย

พัฒนามาจากการเป่าเขาสัตว์ ได้แก่ ฮอร์นชนิดต่างๆ

(Trumpet)

ได้แก่

(String

สำาหรับเครื่องดนตรีในกลุ่มเครืองสายนั้น
่
เครืองสายที่ใช้ดีด
่

ได้แก่ โอโบ บาสซูน คอร์อัง

(Brass)

เครืองลมทองเหลือง
่

-

ประเภทคือ

(Pipe)
ได้แก่
ฟลู้ท
ปิคโคโล
(Single Reed) ได้แก่ คลาริเนท แซ๊กโซ

- เครื่องลมทองเหลืองประเภทลิ้นคู่ (Double Reed)

เป็นต้น

3

(Pluck)

ทรัมเปท

เป็นต้น

Instruments)

สามารถแบ่งแยกออกได้เป็น
ได้แก่

คอร์นเนท

พิณ

2
กีต้าร์

ประเภทคือ
เป็นต้น
(Bow)

เครืองสายที่ใช้สี
่

2.2.3

เรื่อง

ได้แก่

ไวโอลิน

วิโอลา

2

เครื่องตีหรือเครืองกระทบสามารถแบ่งแยกออกได้เป็น
่

(Pitch)

ได้แก่

ดับเบิ้ลเบส

(Percussion)

เครื่องตีหรือเครืองกระทบ
่

เครืองตีที่มีระดับเสียง
่

เชลโล

ไซโลโฟน

ประเภทคือ
เบลไลล่า

ฯลฯ

(Non-Pitch)

เครืองตีที่ไม่มีระดับเสียง
่
ได้แก่ กลองชนิดต่างๆ เช่น กลองแต๊ก กลอง
ใหญ่ กลองทอม เป็นต้น และเครื่องกระทบที่ทำาจากไม้ โลหะ หรือวัสดุอื่นๆ เช่น ฉาบ ฆ้อง กรับ และเครื่อง
ประกอบจังหวะแถบลาตินอเมริกา
เป็นต้น

เรื่อง

2.2.4

(Keyboard)

เครื่องดนตรีประเภทลิ่มนิ้ว

เครื่องดนตรีประเภทนี้ได้แก่

ออร์แกน

ตอนที่

2.3

ในวัฒนธรรมดนตรีตะวันตก

ฮาร์พซิคอร์ด

คลาวิคอร์ด

บทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นอย่างมีระเบียบแบบแผนตั้งแต่อดีตจนถึง

2.3

นี้ จะขอกล่าวถึงประเภทของบทเพลง

ที่สำาคัญและยังคงมีการบรรเลงอยูในปัจจุบัน โดยสามารถแบ่งแยกออกได้เป็น
่
บรรเลง
บทเพลงประกอบการแสดง

2.3.1

เป็นต้น

ประเภทของบทเพลง

ปัจจุบันนั้นมีมากมายหลายประเภท สำาหรับเนื้อหาในตอนที่

เรื่อง

เปียโน

3

ประเภท คือ บทเพลง
และบทเพลงอื่นๆ

(Instrumental

บทเพลงบรรเลง

Music)
2

บทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นเพื่อการบรรเลงดนตรีเพียงอย่างเดียว
สามารถแบ่งออกได้เป็น
ประเภทตามความมุ่งหมายของการประพันธ์
คือ
ดนตรีบริสุทธิ์
และดนตรีบรรยายเรื่องราว

(Absolute Music)

ดนตรีบริสุทธิ์
แบบแผนสำาหรับการบรรเลงดนตรีเป็นหลัก

หมายถึง บทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นอย่างมีระเบียบ
มิได้มีความมุ่งหมายทีจะใช้ดนตรีเพื่อบรรยายเรื่องราวใดๆ
่

(Program Music)

สำาหรับดนตรีบรรยายเรื่องราว
หมายถึง ดนตรีที่ประพันธ์ขึ้นเพื่อใช้
บรรยายเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่ผู้ประพันธ์ได้ประสบพบเจอ
ด้วยตนเองหรือจากวรรณคดี ทั้งนี้ชื่อเพลงประเภทนี้จะบอกถึงเรื่องราวนั้นๆ บทเพลงที่สำาคัญของดนตรีทั้ง

2

ลักษณะซึ่งเป็นบทเพลงบรรเลงได้แก่

(Symphony)

ซิมโฟนี

(Sounding together)

ซิมโฟนีเป็นภาษาเยอรมัน หมายถึง เสียงที่รวมกัน
ซิมโฟนีเป็นบทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นสำาหรับบรรเลงโดยวงดนตรีออร์เคสตร้า

(Movement)

ประกอบไปด้วยจำานวนท่อน

3 หรือ 4 ท่อน ซึ่งมีการจัดรูปแบบความเร็วจังหวะ
เร็ว-ช้า-เร็วปานกลาง-เร็ว บทเพลงซิมโฟนีจะไม่มีการบรรเลง

หลายๆท่อน โดยปกติจะมี

- -

ของแต่ละท่อนดังนี้คือ เร็ว ช้า เร็ว หรือ
เดี่ยวของเครื่องดนตรีอย่างเด่นชัด
แต่จะเป็นลักษณะการบรรเลงของเครื่องดนตรีทั้งหมด

(Concerto)

คอนแชร์โต
คอนแชร์โต

together)

เป็นคำาในภาษาฝรั่งเศส

มีความหมายว่าการนำามารวมกัน

(To join

ซึ่งหมายถึงการบรรเลงดนตรีร่วมกัน เช่น ผู้ขับร้องเดียวร้องร่วมกับวงประสานเสียง ผู้
่
บรรเลงเครื่องดนตรีเดี่ยวบรรเลงดนตรีกับวงออร์เคสตร้า
คอนแชร์โตที่สำาคัญมีอยู่สองประเภท

Grosso)

คือ

คอนแชร์โต

(Solo Concerto)

และ โซโลคอนแชร์โต
ลักษณะสำาคัญของคอนแชร์โตทั้งสองประเภทมีดังนี้

1.

กรอสโซ

(Concerto

ซึ่งนิยมเรียกสั้นๆว่า คอนแชร์โต

(Concerto Grosso)
บทเพลงมีจำานวนท่อนไม่แน่นอน ปกติมักจะมี 3-4 ท่อน
คอนแชร์โต กรอสโซ

เป็นลักษณะของคอนแชร์โต

ในยุคบาโร๊ค
คอนแชร์โต กรอสโซ เป็น
ลักษณะการบรรเลงของเครื่องดนตรีสองกลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งคือวงออร์เคสตร้าซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ อีกกลุ่มหนึ่ง
เป็นกลุ่มของเครื่องดนตรีที่บรรเลงเดี่ยว ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประมาณ

2-3

ชิ้น โดยทั้งสองกลุ่มจะ

-

ผลัดกันบรรเลง ซึ่งเน้นความแตกต่างของสีสันและความดัง ค่อย บทบรรเลงของเครืองดนตรีเดี่ยวเรียกว่า
่

(Concertino) ส่วนบทบรรเลงของวงออร์เคสตร้าเรียกว่า ทูที (Tutti)
2. โซโลคอนแชร์โต (Solo Concerto) เมื่อกล่าวถึงคำาว่าโซโลคอนแชร์โต จะ
นิยมเรียกสั้นๆว่าคอนแชร์โต (Concerto)
หมายถึงบทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นสำาหรับการบรรเลง
คอนแชร์ติโน

เดี่ยวของเครื่องดนตรีหนึ่งชนิดกับวงออร์เคสตร้า เช่น หากประพันธ์ขึ้นสำาหรับเปียโน จะเรียกว่าเปียโน
คอนแชร์โต หรือประพันธ์สำาหรับไวโอลิน จะเรียกว่าไวโอลินคอนแชร์โต เป็นต้น เป็นลักษณะของคอน
แชร์โตในยุคคลาสสิค ประกอบท่อนจำานวน

3

3

- -

ท่อน คือ เร็ว ช้า เร็ว ซึ่งมีลกษณะเช่นเดียวกับซิมโฟนีที่
ั

3

ตัดท่อนที่
ออกไป จึงเหลือ
ท่อน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะในการบรรเลงบทเพลงคอนแชร์โตจะประกอบ
ไปด้วยส่วนที่สำาคัญสองส่วนคือ ส่วนที่บรรเลงโดยเครื่องดนตรีเดียว และส่วนที่บรรเลงโดยวงออร์เคสตร้า
่

4

ซึ่งย่อมทำาให้บทเพลงแต่ละท่อนมีความยาวขึ้น หากมี
ท่อน คอนแชร์โตจะมีความยาวเกินไป รูปแบบ
เช่นนี้ได้ยึดถือปฏิบติตอกันมาตั้งแต่ยุคคลาสสิคจนถึงยุคปัจจุบัน
ั ่

(Sonata)

โซนาตา

โซนาตา เป็นคำาภาษาอิตาเลียน หมายถึง การฟัง โซนาตาจัดเป็นบทเพลงที่มีความสำาคัญมา
ตั้งแต่ยุคบาโร๊คจนถึงยุคปัจจุบัน
มีความคล้ายคลึงกันกับลักษณะของคอนแชร์โต
โซนาตามีอยู่สอง
ลักษณะคือ โซนาตาที่บรรเลงโดยกลุ่มเครื่องดนตรีเล็กๆ ซึ่งเป็นโซนาตาแบบหนึ่งในยุคบาโร๊ค และโซนา
ตาที่บรรเลงโดยเครื่องดนตรีชนิดเดียวหรือสองชนิด แต่เน้นการแสดงออกของเครืองดนตรีเพียงชนิดเดียว
่
โดยมีเครืองดนตรีอกชนิดหนึ่งบรรเลงประกอบให้บทเพลงสมบูรณ์ขึ้น
่
ี
ซึ่งอาจเรียกว่า
โซโลโซนาตา

(Solo Sonata)

ได้ อย่างไรก็ตามหากเป็นบทเพลงโซนาตาสำาหรับเปียโน จะเป็นการบรรเลง
โดยเปียโนเพียงอย่างเดียว แต่ถ้าเป็นโซนาตาของเครื่องดนตรีอื่นๆ เช่น ไวโอลิน นิยมใช้เปียโนบรรเลง
ประกอบด้วย
โซนาตาในลักษณะนี้เป็นโซนาตาในยุคคลาสสิคและเป็นที่เข้าใจกันตั้งแต่ยุคคลาสสิคมา
จนถึงปัจจุบัน

2.3.2

เรื่อง

การแสดงในวัฒนธรรมตะวันตกที่สำาคัญได้แก่

(Opera)
(Ballet)
เปรา

บทเพลงประกอบการแสดง
การแสดงอุปรากรหรือละครเพลงที่เรียกว่า

และการแสดงละครเวทีโดยใช้ท่วงท่าเต้นบรรยายเรื่องราวที่เรียกว่า

โอ

บัลเลท์

(Opera)

โอเปรา

โอเปราคือ ละครที่มีเพลงและดนตรีเป็นหลักสำาคัญในการดำาเนินเรื่องราว ถือได้วาเป็นการรวม
่
กันของศิลปะการละครและดนตรี
ปกติการแสดงโอเปราผู้แสดงจะเป็นนักร้องที่สามารถแสดงละครได้
เพราะในการดำาเนินเรื่องใช้การร้องเป็นหลักโดยมีวงออร์เคสตร้าบรรเลงดนตรีประกอบ
ส่วนประกอบ
สำาคัญประการหนึ่งของโอเปราคือ ฉากการเต้นรำาในลักษณะต่างๆ ซึ่งมักจะปรากฏอยูในโอเปราแทบทุก
่

400

เรื่อง โอเปราจึงเป็นผลรวมของศิลปะหลายชนิดเข้าด้วยกัน ตลอดระยะเวลาร่วม
ปีที่เกิดมีโอเปรา
ขึ้นมานั้น
รูปแบบของโอเปรามีการเปลียนแปลงพัฒนาอยู่เสมอ
่

16

โอเปราถือกำาเนิดขึ้นในทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่
อันเป็นผลมาจากการศึกษา
ค้นคว้าของกลุ่มผูประพันธ์เพลงและนักกวีที่อยูในเมืองฟลอเรนซ์ประเทศอิตาลี
้
่
โดยพยายามที่จะรื้อฟื้น
และสร้างสรรค์ศิลปะการละครแบบหนึ่งของกรีกที่สูญหายไป

Drama)

ซึ่งมีลักษณะเป็นละครเพลง

(Music
รูปแบบของโอเปราได้พัฒนาอย่างมากต่อมาในเมืองเวนิช
สำาคัญในเวลานั้น

1630

ประเทศเช่น

ซึ่งเป็นแหล่งวัฒนธรรมทางดนตรีที่

และได้มการเปิดโรงละครโอเปราให้ประชาชนเข้าชมเป็นแห่งแรกราวๆปี
ี

..

ค ศ

โอเปราแบบอิตาเลียนจึงเริ่มแผ่ขยายเข้าไปสู่ประเทศต่างๆ ในยุโรปตั้งแต่นั้นมา และในบาง
ฝรั่งเศส
และเยอรมันได้คิดหารูปแบบโอเปราของตนเองในเวลาต่อมา

(Ballet)

บัลเลท์

บัลเลท์ประกอบด้วยองค์ประกอบสำาคัญสองส่วนคือการเต้นและดนตรี
โดยปกติจะประพันธ์
ดนตรีก่อน แล้วผู้คิดท่าเต้นจึงคิดท่าทางต่างๆให้เข้ากับดนตรี ซึ่งผู้ประพันธ์เพลงประพันธ์ในลักษณะของ
ดนตรีบรรยายเรื่องราวไว้ ในบางโอกาสบทเพลงประเภทนี้อาจจะถูกนำาไปบรรเลงมิได้ประกอบการแสดง
บัลเลท์
จึงมีลักษณะเป็นดนตรีบรรยายเรื่องราว
บัลเลท์มีลักษณะคล้ายโอเปรา กล่าวคือ เป็นการแสดงบนเวทีโดยมีตัวละครซึ่งใช้การเต้นเป็น
หลักโดยไม่มีบทเจรจาใดๆ มีการแบ่งเป็นองก์เป็นฉาก และที่สำาคัญคือการใช้ดนตรีบรรเลงประกอบใน
ลักษณะเช่นเดียวกันกับโอเปรา
ซึ่งมักจะใช้วงออร์เคสตร้าบรรเลง
ลักษณะของเพลงอาจจะเป็นการ

(Light Motive)

บรรยายเรื่องราวหรือการใช้ทำานองสั้นๆ
เช่นเดียวกันกับโอเปรา กล่าวคือ
การใช้แนวทำานองแทนตัวละครหรือเหตุการณ์ต่างๆ และครั้งใดก็ตามที่ตัวละครตัวหนึ่งปรากฏขึ้น ดนตรี
จะบรรเลงแนวทำานองนั้นเสมอ เนื่องจากตัวละครในบัลเลท์ไม่มีการร้องหรือเจรจาเป็นภาษาพูด ดนตรีจึงมี
ความสำาคัญมากเนื่องจากการสื่อภาษาต่างๆจะใช้ดนตรีถ่ายทอดโดยตลอด
และร่วมกับการเคลื่อนไหว

(Choreography) ซึ่งเปรียบเทียบได้กับบทละครของโอเปรา
(Choreographer) ถือได้ว่าเป็นผู้หนึ่งที่มีความสำาคัญมากเช่นกัน

ร่างกายในลักษณะของการเต้น
ผู้คิดท่าเต้น
เรื่อง

2.3.2

บทเพลงประเภทอื่น ๆ

บทเพลงประเภทอื่นๆที่มีความสลับซับซ้อนลึกซึ้งในรูปแบบของการประพันธ์ในวัฒนธรรมดนตรี
ตะวันตกนั้นยังมีอกมากมาย
ี
ในที่นี้จะขอกล่าวถึงประเภทที่สำาคัญดังต่อไปนี้
บทเพลงสำาหรับเปียโน

(Piano

เปียโนเป็นเครื่องดนตรีที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง

คือ

Music)
สามารถบรรเลงทั้งทำานองและการ

. .1709

ประสานเสียงได้ซึ่งเป็นเอกลักษณ์สำาคัญของเปียโน ตังแต่เปียโนถือกำาเนิดขึ้นในปี ค ศ
้
ผู้
ประพันธ์เพลงได้ให้ความสนใจในการประพันธ์เพลงสำาหรับเปียโนเป็นอย่างมาก
นอกจากบทเพลง
ประเภทเปียโนโซนาตาที่ได้กล่าวมาแล้ว
ตั้งแต่ยุคคลาสสิคเป็นต้นมาได้มการประพันธ์เพลงในลักษณะ
ี
ต่างๆสำาหรับเปียโนมาตลอดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคโรแมนติค
บทเพลงสำาหรับเปียโนมีมากมายหลาย
ลักษณะ ผู้ประพันเพลงธ์ได้คิดค้นเทคนิควิธีการบรรเลงโดยการใช้การประสานเสียงใหม่ๆขึ้นมา ทำาให้
บทเพลงสำาหรับเปียโนเป็นที่นิยมทั้งผู้บรรเลงและผู้ฟังมาจนถึงยุคปัจจุบัน นอกจากบทเพลงสำาหรับบรรเลง
เดี่ยวแล้วยังมีบทเพลงสำาหรับบรรเลงสองคนในเปียโนหลังเดียวกันและเปียโนสองหลัง รวมทั้งบทเพลงที่
ร่วมบรรเลงกับวงดนตรีในลักษณะต่างๆ
ออราทอริโอ

(Oratorio)

ออราทอริโอ คือ บทเพลงที่ประกอบไปด้วยการร้องเดียวของนักร้องระดับเสียงต่างๆ การขับ
่
ร้องของนักร้องประสานเสียงและการบรรเลงของวงออร์เคสตร้า
บทเพลงเป็นเรื่องราวเกียวกับศาสนา
่
คริสต์ที่มีความยาวมาก และจะทำาการแสดงในสถานที่แสดงคอนเสิร์ตหรือในโบสถ์ โดยไม่มีการแต่งตัว
แบบละคร ไม่มีการแสดงประกอบและฉากใดๆ ลักษณะของออราทอริโอคล้ายคลึงกันกับโอเปราที่ไม่มีฉาก
และการแสดงประกอบนั่นเอง ลักษณะเด่นที่ต่างไปจากเพลงโบสถ์อื่นๆ ได้แก่ การประพันธ์บทร้องที่คำานึง
ถึงดนตรีประกอบมิได้มุ่งถึงบทร้องที่นำามาจากบทประพันธ์ของโบสถ์แต่ดั้งเดิม ดังเช่นเพลงโบสถ์ลักษณะ
อื่น ๆ นอกจากนีออราทอริโอยังเป็นบทเพลงที่มีความยาวมากซึ่งต่างไปจากแคนตาตาอันเป็นบทเพลงที่สั้น
้

4-6

กว่า บทเพลงออราทอริโอบางบทถ้าแสดงโดยสมบูรณ์อาจจะใช้เวลายาวนานถึง
ชั่วโมง ใน
ปัจจุบันการแสดงบทเพลงประเภทนี้จึงมีการตัดทอนบางท่อนออกไปเพื่อลดเวลาการแสดงให้เหมาะสมกับ
โอกาส
แคนตาตา

(Cantata)

แคนตาตา คือ บทเพลงขับร้องที่นิยมประพันธ์กันในยุคบาโร๊ค ประกอบไปด้วยบทเพลงร้อง

(4-6 ท่อน หรือมากกว่า) ได้แก่ การร้องเดี่ยว การร้องคู่ การร้องในลักษณะของการพูด
(Recitative) และการร้องประสานเสียง บทเพลงมีทั้งที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและเรื่องทั่วๆไป
หลายท่อน
โจฮัน เซบาสเตียน บาค ผู้ประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียงในยุคบาโร๊ค ได้ประพันธ์บทเพลงแคนตาตาที่เกี่ยวกับ
ศาสนาไว้มากมาย

มีจำานวนประมาณ

200

บท

และประพันธ์บทเพลงแคนตาตาในลักษณะอื่นๆ

25

ประมาณ
บท รูปแบบสำาหรับบทเพลงแคนตาตาที่เกี่ยวกับศาสนาจะประกอบไปด้วยการเริ่มต้นของ
การร้องประสานเสียงที่ยืดยาว ตามด้วยการร้องเดี่ยวและการร้องในลักษณะของการพูดของนักร้องระดับ
เสียงต่างๆ

ปิดท้ายด้วยการขับร้องประสานเสียงสี่แนวในลักษณะเพลงสวด

(Chorale

หรือ

Hymn)
(Mass)

แมส

(Church

แมส คือ บทเพลงสวดของชาวโรมันแคธอลิค ซึ่งเป็นต้นกำาเนิดของเพลงโบสถ์

Music)

ในลักษณะต่างๆ และเพลงชาวบ้านทั่วไป

(Secular Music)

เพลงแมสมีคู่กับ

12

ศาสนามาเป็นเวลาช้านาน ในศตวรรษที่
รูปแบบของเพลงแมสมักจะเป็นการประพันธ์ในลักษณะ
การสอดประสานทำานอง และได้มีการพัฒนาไปตามแต่ละยุคสมัย แมสประกอบด้วยสองส่วนตามลักษณะ

The Proper of
the
Mass
The Ordinary of the Mass ประกอบด้วยบทสวด 5 ตอน คือ
Kyrie Gloria Credo Sanctus และ Agnus Dei
The Proper of the Mass ประกอบด้วยบทสวด 5 ตอน คือ Introit
Gradual
Alleluia
Offertory
และ
Communion
มีบทเพลงแมสอีกประเภทหนึ่งที่เรียกว่า เรควิเอียม (Requiem Mass) หมายถึง
เพลงสวดสำาหรับงานศพ เรียกว่าแมสแห่งความตาย (The Mass of the Dead)
ของบทสวด คือ

The Ordinary of the Mass

และ

อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะเป็นเพลงสวดธรรมดาหรือเพลงสวดในงานศพ เพลงแมสถือได้ว่าเป็นเพลง
ขนาดใหญ่ที่ต้องใช้ความสามารถในการประพันธ์เป็นอย่างมาก บทเพลงประเภทนี้มีความยาวมาก การขับ

(

)

ร้องมีทั้งการขับร้องเดี่ยว ร้องผสมวง สอง สาม หรือสี่ และการขับร้องแบบประสานเสียงวงใหญ่ รวมทั้ง
การบรรเลงของวงออร์เคสตร้า
การแสดงบทเพลงประเภทนี้ต้องมีการเตรียมตัวอย่างดีทั้งนักร้องและวงดนตรีออร์เคสตร้า รวม
ทั้งผู้จัดการแสดงด้วย ดังนั้นเมื่อมีการแสดงบทเพลงประเภทนี้เมื่อใด ผู้ฟังมักจะตื่นเต้นและตั้งใจไปฟัง
เสมอ
ซึ่งไม่บ่อยครั้งนักที่จะมีการแสดงบทเพลงประเภทนี้
บทเพลงประเภทต่างๆที่กล่าวมานี้ล้วนเป็นบทเพลงที่สำาคัญทั้งสิ้น อย่างไรก็ตามยังมีบทเพลงอีก
หลายประเภทที่น่าสนใจซึ่งมิได้กล่าวถึง ณ ที่นี้

ตอนที่

2.4

การประสมวงดนตรีและโอกาสในการบรรเลง

ในวัฒนธรรมดนตรีตะวันตกมีวงดนตรีประเภทต่างๆมากมายหลายรูปแบบซึ่งมีความแตกต่างกัน
ในแต่ละยุคสมัย
ทั้งนี้จะกล่าวถึงประเภทของวงดนตรีที่สำาคัญ
ดังต่อไปนี้
เรื่อง

2.4.1

วงแชมเบอร์มิวสิค

(Chamber

Music)

วงแชมเบอร์มิวสิค หมายถึง วงดนตรีขนาดเล็กที่ประกอบด้วยผู้บรรเลงเพียงไม่กี่คน อาจจะเป็น
เครื่องดนตรีในกลุ่มเดียวกันหรือเครื่องดนตรีต่างชนิดกันก็ได้ โดยปกติการประสมวงดนตรีแชมเบอร์มิวสิค

1 คนขึ้นไปจนถึง 9 คน หากมีจำานวนเกิน 9 คนแต่ไม่เกิน 20
คน จะเรียกว่า “อังซัมเบลอ” (Ensemble) การประสมวงตั้งแต่จำานวน 1-9 คน จะมีการเรียก
จะประกอบด้วยนักดนตรีตั้งแต่
ชื่อดังนี้

1

ผู้บรรเลง
ผู้บรรเลง

2

คน

คน
เรียกว่า

เรียกว่า
ดูโอ

หรือดูเอ็ท

โซโล

(Duo

or

(Solo)
Duet)
ผู้บรรเลง
ผู้บรรเลง
ผู้บรรเลง
ผู้บรรเลง
ผู้บรรเลง
ผู้บรรเลง

3
4
5
6
7 คน
8
9

คน
คน
คน
คน

เรียกว่า
เรียกว่า

ทริโอ
ควอท์เท็ท

เรียกว่า

ควินเท็ท

เรียกว่า
เรียกว่า

คน

เซ๊กเท็ท
เซ๊บเท็ท

เรียกว่า

อ๊อกเท็ท

(Trio)
(Quartet)
(Quintet)
(Sextet)
(Septet)
(Octet)
(Nontet)

ผู้บรรเลง
คน
เรียกว่า
นอนเท็ท
วงดนตรีแชมเบอร์มิวสิคได้มีการพัฒนาขึ้นในยุคคลาสสิค
จัดเป็นวงดนตรีขนาดเล็กเหมาะ
สำาหรับการบรรเลงในห้องโถงของบ้าน หรือในสถานที่ทจุคนได้จำานวนไม่มากนัก ซึ่งการบรรเลงเพลง
ี่
เป็นการแสดงส่วนหนึ่งในงานเลี้ยง
บทเพลงประเภทแชมเบอร์มิวสิคนี้ใช้ผู้เล่นเพียงคนเดียวต่อแนวทำานองหรือแนวประสานซึ่งแตก
ต่างจากบทเพลงที่บรรเลงโดยวงออร์เคสตร้าที่ใช้ผู้เล่นเป็นจำานวนมาก วงออร์เคสตร้าย่อมให้สีสันและมี
พลังมากกว่าวงแชมเบอร์มิวสิค ในขณะที่วงแชมเบอร์มิวสิคให้ความเด่นชัดของเสียงมากกว่า ฉะนั้นการ
บรรเลงบทเพลงประเภทนี้ผู้บรรเลงต้องมีความแม่นยำาถูกต้องและสามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของ
บทเพลงได้อย่างแท้จริง

2.4.2

เรื่อง

วงออร์เคสตร้า

(Orchestra)

Orchestra

คำาว่า
เป็นภาษาเยอรมัน หมายถึง สถานที่เต้นรำา ซึ่งหมายถึงส่วนหน้าเวที
ของโรงละครสมัยกรีกโบราณที่ใช้เป็นที่เต้นรำาและร้องเพลงของพวกนักร้องประสานเสียง ออร์เคสตร้าเป็น
คำาทีใช้กับวงดนตรีทุกประเภท เช่น วงดนตรีกาเมลันของชาวอินโดนีเซีย เรียกว่า วงกาเมลันออร์เคสตร้า
่

(The Gamelan Orchestra) หรือวงกากากุออร์เคสตร้าของญี่ปุ่น (The
Gagaku Orchestra) เป็นต้น สำาหรับวัฒนธรรมดนตรีตะวันตก ออร์เคสตร้าหมายถึงวง

ซิมโฟนีออร์เคสตร้า คือ วงดนตรีขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยเครืองดนตรีในกลุ่มเครื่องสายเป็นหลัก และ
่
ประกอบด้วยเครื่องดนตรีในกลุ่มอื่นๆคือ กลุ่มเครืองลมไม้ เครื่องทองเหลือง และเครื่องประกอบจังหวะ
่
วงออร์เคสตร้าจัดได้ว่าเป็นวงดนตรีขนาดใหญ่ ใช้บรรเลงบทเพลงประเภทคลาสสิคในหลายรูป
แบบ เช่น บทเพลงซิมโฟนี ซึ่งบางครั้งจะเรียกชื่อวงดนตรีวา” วงซิมโฟนีออร์เคสตร้า” นอกจากนี้ยังใช้
่
บรรเลงประกอบการแสดงอุปรากรและบัลเลท์อีกด้วย
ปัจจุบันได้มีการนำาเอาเพลงสมัยนิยมมาเรียบเรียง
เสียงประสานให้วงออร์เคสตร้าบรรเลง

2.4.3

เรื่อง

วงแบนด์

(Band)

วงแบนด์หมายถึง วงดนตรีที่มีเครื่องเป่าเป็นหลัก และประกอบด้วยเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆ เช่น
เครื่องกำากับจังหวะรวมอยู่ด้วย
ซึ่งสามารถแบ่งแยกประเภทได้ดังนี้

1.

(Military Band)

วงโยธวาทิต
มีมาตั้งแต่สมัยโรมัน ใช้บรรเลงเพื่อปลุกใจให้
ทหารเกิดความห้าวหาญและประโคมให้สัญญาณในการรบ
ในปัจจุบันวงโยธวาทิตประกอบด้วยเครื่อง
ดนตรี

3

กลุ่มคือ กลุ่มเครื่องลมไม้ กลุ่มเครืองลมทองเหลือง กลุ่มเครื่องดนตรีกำากับจังหวะ
่
อย่างไรก็ตามการประสมวงโยธวาทิตจะต้องคำานึงถึงความสมดุลย์ของเสียงจากเครื่องดนตรีทั้ง

3

กลุ่มเป็นหลัก

2.

(Brass Band)

แตรวง
คือ วงดนตรีขนาดเล็กที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภท
เครื่องทองเหลืองและเครื่องกระทบ แตรวงเหมาะสำาหรับบรรเลงกลางแจ้ง โดยใช้บรรเลงสำาหรับการแห่นำา
ขบวนต่างๆ

26 ชิ้น
(Symphonic Band

แตรวงมาตรฐานของอังกฤษประกอบไปด้วยเครืองดนตรีจำานวน
่

3.
ซิมโฟนิคแบนด์หรือคอนเสริ์ตแบนด์
Concert Band) คือ วงดนตรีที่ใช้บรรเลงเพื่อการแสดงคอนเสิร์ต

หรือ

ประกอบด้วยกลุ่มเครื่องลม
ไม้ กลุ่มเครื่องทองเหลือง กลุ่มเครื่องกำากับจังหวะ และดับเบิลเบสจากกลุ่มเครื่องสาย โดยกลุ่มเครืองลมไม้
่
ปี่คลาริเนทจะมีความสำาคัญมากซึ่งจะทำาหน้าที่แทนไวโอลิน วงดนตรีชนิดนี้หากมีเพียงเครื่องเป่า โดยไม่มี
เครื่องกระทบและดับเบิลเบส จะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า

4.

Symphonic Wind Ensemble

(Jazz Band)

วงแจ๊ส
กำาเนิดมาจากคนผิวดำาทีถูกจับมาเป็นทาสในอเมริกา โดย
่
เฉพาะที่เมืองนิวออร์ลีน
และได้พัฒนาแตกแขนงออกไปหลายรูปแบบ
แนวดนตรีแจ๊สเป็นแนวดนตรีที่พัฒนามาจากแนวดนตรีบลูส์ของคนผิวดำา มีเนื้อหารำาพึงรำาพันถึง
ความยากลำาบากของชีวิตอันเนื่องมาจากการที่ต้องตกมาเป็นทาส แนวดนตรีบลูส์มีลักษณะสำาคัญคือการ
ใช้ไหวพริบในการบรรเลงสด

(Improvisation)

เป็นหลัก ซึ่งเป็นลักษณะสำาคัญของดนตรี

แจ๊สในเวลาต่อมาด้วยเช่นกัน สำาหรับวงดนตรีแจ๊สเป็นวงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรี

(Melody Section)

กลุ่มบรรเลงท่วงทำานอง
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประเภทของวงดนตรี
่

กลุ่มบรรเลงลีลาและกำากับจังหวะ

(

2

กลุ่มคือ

อาจจะเป็นเครื่องดนตรีในกลุ่มใดก็ได้

(Rhythm Section)

มีดับเบิลเบส

(หรือทูบา)

)

กีต้าร์ หรือแบนโจ เปียโน และเครื่องกระทบอื่นๆ หากเป็นวงดนตรีแจ๊สสมัยใหม่ จะเป็นเครืองดนตรีที่
่
ใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องดนตรีอิเลคโทรนิค
ซึ่งส่วนมากจะเป็นเครื่องดนตรีกลุ่มกีต้าร์

5.

(Combo Band)

วงคอมโบ
วงคอมโบเป็นวงดนตรีขนาดเล็ก เป็นลักษณะของการบรรเลงประกอบการขับร้องเป็นส่วนใหญ่

3–10

ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประมาณ
ชิ้น ได้แก่ เครืองดนตรีกำากับจังหวะ เครืองเป่า
่
่
ลมไม้
เครื่องลมทองเหลือง และอาจจะมีเครื่องดนตรีประเภทคีย์บอร์ดด้วย หากมีเครื่องดนตรีเฉพาะกลุ่มกีตาร์
้

(String

Combo)

ทั้งหมดกับเครื่องกำากับจังหวะ
จะเรียกว่าสตริงค์
คอมโบ
เนื่องจากวงคอมโบเป็นวงขนาดเล็ก จึงเหมาะสำาหรับนำาไปบรรเลงในงานรื่นเริงตามภัตตาคาร
ห้องอาหาร
หรือไนต์คลับต่าง
ๆ

แบบฝึกหัด

1.
ดนตรีตะวันตกมีรากฐานมาจากชนชาติใด
1 ก. กรีก ข.
สเปน
ค. โปรตุเกส ง.
เยอรมัน
2. ประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตกสามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ยุคสมัย
ก. 5 ยุคสมัย ข.
6
ยุคสมัย
ค

.7

.

8

ยุคสมัย ง

ยุคสมัย

3. ข้อใดเป็นลักษณะของบทเพลงที่นิยมประพันธ์ในยุคคลาสสิค
ก. Concerto Grosso
ข.
Chant
ค. Symphony ง.
Mass
4. การที่ผู้ประพันธ์เพลงได้ถายทอดอารมณ์ลงไปในบทเพลงเป็นลักษณะดนตรีในยุคใด
่
ก. ยุคคลาสสิค ข.
ยุคโรแมนติค
ค. ยุคอิมเพรสชั่นนิสติค ง.
ยุคศตวรรษที่
20
5. ข้อใดคือเครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องลมไม้ทั้งหมด
ก. Flute Clarinet Saxophone Trumpet
ข.
Flute
Oboe
Clarinet
Bassoon
ค. Flute Clarinet Saxophone Trumpet
ง.
Oboe
Bassoon
Saxophone
Trombone
6. ข้อใดคือเครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องลมทองเหลืองทั้งหมด
ก. Trumpet Trombone Horn Tuba
ข.
Trumpet
Saxophone
Trombone
Tuba
2 ค. Cornet Trumpet Horn Bassoon ง.
Cornet
Clarinet
Trumpet
Trombone
7. บทเพลงที่มีการแสดงเดี่ยวของเครืองดนตรีหนึ่งชนิดและบรรเลงประกอบโดยวงออร์เคสต้าคือ
่
ก. Oratorio ข.
Symphony
ค. Sonata ง.
Concerto
8. Opera
หมายถึงอะไร
ก. ละครเวทีที่มีการบรรเลงดนตรีประกอบ
ข.
บทเพลงชนิดหนึ่ง
ค. เครืองดนตรีชนิดหนึ่ง ง.
่
การแสดงคอนเสริ์ตในห้องโถง
9. การบรรเลงดนตรีที่ประกอบด้วยผู้เล่น
4
คน
เรียกว่าอะไร
ก. Duet ข.
Trio
ค. Quartet ง.
Quintet
10. การ
Improvisation
เป็นลักษณะสำาคัญของดนตรีลักษณะใด
ก. Classic ข.
Jazz
ค. Rock ง.
Pop
เฉลยแบบฝึกหัด

1. ก.
ข้อ 9. ค.
ข้อ

2. ค. ข้อ 3. ค.
ข้อ 10. ข.

ข้อ

ข้อ

4. ข.

ข้อ

5. ข.

ข้อ

6. ก.

ข้อ

7. ง.

ข้อ

8. ก.
หนังสืออ้างอิง
ไขแสง ศุขะวัฒนะ

.

:
จำากัด,

สังคีตนิยมว่าด้วย

ดนตรีตะวันตก

.

กรุงเทพฯ

:

บริษัท โรงพิมพ์ไทยวัฒนา

..
2541.
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. สังคีตนิยมว่าด้วย ความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2532.
ละเอียด เหราปัตย์. วิวัฒนาการของดนตรีสากล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มิตรสยาม, พ.ศ. 2522.
สดับพิณ รัตนเรือง. ดนตรีปริทรรศน์ Your Book of Music. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุ
พานิช

พ ศ

สภา

,
พ.ศ.
2539.
Jean Ferris. Music The Art of Listening. U.S.A.:
McGraw-Hill,
Inc.,
1999.
Max Wade-Matthews. The World Guide To Musical
Instruments.
London:
Anness
Publishing
Limitted,
2001.
Roger Kamien. Music an Appreciation. U.S.A.:
McGraw-Hill,
Inc.,
1994.
Ronald Pen. Introduction to Music. Singapore:
McGraw-Hill,
Inc.,
1992.
Stanley Sadie with Alison Latham. Stanley Sadie’s Brief
Guide to Music. Englewood Cliffs, N.J.: PrenticeHall,
Inc.,
1987.
ลาดพร้าว

More Related Content

What's hot

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยพัน พัน
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒Manas Panjai
 
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากลใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากลพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลงNiran Dankasai
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลchanapa Ubonsaen
 
การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..Moo Moo
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
ระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดีระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดีพัน พัน
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 

What's hot (20)

องค์ประกอบของดนตรี
องค์ประกอบของดนตรีองค์ประกอบของดนตรี
องค์ประกอบของดนตรี
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทย
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากลใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัล
 
การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
ระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดีระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดี
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 

Similar to E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก

เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมRuz' Glaow
 
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...pinglada1
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docpinglada1
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxpinglada1
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
หลอดลม
หลอดลมหลอดลม
หลอดลมLional Messi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 

Similar to E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก (15)

เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยม
 
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
หลอดลม
หลอดลมหลอดลม
หลอดลม
 
ยุคกลาง.pptx
ยุคกลาง.pptxยุคกลาง.pptx
ยุคกลาง.pptx
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตนดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตน
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 

E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก

  • 1. หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก (The Western Music) วัตถุประสงค์ สมัย 1. เพื่อให้นิสิตทราบถึงประวัติความเป็นมาและรูปแบบของดนตรีตะวันตกในแต่ละ 2. 3. 4. ยุค เพื่อให้นิสิตทราบถึงการแบ่งแยกประเภทของเครื่องดนตรีตะวันตก เพื่อให้นิสิตทราบถึงบทเพลงที่สำาคัญของดนตรีตะวันตก เพื่อให้นิสิตทราบถึงการประสมวงดนตรีตะวันตก ตอนที่ 2.1 และโอกาสในการบรรเลง ประวัติความเป็นมาและรูปแบบของดนตรี จากวิวฒนาการของดนตรีตะวันตกที่เกิดขึ้นโดยการค้นคว้าของนักวิชาการทางด้านดนตรีวิทยา ั นั้น ประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตกสามารถแบ่งออกได้เป็น 6 ยุคใหญ่ๆ ดังนี้คือ 1. ยุคกลาง (The Middle Ages) 2. ยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยา (The Renaissance Period) 3. ยุคบาโร๊ค (The Baroque Period) 4. ยุคคลาสสิค (The Classical Period) 5. ยุคโรแมนติค (The Romantic Period) 6. ยุคอิมเพรสชั่นนิสติค (The Impressionistic Period or Impressionism) 7. ยุคศตวรรษที่ 20 (The Twentieth Century) ลักษณะเด่นๆโดยสรุปของดนตรีตะวันตกในแต่ละยุคมีดังนี้ เรื่อง 2.1.1 ยุคกลาง (The Middle Ages) 5–15 (ราว ค.ศ. 450 – 1400) เรียก อีกอย่างหนึ่งว่ายุคเมดิอิวัล (Medieval Period) หรือยุคมืด (Dark Ages) เนื่องจากสภาพทั่วไปยังคงมีแต่สงคราม ดนตรีสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ ดนตรีสำาหรับ ศาสนา (Ritual Music) และดนตรีสำาหรับชาวบ้านทั่วไป (Secular Music) ดนตรี Secular Music นั้นไม่มีบทบาทสำาคัญ แต่จะเล่นกันในกลุ่มชาวบ้านในชนบท ดนตรีที่ถอว่า ื ยุคกลางคือ ช่วงเวลาระหว่างศตวรรษที่ เป็นภาพรวมของดนตรีในยุคนี้คือดนตรีที่ใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เพลงสวดเพื่อสรรเสริญพระเจ้า และไม่มีอตราจังหวะ ั (Polyphony) เครื่องดนตรี เรื่อง 2.1.2 ซึ่งส่วนมากจะมีลกษณะเป็น ั (Chant) มีเนื้อร้องเป็นภาษาลาติน เป็นบทเพลงที่มีแนวทำานองเดียว ในช่วงปลายยุคได้พัฒนาให้มีแนวทำานองหลายแนวสอดประสานกัน และมีอตราจังหวะ เพลงร้องพบได้ทั่วไปและเป็นที่นิยมมากกว่าเพลงที่บรรเลงด้วย ั รูปแบบของเพลงเป็นแบบทำานองทีไล่ล้อตามกัน ่ ยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยา (Canon) (The Renaissance Period)
  • 2. ยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาหรือยุคเรเนสซองค์อยู่ในช่วงศตวรรษที่ 15–16 (ราวๆ .. ค ศ 1450–1600) เป็นยุคของการแสวงหาความรู้และค้นพบในสิ่งใหม่ๆ สำาหรับดนตรีนั้นลักษณะ ของการสอดประสานทำานองยังคงได้รับความนิยมในยุคนี้ เพลงในยุคนี้มีลกษณะล้อกันในแนวทำานอง ั (Imitative Style) และมีทั้งเพลงที่มีอัตราจังหวะและไม่มีอตราจังหวะ ลักษณะบันได ั เสียงเป็นแบบโหมด (Modes) ยังไม่ได้ได้รับนิยม การประสานเสียงเกิดจากแนวทำานองแต่ละแนว เดียวกัน สอดประสานกัน มิได้เกิดจากการใช้คุณสมบัติของคอร์ด ลักษณะของเสียงเกี่ยวกับความดังค่อยยังไม่ค่อย พบ เพลงร้องและเพลงบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีได้รับความนิยมพอๆกัน และมีการประสมวงดนตรีขนาด เล็กเกิดขึ้น เรื่อง 2.1.3 ยุคบาโร๊ค (The Baroque Period) 17–18 ( . . 1600 – 1750) ยุคบาโร๊คอยู่ในช่วงระหว่างศตวรรษที่ ราวๆ ค ศ เป็นยุคที่มีความเจริญรุ่งเรืองในหลายๆด้าน สำาหรับลักษณะของดนตรีนั้นในช่วงต้นยุคมีการใช้เสียง ประสาน และการสอดประสานทำานองเป็นลักษณะที่พบได้เสมอในปลายยุค เริ่มนิยมการใช้บันไดเสียง (Major and Minor Scales) แทนการใช้โหมดต่างๆ การ ประสานเสียงมีหลักเกณฑ์c]t เป็นระบบ อัตราจังหวะเป็นสิ่งสำาคัญของบทเพลง มีการใช้ความดังเบาของ เมเจอร์ และไมเนอร์ เสียง แต่เป็นลักษณะที่ดังหรือเบาแบบทันทีทันใด มิใช่แบบค่อยๆดังขึ้นหรือค่อยๆเบาลง และไม่มีลักษณะ ของความดังมากหรือเบามาก บทเพลงบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีได้รับความนิยมมากขึ้น บทเพลงร้องยังคง มีอยู่และได้รับความนิยมเช่นกัน เรื่อง 2.1.4 ยุคคลาสสิค (The Classical Period) ยุคคลาสสิคอยู่ในช่วงระหว่างศตวรรษที่ 18 และช่วงต้นของศตวรรษที่ 19 (ค.ศ. 1750–1825) เป็นยุคที่ดนตรีมกฎเกณฑ์อย่างมาก การใส่เสียงประสานเป็นลักษณะเด่นของยุค ี นี้ การสอดประสานทำานองมิได้เป็นลักษณะเด่นในยุคนี้ การใช้บันไดเสียงเมเจอร์และไมเนอร์เป็นหลักใน การประพันธ์เพลง ลักษณะของบทเพลงมีความสวยสดงดงาม มีระเบียบแบบแผน บริสุทธิ์ ลักษณะของ เสียงเกี่ยวกับความดังเบาเป็นหลักสำาคัญของเพลง แต่ไม่มีการแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้ประพันธ์ ไว้ในบทเพลงอย่างเด่นชัด บทเพลงร้องและบทเพลงบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีมีลักษณะซับซ้อนมากขึ้น บทเพลงบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีเป็นที่นิยมอย่างมาก การผสมวงดนตรีมีการพัฒนามากขึ้น การบรรเลง โดยใช้วงดนตรีและการบรรเลงเดี่ยวของผู้เล่นเพียงคนเดียวในลักษณะบทเพลงที่เรียกว่า Concerto (Symphony) เรื่อง 2.1.5 ยุคโรแมนติค ได้รับความนิยมมากในยุคนี้เช่นเดียวกันกับบทเพลงประเภทซิมโฟนี และบทเพลงเดี่ยว (Sonata) ด้วยเครื่องดนตรีต่างๆ (The Romantic Period) 19 ( . .1825 – 1900 ) เป็นยุคของดนตรีระหว่างศตวรรษที่ ค ศ ลักษณะเด่นของ ดนตรีในยุคนี้คือ เป็นดนตรีที่แสดงอารมณ์ความรู้สึกของผู้ประพันธ์เป็นอย่างมาก ฉะนั้นโครงสร้างของ ดนตรีจึงมีหลายหลากแตกต่างกันไปในรายละเอียด การใช้บันไดเสียงเมเจอร์และไมเนอร์ยังเป็นสิ่งสำาคัญ การใช้เสียงประสานเป็นลักษณะเด่นของเพลงในยุคนี้แต่ได้มีการพัฒนาและคิดค้นหลักวิธีการใหม่ๆขึ้น มี การใช้สีสันของเสียงจากเครื่องดนตรีเป็นสื่อในการแสดงออกทางอารมณ์ บทเพลงมักจะมีความยาวมาก ขึ้นเนื่องจากมีการขยายโครงสร้างและรูปแบบของดนตรี การผสมวงดนตรีได้มการพัฒนาไปมาก วงดนตรี ี ออร์เคสตร้ามีขนาดใหญ่กว่าวงดนตรีออร์เคสตร้าในยุคคลาสสิค บทเพลงมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป บทเพลงคอนแชร์โต ซิมโฟนี โซนาตา และแชมเมอร์ มิวสิค ยังคงได้รับความนิยมมาก 2.1.6 ยุคอิมเพรสชั่นนิสติค (The Impressionistic Period or Impressionism) เรื่อง
  • 3. . . 1890–1910 ลักษณะสำาคัญของเพลง (Whole-tone Scale) ซึ่งทำาให้บทเพลงมี ยุคอิมเพรสชั่นนิสติคอยู่ในช่วงระหว่าง ค ศ ในยุคนี้คอ การใช้บันไดเสียงแบบเสียงเต็ม ื ลักษณะลึกลับ คลุมเครือ ไม่กระจ่างชัด บางครั้งจะมีความรู้สึกโล่งๆว่างๆ ลักษณะเสียงไม่หนักแน่นเหมือน กับบทเพลงในยุคโรแมนติค การประสานเสียงไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ในยุคก่อน สามารถพบการประสาน เสียงในลักษณะแปลกๆโดยไม่คาดคิดได้ในบทเพลงประเภทอิมเพรสชั่นนิซึม บทเพลงเป็นรูปแบบง่ายๆ ส่วนมากเป็นบทเพลงสั้นๆรวมกันเป็นชุด เรื่อง 2.1.7 ยุคศตวรรษที่ 20 (The Twentieth Century) 20 ในยุคศตวรรษที่ เป็นยุคที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทและอิทธิพลเป็นอย่างมากต่อสังคม ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายในหลายๆด้าน สำาหรับลักษณะของดนตรีในยุคนี้คือ ได้มีการ ทดลองสิ่งแปลกๆใหม่ๆ และได้นำาเอาหลักวิธการการเก่าๆมาพัฒนาเปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้เข้ากับแนว ี ความคิดในยุคปัจจุบัน มีการใช้การประสานเสียงโดยใช้บันไดเสียงต่างๆรวมกัน และการใช้การประสาน (Dissonance) เสียงที่ไม่กลมกลืนกัน ทำาให้เกิดความรู้สึกระคายหู กระด้างในเวลาฟัง อัตรา จังหวะของเพลงมีการเปลี่ยนแปลงกลับไปกลับมา วงออร์เคสตร้าได้รับความนิยมน้อยลงในขณะที่วงดนตรี ขนาดเล็กในลักษณะแชมเบอร์มิวสิคกลับมาได้รับความนิยมมากขึ้น นอกจากนีได้มีการใช้เทคโนโลยี ้ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อทำาให้เกิดเสียงดนตรีหรือสังเคราะห์เสียง ทำาให้เกิดสีสันที่แปลกออกไป เน้นการใช้ จังหวะในรูปแบบต่างๆ บางครั้งไม่มีทำานองที่โดดเด่น กล่าวโดย สรุปคือ โครงสร้างของเพลงในศตวรรษที่ 20 นี้มีหลากหลาย สามารถพบสิ่งต่างๆในยุคก่อนๆที่ผ่านมา แต่ได้มการเสนอแนวคิดใหม่เพิ่มเข้าไป ี ตอนที่ 2.2 การแบ่งแยกประเภทของเครืองดนตรี ่ เครืองดนตรีในวัฒนธรรมตะวันตกมีมากมายหลายชนิด ่ ประเภทได้ดังนี้ เรื่อง 2.2.1 กลุ่มเครืองเป่า ่ (Wind Instruments) กลุ่มเครื่องเป่าสามารถแยกออกได้เป็น เครืองลมไม้ ่ - ซึ่งสามารถจัดกลุ่มและแบ่งแยก 2 (Woodwind) เครืองลมทองเหลืองประเภทท่อ ่ - เครื่องลมทองเหลืองประเภทลิ้นเดี่ยว โฟน ประเภทใหญ่คอ ื สามารถแยกออกได้เป็น เกร เครื่องเป่าจำาพวกฮอร์น เรื่อง (Horn) เครื่องเป่าจำาพวกแตร 2.2.2 เครื่องสาย พัฒนามาจากการเป่าเขาสัตว์ ได้แก่ ฮอร์นชนิดต่างๆ (Trumpet) ได้แก่ (String สำาหรับเครื่องดนตรีในกลุ่มเครืองสายนั้น ่ เครืองสายที่ใช้ดีด ่ ได้แก่ โอโบ บาสซูน คอร์อัง (Brass) เครืองลมทองเหลือง ่ - ประเภทคือ (Pipe) ได้แก่ ฟลู้ท ปิคโคโล (Single Reed) ได้แก่ คลาริเนท แซ๊กโซ - เครื่องลมทองเหลืองประเภทลิ้นคู่ (Double Reed) เป็นต้น 3 (Pluck) ทรัมเปท เป็นต้น Instruments) สามารถแบ่งแยกออกได้เป็น ได้แก่ คอร์นเนท พิณ 2 กีต้าร์ ประเภทคือ เป็นต้น
  • 4. (Bow) เครืองสายที่ใช้สี ่ 2.2.3 เรื่อง ได้แก่ ไวโอลิน วิโอลา 2 เครื่องตีหรือเครืองกระทบสามารถแบ่งแยกออกได้เป็น ่ (Pitch) ได้แก่ ดับเบิ้ลเบส (Percussion) เครื่องตีหรือเครืองกระทบ ่ เครืองตีที่มีระดับเสียง ่ เชลโล ไซโลโฟน ประเภทคือ เบลไลล่า ฯลฯ (Non-Pitch) เครืองตีที่ไม่มีระดับเสียง ่ ได้แก่ กลองชนิดต่างๆ เช่น กลองแต๊ก กลอง ใหญ่ กลองทอม เป็นต้น และเครื่องกระทบที่ทำาจากไม้ โลหะ หรือวัสดุอื่นๆ เช่น ฉาบ ฆ้อง กรับ และเครื่อง ประกอบจังหวะแถบลาตินอเมริกา เป็นต้น เรื่อง 2.2.4 (Keyboard) เครื่องดนตรีประเภทลิ่มนิ้ว เครื่องดนตรีประเภทนี้ได้แก่ ออร์แกน ตอนที่ 2.3 ในวัฒนธรรมดนตรีตะวันตก ฮาร์พซิคอร์ด คลาวิคอร์ด บทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นอย่างมีระเบียบแบบแผนตั้งแต่อดีตจนถึง 2.3 นี้ จะขอกล่าวถึงประเภทของบทเพลง ที่สำาคัญและยังคงมีการบรรเลงอยูในปัจจุบัน โดยสามารถแบ่งแยกออกได้เป็น ่ บรรเลง บทเพลงประกอบการแสดง 2.3.1 เป็นต้น ประเภทของบทเพลง ปัจจุบันนั้นมีมากมายหลายประเภท สำาหรับเนื้อหาในตอนที่ เรื่อง เปียโน 3 ประเภท คือ บทเพลง และบทเพลงอื่นๆ (Instrumental บทเพลงบรรเลง Music) 2 บทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นเพื่อการบรรเลงดนตรีเพียงอย่างเดียว สามารถแบ่งออกได้เป็น ประเภทตามความมุ่งหมายของการประพันธ์ คือ ดนตรีบริสุทธิ์ และดนตรีบรรยายเรื่องราว (Absolute Music) ดนตรีบริสุทธิ์ แบบแผนสำาหรับการบรรเลงดนตรีเป็นหลัก หมายถึง บทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นอย่างมีระเบียบ มิได้มีความมุ่งหมายทีจะใช้ดนตรีเพื่อบรรยายเรื่องราวใดๆ ่ (Program Music) สำาหรับดนตรีบรรยายเรื่องราว หมายถึง ดนตรีที่ประพันธ์ขึ้นเพื่อใช้ บรรยายเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่ผู้ประพันธ์ได้ประสบพบเจอ ด้วยตนเองหรือจากวรรณคดี ทั้งนี้ชื่อเพลงประเภทนี้จะบอกถึงเรื่องราวนั้นๆ บทเพลงที่สำาคัญของดนตรีทั้ง 2 ลักษณะซึ่งเป็นบทเพลงบรรเลงได้แก่ (Symphony) ซิมโฟนี (Sounding together) ซิมโฟนีเป็นภาษาเยอรมัน หมายถึง เสียงที่รวมกัน ซิมโฟนีเป็นบทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นสำาหรับบรรเลงโดยวงดนตรีออร์เคสตร้า (Movement) ประกอบไปด้วยจำานวนท่อน 3 หรือ 4 ท่อน ซึ่งมีการจัดรูปแบบความเร็วจังหวะ เร็ว-ช้า-เร็วปานกลาง-เร็ว บทเพลงซิมโฟนีจะไม่มีการบรรเลง หลายๆท่อน โดยปกติจะมี - - ของแต่ละท่อนดังนี้คือ เร็ว ช้า เร็ว หรือ เดี่ยวของเครื่องดนตรีอย่างเด่นชัด แต่จะเป็นลักษณะการบรรเลงของเครื่องดนตรีทั้งหมด (Concerto) คอนแชร์โต คอนแชร์โต together) เป็นคำาในภาษาฝรั่งเศส มีความหมายว่าการนำามารวมกัน (To join ซึ่งหมายถึงการบรรเลงดนตรีร่วมกัน เช่น ผู้ขับร้องเดียวร้องร่วมกับวงประสานเสียง ผู้ ่ บรรเลงเครื่องดนตรีเดี่ยวบรรเลงดนตรีกับวงออร์เคสตร้า
  • 5. คอนแชร์โตที่สำาคัญมีอยู่สองประเภท Grosso) คือ คอนแชร์โต (Solo Concerto) และ โซโลคอนแชร์โต ลักษณะสำาคัญของคอนแชร์โตทั้งสองประเภทมีดังนี้ 1. กรอสโซ (Concerto ซึ่งนิยมเรียกสั้นๆว่า คอนแชร์โต (Concerto Grosso) บทเพลงมีจำานวนท่อนไม่แน่นอน ปกติมักจะมี 3-4 ท่อน คอนแชร์โต กรอสโซ เป็นลักษณะของคอนแชร์โต ในยุคบาโร๊ค คอนแชร์โต กรอสโซ เป็น ลักษณะการบรรเลงของเครื่องดนตรีสองกลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งคือวงออร์เคสตร้าซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ อีกกลุ่มหนึ่ง เป็นกลุ่มของเครื่องดนตรีที่บรรเลงเดี่ยว ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประมาณ 2-3 ชิ้น โดยทั้งสองกลุ่มจะ - ผลัดกันบรรเลง ซึ่งเน้นความแตกต่างของสีสันและความดัง ค่อย บทบรรเลงของเครืองดนตรีเดี่ยวเรียกว่า ่ (Concertino) ส่วนบทบรรเลงของวงออร์เคสตร้าเรียกว่า ทูที (Tutti) 2. โซโลคอนแชร์โต (Solo Concerto) เมื่อกล่าวถึงคำาว่าโซโลคอนแชร์โต จะ นิยมเรียกสั้นๆว่าคอนแชร์โต (Concerto) หมายถึงบทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นสำาหรับการบรรเลง คอนแชร์ติโน เดี่ยวของเครื่องดนตรีหนึ่งชนิดกับวงออร์เคสตร้า เช่น หากประพันธ์ขึ้นสำาหรับเปียโน จะเรียกว่าเปียโน คอนแชร์โต หรือประพันธ์สำาหรับไวโอลิน จะเรียกว่าไวโอลินคอนแชร์โต เป็นต้น เป็นลักษณะของคอน แชร์โตในยุคคลาสสิค ประกอบท่อนจำานวน 3 3 - - ท่อน คือ เร็ว ช้า เร็ว ซึ่งมีลกษณะเช่นเดียวกับซิมโฟนีที่ ั 3 ตัดท่อนที่ ออกไป จึงเหลือ ท่อน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะในการบรรเลงบทเพลงคอนแชร์โตจะประกอบ ไปด้วยส่วนที่สำาคัญสองส่วนคือ ส่วนที่บรรเลงโดยเครื่องดนตรีเดียว และส่วนที่บรรเลงโดยวงออร์เคสตร้า ่ 4 ซึ่งย่อมทำาให้บทเพลงแต่ละท่อนมีความยาวขึ้น หากมี ท่อน คอนแชร์โตจะมีความยาวเกินไป รูปแบบ เช่นนี้ได้ยึดถือปฏิบติตอกันมาตั้งแต่ยุคคลาสสิคจนถึงยุคปัจจุบัน ั ่ (Sonata) โซนาตา โซนาตา เป็นคำาภาษาอิตาเลียน หมายถึง การฟัง โซนาตาจัดเป็นบทเพลงที่มีความสำาคัญมา ตั้งแต่ยุคบาโร๊คจนถึงยุคปัจจุบัน มีความคล้ายคลึงกันกับลักษณะของคอนแชร์โต โซนาตามีอยู่สอง ลักษณะคือ โซนาตาที่บรรเลงโดยกลุ่มเครื่องดนตรีเล็กๆ ซึ่งเป็นโซนาตาแบบหนึ่งในยุคบาโร๊ค และโซนา ตาที่บรรเลงโดยเครื่องดนตรีชนิดเดียวหรือสองชนิด แต่เน้นการแสดงออกของเครืองดนตรีเพียงชนิดเดียว ่ โดยมีเครืองดนตรีอกชนิดหนึ่งบรรเลงประกอบให้บทเพลงสมบูรณ์ขึ้น ่ ี ซึ่งอาจเรียกว่า โซโลโซนาตา (Solo Sonata) ได้ อย่างไรก็ตามหากเป็นบทเพลงโซนาตาสำาหรับเปียโน จะเป็นการบรรเลง โดยเปียโนเพียงอย่างเดียว แต่ถ้าเป็นโซนาตาของเครื่องดนตรีอื่นๆ เช่น ไวโอลิน นิยมใช้เปียโนบรรเลง ประกอบด้วย โซนาตาในลักษณะนี้เป็นโซนาตาในยุคคลาสสิคและเป็นที่เข้าใจกันตั้งแต่ยุคคลาสสิคมา จนถึงปัจจุบัน 2.3.2 เรื่อง การแสดงในวัฒนธรรมตะวันตกที่สำาคัญได้แก่ (Opera) (Ballet) เปรา บทเพลงประกอบการแสดง การแสดงอุปรากรหรือละครเพลงที่เรียกว่า และการแสดงละครเวทีโดยใช้ท่วงท่าเต้นบรรยายเรื่องราวที่เรียกว่า โอ บัลเลท์ (Opera) โอเปรา โอเปราคือ ละครที่มีเพลงและดนตรีเป็นหลักสำาคัญในการดำาเนินเรื่องราว ถือได้วาเป็นการรวม ่ กันของศิลปะการละครและดนตรี ปกติการแสดงโอเปราผู้แสดงจะเป็นนักร้องที่สามารถแสดงละครได้ เพราะในการดำาเนินเรื่องใช้การร้องเป็นหลักโดยมีวงออร์เคสตร้าบรรเลงดนตรีประกอบ ส่วนประกอบ สำาคัญประการหนึ่งของโอเปราคือ ฉากการเต้นรำาในลักษณะต่างๆ ซึ่งมักจะปรากฏอยูในโอเปราแทบทุก ่ 400 เรื่อง โอเปราจึงเป็นผลรวมของศิลปะหลายชนิดเข้าด้วยกัน ตลอดระยะเวลาร่วม ปีที่เกิดมีโอเปรา ขึ้นมานั้น รูปแบบของโอเปรามีการเปลียนแปลงพัฒนาอยู่เสมอ ่ 16 โอเปราถือกำาเนิดขึ้นในทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ อันเป็นผลมาจากการศึกษา ค้นคว้าของกลุ่มผูประพันธ์เพลงและนักกวีที่อยูในเมืองฟลอเรนซ์ประเทศอิตาลี ้ ่ โดยพยายามที่จะรื้อฟื้น และสร้างสรรค์ศิลปะการละครแบบหนึ่งของกรีกที่สูญหายไป Drama) ซึ่งมีลักษณะเป็นละครเพลง (Music
  • 6. รูปแบบของโอเปราได้พัฒนาอย่างมากต่อมาในเมืองเวนิช สำาคัญในเวลานั้น 1630 ประเทศเช่น ซึ่งเป็นแหล่งวัฒนธรรมทางดนตรีที่ และได้มการเปิดโรงละครโอเปราให้ประชาชนเข้าชมเป็นแห่งแรกราวๆปี ี .. ค ศ โอเปราแบบอิตาเลียนจึงเริ่มแผ่ขยายเข้าไปสู่ประเทศต่างๆ ในยุโรปตั้งแต่นั้นมา และในบาง ฝรั่งเศส และเยอรมันได้คิดหารูปแบบโอเปราของตนเองในเวลาต่อมา (Ballet) บัลเลท์ บัลเลท์ประกอบด้วยองค์ประกอบสำาคัญสองส่วนคือการเต้นและดนตรี โดยปกติจะประพันธ์ ดนตรีก่อน แล้วผู้คิดท่าเต้นจึงคิดท่าทางต่างๆให้เข้ากับดนตรี ซึ่งผู้ประพันธ์เพลงประพันธ์ในลักษณะของ ดนตรีบรรยายเรื่องราวไว้ ในบางโอกาสบทเพลงประเภทนี้อาจจะถูกนำาไปบรรเลงมิได้ประกอบการแสดง บัลเลท์ จึงมีลักษณะเป็นดนตรีบรรยายเรื่องราว บัลเลท์มีลักษณะคล้ายโอเปรา กล่าวคือ เป็นการแสดงบนเวทีโดยมีตัวละครซึ่งใช้การเต้นเป็น หลักโดยไม่มีบทเจรจาใดๆ มีการแบ่งเป็นองก์เป็นฉาก และที่สำาคัญคือการใช้ดนตรีบรรเลงประกอบใน ลักษณะเช่นเดียวกันกับโอเปรา ซึ่งมักจะใช้วงออร์เคสตร้าบรรเลง ลักษณะของเพลงอาจจะเป็นการ (Light Motive) บรรยายเรื่องราวหรือการใช้ทำานองสั้นๆ เช่นเดียวกันกับโอเปรา กล่าวคือ การใช้แนวทำานองแทนตัวละครหรือเหตุการณ์ต่างๆ และครั้งใดก็ตามที่ตัวละครตัวหนึ่งปรากฏขึ้น ดนตรี จะบรรเลงแนวทำานองนั้นเสมอ เนื่องจากตัวละครในบัลเลท์ไม่มีการร้องหรือเจรจาเป็นภาษาพูด ดนตรีจึงมี ความสำาคัญมากเนื่องจากการสื่อภาษาต่างๆจะใช้ดนตรีถ่ายทอดโดยตลอด และร่วมกับการเคลื่อนไหว (Choreography) ซึ่งเปรียบเทียบได้กับบทละครของโอเปรา (Choreographer) ถือได้ว่าเป็นผู้หนึ่งที่มีความสำาคัญมากเช่นกัน ร่างกายในลักษณะของการเต้น ผู้คิดท่าเต้น เรื่อง 2.3.2 บทเพลงประเภทอื่น ๆ บทเพลงประเภทอื่นๆที่มีความสลับซับซ้อนลึกซึ้งในรูปแบบของการประพันธ์ในวัฒนธรรมดนตรี ตะวันตกนั้นยังมีอกมากมาย ี ในที่นี้จะขอกล่าวถึงประเภทที่สำาคัญดังต่อไปนี้ บทเพลงสำาหรับเปียโน (Piano เปียโนเป็นเครื่องดนตรีที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง คือ Music) สามารถบรรเลงทั้งทำานองและการ . .1709 ประสานเสียงได้ซึ่งเป็นเอกลักษณ์สำาคัญของเปียโน ตังแต่เปียโนถือกำาเนิดขึ้นในปี ค ศ ้ ผู้ ประพันธ์เพลงได้ให้ความสนใจในการประพันธ์เพลงสำาหรับเปียโนเป็นอย่างมาก นอกจากบทเพลง ประเภทเปียโนโซนาตาที่ได้กล่าวมาแล้ว ตั้งแต่ยุคคลาสสิคเป็นต้นมาได้มการประพันธ์เพลงในลักษณะ ี ต่างๆสำาหรับเปียโนมาตลอดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคโรแมนติค บทเพลงสำาหรับเปียโนมีมากมายหลาย ลักษณะ ผู้ประพันเพลงธ์ได้คิดค้นเทคนิควิธีการบรรเลงโดยการใช้การประสานเสียงใหม่ๆขึ้นมา ทำาให้ บทเพลงสำาหรับเปียโนเป็นที่นิยมทั้งผู้บรรเลงและผู้ฟังมาจนถึงยุคปัจจุบัน นอกจากบทเพลงสำาหรับบรรเลง เดี่ยวแล้วยังมีบทเพลงสำาหรับบรรเลงสองคนในเปียโนหลังเดียวกันและเปียโนสองหลัง รวมทั้งบทเพลงที่ ร่วมบรรเลงกับวงดนตรีในลักษณะต่างๆ ออราทอริโอ (Oratorio) ออราทอริโอ คือ บทเพลงที่ประกอบไปด้วยการร้องเดียวของนักร้องระดับเสียงต่างๆ การขับ ่ ร้องของนักร้องประสานเสียงและการบรรเลงของวงออร์เคสตร้า บทเพลงเป็นเรื่องราวเกียวกับศาสนา ่ คริสต์ที่มีความยาวมาก และจะทำาการแสดงในสถานที่แสดงคอนเสิร์ตหรือในโบสถ์ โดยไม่มีการแต่งตัว แบบละคร ไม่มีการแสดงประกอบและฉากใดๆ ลักษณะของออราทอริโอคล้ายคลึงกันกับโอเปราที่ไม่มีฉาก และการแสดงประกอบนั่นเอง ลักษณะเด่นที่ต่างไปจากเพลงโบสถ์อื่นๆ ได้แก่ การประพันธ์บทร้องที่คำานึง ถึงดนตรีประกอบมิได้มุ่งถึงบทร้องที่นำามาจากบทประพันธ์ของโบสถ์แต่ดั้งเดิม ดังเช่นเพลงโบสถ์ลักษณะ อื่น ๆ นอกจากนีออราทอริโอยังเป็นบทเพลงที่มีความยาวมากซึ่งต่างไปจากแคนตาตาอันเป็นบทเพลงที่สั้น ้ 4-6 กว่า บทเพลงออราทอริโอบางบทถ้าแสดงโดยสมบูรณ์อาจจะใช้เวลายาวนานถึง ชั่วโมง ใน ปัจจุบันการแสดงบทเพลงประเภทนี้จึงมีการตัดทอนบางท่อนออกไปเพื่อลดเวลาการแสดงให้เหมาะสมกับ โอกาส แคนตาตา (Cantata) แคนตาตา คือ บทเพลงขับร้องที่นิยมประพันธ์กันในยุคบาโร๊ค ประกอบไปด้วยบทเพลงร้อง (4-6 ท่อน หรือมากกว่า) ได้แก่ การร้องเดี่ยว การร้องคู่ การร้องในลักษณะของการพูด (Recitative) และการร้องประสานเสียง บทเพลงมีทั้งที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและเรื่องทั่วๆไป หลายท่อน
  • 7. โจฮัน เซบาสเตียน บาค ผู้ประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียงในยุคบาโร๊ค ได้ประพันธ์บทเพลงแคนตาตาที่เกี่ยวกับ ศาสนาไว้มากมาย มีจำานวนประมาณ 200 บท และประพันธ์บทเพลงแคนตาตาในลักษณะอื่นๆ 25 ประมาณ บท รูปแบบสำาหรับบทเพลงแคนตาตาที่เกี่ยวกับศาสนาจะประกอบไปด้วยการเริ่มต้นของ การร้องประสานเสียงที่ยืดยาว ตามด้วยการร้องเดี่ยวและการร้องในลักษณะของการพูดของนักร้องระดับ เสียงต่างๆ ปิดท้ายด้วยการขับร้องประสานเสียงสี่แนวในลักษณะเพลงสวด (Chorale หรือ Hymn) (Mass) แมส (Church แมส คือ บทเพลงสวดของชาวโรมันแคธอลิค ซึ่งเป็นต้นกำาเนิดของเพลงโบสถ์ Music) ในลักษณะต่างๆ และเพลงชาวบ้านทั่วไป (Secular Music) เพลงแมสมีคู่กับ 12 ศาสนามาเป็นเวลาช้านาน ในศตวรรษที่ รูปแบบของเพลงแมสมักจะเป็นการประพันธ์ในลักษณะ การสอดประสานทำานอง และได้มีการพัฒนาไปตามแต่ละยุคสมัย แมสประกอบด้วยสองส่วนตามลักษณะ The Proper of the Mass The Ordinary of the Mass ประกอบด้วยบทสวด 5 ตอน คือ Kyrie Gloria Credo Sanctus และ Agnus Dei The Proper of the Mass ประกอบด้วยบทสวด 5 ตอน คือ Introit Gradual Alleluia Offertory และ Communion มีบทเพลงแมสอีกประเภทหนึ่งที่เรียกว่า เรควิเอียม (Requiem Mass) หมายถึง เพลงสวดสำาหรับงานศพ เรียกว่าแมสแห่งความตาย (The Mass of the Dead) ของบทสวด คือ The Ordinary of the Mass และ อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะเป็นเพลงสวดธรรมดาหรือเพลงสวดในงานศพ เพลงแมสถือได้ว่าเป็นเพลง ขนาดใหญ่ที่ต้องใช้ความสามารถในการประพันธ์เป็นอย่างมาก บทเพลงประเภทนี้มีความยาวมาก การขับ ( ) ร้องมีทั้งการขับร้องเดี่ยว ร้องผสมวง สอง สาม หรือสี่ และการขับร้องแบบประสานเสียงวงใหญ่ รวมทั้ง การบรรเลงของวงออร์เคสตร้า การแสดงบทเพลงประเภทนี้ต้องมีการเตรียมตัวอย่างดีทั้งนักร้องและวงดนตรีออร์เคสตร้า รวม ทั้งผู้จัดการแสดงด้วย ดังนั้นเมื่อมีการแสดงบทเพลงประเภทนี้เมื่อใด ผู้ฟังมักจะตื่นเต้นและตั้งใจไปฟัง เสมอ ซึ่งไม่บ่อยครั้งนักที่จะมีการแสดงบทเพลงประเภทนี้ บทเพลงประเภทต่างๆที่กล่าวมานี้ล้วนเป็นบทเพลงที่สำาคัญทั้งสิ้น อย่างไรก็ตามยังมีบทเพลงอีก หลายประเภทที่น่าสนใจซึ่งมิได้กล่าวถึง ณ ที่นี้ ตอนที่ 2.4 การประสมวงดนตรีและโอกาสในการบรรเลง ในวัฒนธรรมดนตรีตะวันตกมีวงดนตรีประเภทต่างๆมากมายหลายรูปแบบซึ่งมีความแตกต่างกัน ในแต่ละยุคสมัย ทั้งนี้จะกล่าวถึงประเภทของวงดนตรีที่สำาคัญ ดังต่อไปนี้ เรื่อง 2.4.1 วงแชมเบอร์มิวสิค (Chamber Music) วงแชมเบอร์มิวสิค หมายถึง วงดนตรีขนาดเล็กที่ประกอบด้วยผู้บรรเลงเพียงไม่กี่คน อาจจะเป็น เครื่องดนตรีในกลุ่มเดียวกันหรือเครื่องดนตรีต่างชนิดกันก็ได้ โดยปกติการประสมวงดนตรีแชมเบอร์มิวสิค 1 คนขึ้นไปจนถึง 9 คน หากมีจำานวนเกิน 9 คนแต่ไม่เกิน 20 คน จะเรียกว่า “อังซัมเบลอ” (Ensemble) การประสมวงตั้งแต่จำานวน 1-9 คน จะมีการเรียก จะประกอบด้วยนักดนตรีตั้งแต่ ชื่อดังนี้ 1 ผู้บรรเลง ผู้บรรเลง 2 คน คน เรียกว่า เรียกว่า ดูโอ หรือดูเอ็ท โซโล (Duo or (Solo) Duet)
  • 8. ผู้บรรเลง ผู้บรรเลง ผู้บรรเลง ผู้บรรเลง ผู้บรรเลง ผู้บรรเลง 3 4 5 6 7 คน 8 9 คน คน คน คน เรียกว่า เรียกว่า ทริโอ ควอท์เท็ท เรียกว่า ควินเท็ท เรียกว่า เรียกว่า คน เซ๊กเท็ท เซ๊บเท็ท เรียกว่า อ๊อกเท็ท (Trio) (Quartet) (Quintet) (Sextet) (Septet) (Octet) (Nontet) ผู้บรรเลง คน เรียกว่า นอนเท็ท วงดนตรีแชมเบอร์มิวสิคได้มีการพัฒนาขึ้นในยุคคลาสสิค จัดเป็นวงดนตรีขนาดเล็กเหมาะ สำาหรับการบรรเลงในห้องโถงของบ้าน หรือในสถานที่ทจุคนได้จำานวนไม่มากนัก ซึ่งการบรรเลงเพลง ี่ เป็นการแสดงส่วนหนึ่งในงานเลี้ยง บทเพลงประเภทแชมเบอร์มิวสิคนี้ใช้ผู้เล่นเพียงคนเดียวต่อแนวทำานองหรือแนวประสานซึ่งแตก ต่างจากบทเพลงที่บรรเลงโดยวงออร์เคสตร้าที่ใช้ผู้เล่นเป็นจำานวนมาก วงออร์เคสตร้าย่อมให้สีสันและมี พลังมากกว่าวงแชมเบอร์มิวสิค ในขณะที่วงแชมเบอร์มิวสิคให้ความเด่นชัดของเสียงมากกว่า ฉะนั้นการ บรรเลงบทเพลงประเภทนี้ผู้บรรเลงต้องมีความแม่นยำาถูกต้องและสามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของ บทเพลงได้อย่างแท้จริง 2.4.2 เรื่อง วงออร์เคสตร้า (Orchestra) Orchestra คำาว่า เป็นภาษาเยอรมัน หมายถึง สถานที่เต้นรำา ซึ่งหมายถึงส่วนหน้าเวที ของโรงละครสมัยกรีกโบราณที่ใช้เป็นที่เต้นรำาและร้องเพลงของพวกนักร้องประสานเสียง ออร์เคสตร้าเป็น คำาทีใช้กับวงดนตรีทุกประเภท เช่น วงดนตรีกาเมลันของชาวอินโดนีเซีย เรียกว่า วงกาเมลันออร์เคสตร้า ่ (The Gamelan Orchestra) หรือวงกากากุออร์เคสตร้าของญี่ปุ่น (The Gagaku Orchestra) เป็นต้น สำาหรับวัฒนธรรมดนตรีตะวันตก ออร์เคสตร้าหมายถึงวง ซิมโฟนีออร์เคสตร้า คือ วงดนตรีขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยเครืองดนตรีในกลุ่มเครื่องสายเป็นหลัก และ ่ ประกอบด้วยเครื่องดนตรีในกลุ่มอื่นๆคือ กลุ่มเครืองลมไม้ เครื่องทองเหลือง และเครื่องประกอบจังหวะ ่ วงออร์เคสตร้าจัดได้ว่าเป็นวงดนตรีขนาดใหญ่ ใช้บรรเลงบทเพลงประเภทคลาสสิคในหลายรูป แบบ เช่น บทเพลงซิมโฟนี ซึ่งบางครั้งจะเรียกชื่อวงดนตรีวา” วงซิมโฟนีออร์เคสตร้า” นอกจากนี้ยังใช้ ่ บรรเลงประกอบการแสดงอุปรากรและบัลเลท์อีกด้วย ปัจจุบันได้มีการนำาเอาเพลงสมัยนิยมมาเรียบเรียง เสียงประสานให้วงออร์เคสตร้าบรรเลง 2.4.3 เรื่อง วงแบนด์ (Band) วงแบนด์หมายถึง วงดนตรีที่มีเครื่องเป่าเป็นหลัก และประกอบด้วยเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องกำากับจังหวะรวมอยู่ด้วย ซึ่งสามารถแบ่งแยกประเภทได้ดังนี้ 1. (Military Band) วงโยธวาทิต มีมาตั้งแต่สมัยโรมัน ใช้บรรเลงเพื่อปลุกใจให้ ทหารเกิดความห้าวหาญและประโคมให้สัญญาณในการรบ ในปัจจุบันวงโยธวาทิตประกอบด้วยเครื่อง ดนตรี 3 กลุ่มคือ กลุ่มเครื่องลมไม้ กลุ่มเครืองลมทองเหลือง กลุ่มเครื่องดนตรีกำากับจังหวะ ่ อย่างไรก็ตามการประสมวงโยธวาทิตจะต้องคำานึงถึงความสมดุลย์ของเสียงจากเครื่องดนตรีทั้ง 3 กลุ่มเป็นหลัก 2. (Brass Band) แตรวง คือ วงดนตรีขนาดเล็กที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภท เครื่องทองเหลืองและเครื่องกระทบ แตรวงเหมาะสำาหรับบรรเลงกลางแจ้ง โดยใช้บรรเลงสำาหรับการแห่นำา ขบวนต่างๆ 26 ชิ้น (Symphonic Band แตรวงมาตรฐานของอังกฤษประกอบไปด้วยเครืองดนตรีจำานวน ่ 3. ซิมโฟนิคแบนด์หรือคอนเสริ์ตแบนด์ Concert Band) คือ วงดนตรีที่ใช้บรรเลงเพื่อการแสดงคอนเสิร์ต หรือ ประกอบด้วยกลุ่มเครื่องลม ไม้ กลุ่มเครื่องทองเหลือง กลุ่มเครื่องกำากับจังหวะ และดับเบิลเบสจากกลุ่มเครื่องสาย โดยกลุ่มเครืองลมไม้ ่
  • 9. ปี่คลาริเนทจะมีความสำาคัญมากซึ่งจะทำาหน้าที่แทนไวโอลิน วงดนตรีชนิดนี้หากมีเพียงเครื่องเป่า โดยไม่มี เครื่องกระทบและดับเบิลเบส จะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า 4. Symphonic Wind Ensemble (Jazz Band) วงแจ๊ส กำาเนิดมาจากคนผิวดำาทีถูกจับมาเป็นทาสในอเมริกา โดย ่ เฉพาะที่เมืองนิวออร์ลีน และได้พัฒนาแตกแขนงออกไปหลายรูปแบบ แนวดนตรีแจ๊สเป็นแนวดนตรีที่พัฒนามาจากแนวดนตรีบลูส์ของคนผิวดำา มีเนื้อหารำาพึงรำาพันถึง ความยากลำาบากของชีวิตอันเนื่องมาจากการที่ต้องตกมาเป็นทาส แนวดนตรีบลูส์มีลักษณะสำาคัญคือการ ใช้ไหวพริบในการบรรเลงสด (Improvisation) เป็นหลัก ซึ่งเป็นลักษณะสำาคัญของดนตรี แจ๊สในเวลาต่อมาด้วยเช่นกัน สำาหรับวงดนตรีแจ๊สเป็นวงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรี (Melody Section) กลุ่มบรรเลงท่วงทำานอง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประเภทของวงดนตรี ่ กลุ่มบรรเลงลีลาและกำากับจังหวะ ( 2 กลุ่มคือ อาจจะเป็นเครื่องดนตรีในกลุ่มใดก็ได้ (Rhythm Section) มีดับเบิลเบส (หรือทูบา) ) กีต้าร์ หรือแบนโจ เปียโน และเครื่องกระทบอื่นๆ หากเป็นวงดนตรีแจ๊สสมัยใหม่ จะเป็นเครืองดนตรีที่ ่ ใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องดนตรีอิเลคโทรนิค ซึ่งส่วนมากจะเป็นเครื่องดนตรีกลุ่มกีต้าร์ 5. (Combo Band) วงคอมโบ วงคอมโบเป็นวงดนตรีขนาดเล็ก เป็นลักษณะของการบรรเลงประกอบการขับร้องเป็นส่วนใหญ่ 3–10 ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประมาณ ชิ้น ได้แก่ เครืองดนตรีกำากับจังหวะ เครืองเป่า ่ ่ ลมไม้ เครื่องลมทองเหลือง และอาจจะมีเครื่องดนตรีประเภทคีย์บอร์ดด้วย หากมีเครื่องดนตรีเฉพาะกลุ่มกีตาร์ ้ (String Combo) ทั้งหมดกับเครื่องกำากับจังหวะ จะเรียกว่าสตริงค์ คอมโบ เนื่องจากวงคอมโบเป็นวงขนาดเล็ก จึงเหมาะสำาหรับนำาไปบรรเลงในงานรื่นเริงตามภัตตาคาร ห้องอาหาร หรือไนต์คลับต่าง ๆ แบบฝึกหัด 1. ดนตรีตะวันตกมีรากฐานมาจากชนชาติใด 1 ก. กรีก ข. สเปน ค. โปรตุเกส ง. เยอรมัน 2. ประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตกสามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ยุคสมัย ก. 5 ยุคสมัย ข. 6 ยุคสมัย
  • 10. ค .7 . 8 ยุคสมัย ง ยุคสมัย 3. ข้อใดเป็นลักษณะของบทเพลงที่นิยมประพันธ์ในยุคคลาสสิค ก. Concerto Grosso ข. Chant ค. Symphony ง. Mass 4. การที่ผู้ประพันธ์เพลงได้ถายทอดอารมณ์ลงไปในบทเพลงเป็นลักษณะดนตรีในยุคใด ่ ก. ยุคคลาสสิค ข. ยุคโรแมนติค ค. ยุคอิมเพรสชั่นนิสติค ง. ยุคศตวรรษที่ 20 5. ข้อใดคือเครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องลมไม้ทั้งหมด ก. Flute Clarinet Saxophone Trumpet ข. Flute Oboe Clarinet Bassoon ค. Flute Clarinet Saxophone Trumpet ง. Oboe Bassoon Saxophone Trombone 6. ข้อใดคือเครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องลมทองเหลืองทั้งหมด ก. Trumpet Trombone Horn Tuba ข. Trumpet Saxophone Trombone Tuba 2 ค. Cornet Trumpet Horn Bassoon ง. Cornet Clarinet Trumpet Trombone 7. บทเพลงที่มีการแสดงเดี่ยวของเครืองดนตรีหนึ่งชนิดและบรรเลงประกอบโดยวงออร์เคสต้าคือ ่ ก. Oratorio ข. Symphony ค. Sonata ง. Concerto 8. Opera หมายถึงอะไร ก. ละครเวทีที่มีการบรรเลงดนตรีประกอบ ข. บทเพลงชนิดหนึ่ง ค. เครืองดนตรีชนิดหนึ่ง ง. ่ การแสดงคอนเสริ์ตในห้องโถง 9. การบรรเลงดนตรีที่ประกอบด้วยผู้เล่น 4 คน เรียกว่าอะไร ก. Duet ข. Trio ค. Quartet ง. Quintet 10. การ Improvisation เป็นลักษณะสำาคัญของดนตรีลักษณะใด ก. Classic ข. Jazz ค. Rock ง. Pop เฉลยแบบฝึกหัด 1. ก. ข้อ 9. ค. ข้อ 2. ค. ข้อ 3. ค. ข้อ 10. ข. ข้อ ข้อ 4. ข. ข้อ 5. ข. ข้อ 6. ก. ข้อ 7. ง. ข้อ 8. ก.
  • 11. หนังสืออ้างอิง ไขแสง ศุขะวัฒนะ . : จำากัด, สังคีตนิยมว่าด้วย ดนตรีตะวันตก . กรุงเทพฯ : บริษัท โรงพิมพ์ไทยวัฒนา .. 2541. ณรุทธ์ สุทธจิตต์. สังคีตนิยมว่าด้วย ความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2532. ละเอียด เหราปัตย์. วิวัฒนาการของดนตรีสากล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มิตรสยาม, พ.ศ. 2522. สดับพิณ รัตนเรือง. ดนตรีปริทรรศน์ Your Book of Music. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุ พานิช พ ศ สภา , พ.ศ. 2539. Jean Ferris. Music The Art of Listening. U.S.A.: McGraw-Hill, Inc., 1999. Max Wade-Matthews. The World Guide To Musical Instruments. London: Anness Publishing Limitted, 2001. Roger Kamien. Music an Appreciation. U.S.A.: McGraw-Hill, Inc., 1994. Ronald Pen. Introduction to Music. Singapore: McGraw-Hill, Inc., 1992. Stanley Sadie with Alison Latham. Stanley Sadie’s Brief Guide to Music. Englewood Cliffs, N.J.: PrenticeHall, Inc., 1987. ลาดพร้าว