SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
 282
ใบความรู
เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
มีความรูและมีความเขาใจเรื่องเครื่องดนตรีสากล
สาระการเรียนรู
เครื่องดนตรีสากล
ประวัติความเปนมาของเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีมีประวัติความเปนมายาวนานกวาผลงานทางดานดนตรี ทั้งนี้เพราะความเปนมาของ
เครื่องดนตรีขึ้นอยูกับประโยชนในการใช เครื่องดนตรีนั้นๆ ในสมัยโบราณมนุษยนับถือเทพเจาและมี
ความเชื่อวาปรากฏการณเหนือธรรมชาติตางๆ เกิดจากการแสดงอิทธิฤทธิ์ของเทพเจา เพื่อความอยูรอด
ปลอดภัยจึงตองมีการบูชาเทพเจาดวยการกระทําบูชาบวงสรวง ในรูปแบบ สวดออนวอน กราบไหว
เตนรําประกอบจังหวะ หรือทําเสียงดวยการเคาะวัตถุตางๆ เพื่อใหเทพเจาไดยินหรือรับรูวามนุษยกําลัง
ทําพิธีให ดังนั้นเครื่องดนตรีในยุคแรกๆ จึงเริ่มจากประเภทเครื่องตีกอน ซึ่งนอกจากทําใหเกิดเสียงดัง
เพื่อใหเทพเจาไดยินแลวยังสามารถเลียนเสียงจากปรากฏการณ ธรรมชาติได เชน ทําเสียงฟารอง โดย
การใชกลองใบใหญตีใหเกิดเสียง กึกกอง นอกจากนี้ เสียงกลองยังสามารถใชในการสื่อสารหรือสง
สัญญาณแสดงความเปนพวกเดียวกัน รวมทั้งยังใชแสดงการละเลนเตนรํา อันเปนการสรางความบันเทิง
ใหกับมนุษยในยุคโบราณ อีกดวย
ตอมามนุษยพยายามเสาะแสวงหาอาหารเพื่อความอยูรอดไดมีการคิดประดิษฐเครื่องมือขึ้นมา
เพื่อใชลาสัตว เชน ใชไมซางสําหรับเปาลูกดอก การเปาลูกดอกทําใหเกิดเสียงในระดับตางๆ มนุษยจึง
ดัดแปลงเปนเปาเขาสัตวแทนและเมื่อเขาสัตวเริ่มหายากจึงเปลี่ยนเปนโลหะซึ่งเปนตนกําเนิดของเครื่อง
เปา นอกจากนี้ เมื่อมนุษยรูจักประดิษฐเครื่องมือสําหรับลาสัตวที่เรียกวา“หนาไมหรือธนู” ซึ่งแตละ
คันจะมีขนาดและเกิดเสียงตางระดับกัน มนุษยจึงคิดดัดแปลงทําเปนพิณชนิดตางๆ และซอขนาดตางๆ
(เครื่องสี) ซึ่งเราเรียกเครื่องดนตรีทั้งสองประเภทนี้รวมกันวา“เครื่องสาย”
ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลมีมากมายหลายประเภท การ0แบง0ประเภทของเครื่องดนตรีสากลนั้น อาจแบง
ประเภทของเครื่องดนตรีแตกตางกัน โดยทั่วไปแลวเครื่องดนตรีจะแบงตามหลักการเกิดเสียงหรือวิธีใน
การบรรเลง เรียกวาแบงประเภทตามสกุล(Family) ของเครื่องดนตรี ซึ่งจําแนกไดดังนี้
หนวยการเรียนรูที่ 9 ดนตรีสากล
 283
2.1 เครื่องสาย (String Instruments)
เครื่องดนตรีประเภทนี้ทําใหเกิดเสียงไดโดยการสั่นสะเทือนของสายลวดหรือเอ็น นอกจากนั้น
แลวยังมีกลองเสียงซึ่งขยายเสียง ทําใหเสียงดังและมีลักษณะเสียงดังตางกันไปเครื่องดนตรีประเภท
เครื่องสายนี้ แบงตามกรรมวิธีที่ทําใหเกิดเสียงได 2 ประเภท คือ
1) ประเภทเครื่องดีด การดีดอาจใชนิ้วมือหรือปค(Pick) สวนใหญทําจากชิ้นสวนของ
กระดองเตาหรือพลาสติก เครื่องดนตรีที่อยูในกลุมนี้ ไดแก กีตาร(Guitar) แบนโจ(Banjo) แมนโดลิน
(Mandolin) ฮารป(Harp)
2) ประเภทเครื่องสี เครื่องดนตรีนี้ใชคันชักจะทําดวยไม และขนหางมา กอนเลนจะตอง
ฝนหางมาดวยยางสน เพื่อเกิดความฝด นอกจากใ ชคันชักยังดีดไดอีกดวย เครื่องดนตรี ที่อยูในกลุมนี้
ไดแก ไวโอลิน(Violin) วิโอลา(Viola) วิโอลอนเชลโล(Violoncello) และดับเบิลเบส(Double Bass)
ภาพเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย
กีตารโปรง กีตารไฟฟา
 284
กีตารโปรง
แมนโดลิน แบนโจ
ฮารป
ไวโอลิน
วิโอลา
เชลโล
ดับเบิลเบส
ตัวอยาง ภาพวาดแสดงเครื่องสาย
 285
2.2 เครื่องเปาลมไม (Woodwind Instruments)
เครื่องดนตรีประเภทนี้แบงตามกรรมวิธีที่ทําใหเกิดเสียงเปน 2 ประเภท คือ
1) เปาลมผานชองลม เกิดเสียงจากการหักเหของลม ลําตัวของเครื่องดนตรีประเภทนี้มี
ลักษณะเปนทอ เครื่องดนตรีที่อยูในกลุมนี้ ไดแก รีคอรเดอร (Recorder) ปคโคโล(Piccolo)
ฟลุต(Flute)
2) เปาลมผานลิ้น ทําใหเกิดเสียงจากการสั่นสะเทือนของลิ้น เครื่องดนตรีประเภทนี้ จะมี
ลิ้นอยูที่ปากสําหรับเปา ลิ้นสามารถเปลี่ยนได ลิ้นมีทั้งเดี่ยวและคู เครื่องดนตรีที่อยูในกลุมนี้ ไดแก
แซกโซโฟน(Saxophone) คลาริเน็ต(Clarinet) โอโบ(Oboe) อิงลิชฮอรน(English Horn)
บาสซูน(Bassoon) คอนตราบาสซูน(Contrabassoon)
 286
ภาพเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเปาลมไม
อัลโตแซกโซโฟน(Alto Saxophone) เทเนอรแซกโซโฟน(Tenor
ปคโคโล(Piccolo) ฟลุต(Flute)
โซปราโนแซกโซโฟน(Soparno Saxophone) คลาริเน็ต(Clarinet) ชนิดตางๆ
บาสซูน(Bassoon)
 287
รีคอรเดอร
ปตโคโล
ฟลุต
คลาริเน็ต
แซกโซโฟน
โอโบ
อิงลิชฮอรน
บาสซูน
คอนตาบาสซูน
ตัวอยาง ภาพวาดแสดงเครื่องเปาลมไม
 288
2.3 เครื่องเปาทองเหลือง(Brass Instruments)
เครื่องเปาประเภทนี้ทําใหเกิดเสียง โดยการเปาลมผานริมฝปากไป ปะทะกับชองที่เปา (Mouth
Piece) ทําใหเกิดการสั่นสะเทือนของมวลอากาศ เครื่องดนตรีที่อยูในกลุมนี้ไดแก คอรเน็ต(Cornet)
ทรัมเปต(Trumpet) เฟรนชฮอรน(French Horn) ทรอมโบน(Trombone) แบริโทน(Baritone) ยูโฟเนียม
(Euphonium) ทูบา(Tuba) ซูซาโฟน(Sousaphone)
ทูบา(Tuba)เฟรนชฮอรน(French Horn)
ทรัมเปต(Trumpet)
ภาพตัวอย่างภาพเครื่องเป่ าทองเหลือง
ทรอมโบน(Trombone)
ปคโคโลทรัมเปต(Piccolo Trumpet)
 289
เฟรนฮอรน
คอรเน็ท
ทรอมโบน
ซูซาโฟน
ยูโฟเนียม
แบริโทน
ทรัมเปต ทูบา
ตัวอยาง ภาพวาดแสดงเครื่องเปาทองเหลือง
หมายเหตุ ขนาดของเครื่องดนตรีเหลานี้ไมไดใชมาตราสวน เดียวกัน
จึงไมสามารถเปรียบเทียบขนาดได
 290
2.4 เครื่องดนตรีประเภทมีลิ่มนิ้ว(Keyboard Instruments)
เครื่องดนตรีประเภทมีลิ่มนิ้วเรียงกันเปนแผง เวลาเลนใชนิ้วกดลงบนลิ่มนิ้วของเครื่องดนตรี การ
เกิดเสียงขึ้นอยูกับกลไกภายใน ซึ่งมีลักษณะเปนคอนเล็กๆ ตีที่เสนลวดหรือแทงโลหะ หรือ มีลักษณะ
เปนทอลมที่มีปดเปดเครื่องดนตรีที่อยูในกลุมนี้ไดแก เปยโน(Piano) ออรแกน(Organ) เชเลสตา(Celesta)
ฮารปซิคอรด(Harpsicord) แอ็คคอรเดียน(Accordion) เมโลเดียน(Melodion) ในปจจุบันนี้เครื่องดนตรี
ประเภทลิ่มนิ้ว ไดถูกปรับปรุงใหทันสมัยขึ้น โดยนําระบบไฟฟามาทําใหเกิดเสียง เครื่องดนตรีกลุมนี้
ไดแก อิเลคโทนหรือออรแกนไฟฟา(Electronic Organ or Electone) เปยโนไฟฟา(Electronic Piano)
ออรแกนไฟฟา
เปยโน
แกรนดเปยโน การเลนเครื่องดนตรีที่มีลิ่มนิ้ว
ภาพแสดงเครื่องดนตรีประเภทมีลิ่มนิ้ว
 291
แอคคอเดียน
คียบอรดไฟฟา
เชเลสตา
อิเล็กโทน
เปยโน
ออรแกน
เมโลเดียน
ตัวอยาง ภาพวาดแสดงเครื่องดนตรีประเภทมีลิ่มนิ้วหรือคียบอรด
 292
2.5 เครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบ (Percussion Instruments )
เครื่องดนตรีประเภทนี้ใชสําหรับประกอบจังหวะ บางชนิดใชบรรเลงทํานองได แบงเปน
ประเภทใหญๆตามลักษณะของระดับเสียงได 2 ประเภท ดังนี้
1) ประเภทที่มีระดับเสียงไมแนนอน (Indefinite Pitch) เครื่องดนตรีประเภทนี้เปนเครื่อง
ตี ประกอบจังหวะหรือคุมจังหวะเพื่อใหการบรรเลงนั้นพ รอมเพรียงกันหรือตีประกอบเพื่อใหบรรเลง
นั้นๆ มีความไพเราะนาฟงขึ้น เครื่องดนตรีที่ทําจังหวะกลุมนี้ไดแก กลองใหญ (Bass Drum)
กลองเทเนอร (Tenor Drum) ทิมปานี(Timpani) กลองเล็ก(Snare Drum) ทอมบา(Tomba) มาราคัส
(Maracas) แทมบุริน(Tambourine) ไทรแองเกิล(Triangle) ฉาบ(Cymbals) กรับ(Castanets)
กลองชุด(Team Drums) คาวเบลล(Cow Bell) วูดบล็อก(Wood Block) บองโกส(Bongos)
2) ประเภทที่มีระดับเสียงแนนอน (Definite Pitch) เครื่องดนตรีประเภทนี้สามารถ ไล
เสียงและสามารถใชบรรเลงทํานองได มีบางชนิดในกลุมนี้ที่ไมสามารถเทียบเสียงและตี ใหจังหวะได
เครื่องดนตรีกลุมนี้ไดแก ไซโลโฟน(Xylophone) คลอกเค็นสปล(Glockenspiel) เบลไลรา(Bellyra)
ระฆังราว(Tubular Bells)
กลองชุด(Team Drum)
กลองใหญ(Bass Drum)กลองเล็ก(Snare Drum)
ไทรแองเกิล(Triangle)
ภาพแสดงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องกํากับจังหวะ
 293
ไทรแองเกิล(กิ่ง)
ฉาบ กรับ
บองโกส
กลองฉิ่ง กลองเล็ก
วูดบล็อก ลูกซัด
กลองเทนเนอร
กลองทอมบา
กลองทิมปานี
กลองใหญ
ตัวอยาง ภาพวาดแสดงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบ
 294
การดูแลรักษาเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีเปรียบเสมือนเครื่องมือที่นักดนตรีจะตองมีติดตัวและใหความสนใจอยูเสมอ หาก
นักดนตรีขาดความเอาใจใสดูแลหรือดูแลไมถูกวิธี เครื่องดนตรีดังกลาวอาจไมสามารถนํามาใชงานได
อีกหรืออาจมีอายุการใชงานสั้นไมคุมคากับราคาของเครื่องดนตรีที่หาซื้อมาดวยราคาที่แพงดังนั้นเราควร
ที่จะหันมาสนใจดูแลรักษาเครื่องดนตรีที่เรารักใหอยูสรางความสุขคูกับเราไปนานๆ ดวยวิธีงายๆ ดังนี้
1) เครื่องสาย กอนหรือหลังการเลนเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ใหใชผาที่มี เนื้อนุมๆ ลูบ
เบาๆ ไปบนสายและตัวเครื่องดนตรี เพื่อขจัดฝุนที่อาจเกาะอยู หากมีคราบไคลใหใชผาดังกลาวขัดถู
เบาๆ จนเกิดความเงางาม ถาเปนเครื่องสายที่ใชคันชักสีเมื่อเลนเสร็จจะตองปรับคันชักไมใหตึงจนเกิน
ไปกอนเก็บใสกลอง หากไมเลนเปนเวลานานควรปรับสายใหหยอน เพื่อชวยใหเครื่องดนตรีไมตองรับ
แรงตึงเปนเวลานานๆ ซึ่งอาจทําใหคอของเครื่องดนตรีหลุดหรือแตกชํารุดได
2) เครื่องเปาลมไม ถาเปนประเภทเปาลมผานชองลม เชน รีคอรเดอร ฟลุต ปคโคโล ใหใช
ผาแหงที่มีเนื้อนุมเช็ดใหทั่วทั้งตัวเครื่อง เพื่อทําความสะอาดกอนและหลังการเปา สําหรับ ปคโคโล
และฟลุต หมั่นเอาใจใสดูแลกระเดื่อง กลไกใหอยูในสภาพใ0ช0
เครื่องดนตรีประเภทเปาลมผานลิ้น มีวิธีการดูแลคลายกับปคโคโล และฟลุตแตใหเพิ่ม การดูแล
ในสวนของปากเปาและลิ้นดวยการถอดปากเปา ออกมาลางดวยน้ําสะอาด แลวผึ่งลมใหแหงกอนใชฝา
ครอบสวมสวนบนนําเก็บใสกลองทุกครั้งเมื่อเลนเสร็จ
งานไดดีดวยการใชเศษผานุมๆ แตะ
น้ํามันที่ใชสําหรับทําความสะอาดเครื่องดนตรีที่เปนโลหะลูบไปตามกระเดื่องกลไก และตัวเครื่องใหทั่ว
น้ํามันดังกลาวจะชวยใหกระเดื่องกลไกเกิดความคลองตัวในการใชงานและชวยไมใหเกิดสนิม
3) เครื่องเปาลมทองเหลือง หมั่นดูแลทําความสะอาดดวยการใชผาแหงที่มีเนื้อนุมเช็ดที่ตัว
เครื่องใหสะอาดทั้งกอนและหลังการใช เมื่อใชเสร็จแลวกดที่กระเดื่องสําหรับไลน้ําลายแลวเปาลมที่
ปากเปา(กําพวด) แรงๆ เพื่อไลหยดน้ําลายที่อยูในทอออกใหหมด ถอดกําพวดออกมาทําความสะอาด
โดยใชผาเช็ดแลวใชเศษผาแตะครีมขัดโลหะลูบไปบนตัวเครื่องใหทั่ว ทิ้งไว 5-10 นาที ใชผาแหงนุม
เช็ดถูใหเกิดความเงางาม แลวนําเก็บใสกลองใหเรียบรอย
4) เครื่องดนตรีประเภทมีลิ่มนิ้ว โดยปกติใชผาสักหลาดหรือผาแหงเช็ดถูที่ตัวเครื่อง และ
บริเวณที่เปนลิ่มนิ้วใหสะอาดปราศจากคราบไคลปดดวยฝาครอบแลวใชผาคลุม คลุมใหเรียบรอย
5) เครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบใชผาแหงที่มีเนื้อนุมเช็ดถูทําความสะอาดทั้งตัวเครื่องและ
สวนที่ใชสําหรับตีใหสะอาดกอน และหลังการใชทุกครั้ง เก็บเครื่องดนตรีใสกลองหรือใชผาคลุมให
เรียบรอยเมื่อเลิกใช
 295
สรุป
เครื่องดนตรีสากล มีความสําคัญในการเรียนดนตรีสากล เพราะการเรียนรูเครื่อ งดนตรีสากล
ทําใหเรามีความเขาใจพื้นฐานทางดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากลแบงเปนประเภท ตามลักษณะการใชงาน
ดังนี้ คือ เครื่องสาย(String Instruments) เครื่องเปาลมไม(Woodwind Instruments) เครื่องเปา
ทองเหลือง(Brass Instruments) เครื่องดนตรีประเภทมีลิ่มนิ้ว(Keyboard Instruments) เครื่องดนตรี
ประเภทเครื่องกระทบ (Percussion Instruments) การเรียนรูเครื่องดนตรีสากล ทําใหผูเรียนนําไปใช
ประโยชนในชีวิตประจําวันได และบงบอกความเปนสากล

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanxun
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยพัน พัน
 
เพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีเพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีTeach Singing
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สุพัตรา ไร่อำไพ
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanxun
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012Kruthai Kidsdee
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanxun
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณbua2503
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกpeter dontoom
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยSurin Keawkerd
 

What's hot (20)

องค์ประกอบของดนตรี
องค์ประกอบของดนตรีองค์ประกอบของดนตรี
องค์ประกอบของดนตรี
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทย
 
เพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีเพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลี
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล

  • 1.  282 ใบความรู เรื่อง เครื่องดนตรีสากล ผลการเรียนรูที่คาดหวัง มีความรูและมีความเขาใจเรื่องเครื่องดนตรีสากล สาระการเรียนรู เครื่องดนตรีสากล ประวัติความเปนมาของเครื่องดนตรีสากล เครื่องดนตรีมีประวัติความเปนมายาวนานกวาผลงานทางดานดนตรี ทั้งนี้เพราะความเปนมาของ เครื่องดนตรีขึ้นอยูกับประโยชนในการใช เครื่องดนตรีนั้นๆ ในสมัยโบราณมนุษยนับถือเทพเจาและมี ความเชื่อวาปรากฏการณเหนือธรรมชาติตางๆ เกิดจากการแสดงอิทธิฤทธิ์ของเทพเจา เพื่อความอยูรอด ปลอดภัยจึงตองมีการบูชาเทพเจาดวยการกระทําบูชาบวงสรวง ในรูปแบบ สวดออนวอน กราบไหว เตนรําประกอบจังหวะ หรือทําเสียงดวยการเคาะวัตถุตางๆ เพื่อใหเทพเจาไดยินหรือรับรูวามนุษยกําลัง ทําพิธีให ดังนั้นเครื่องดนตรีในยุคแรกๆ จึงเริ่มจากประเภทเครื่องตีกอน ซึ่งนอกจากทําใหเกิดเสียงดัง เพื่อใหเทพเจาไดยินแลวยังสามารถเลียนเสียงจากปรากฏการณ ธรรมชาติได เชน ทําเสียงฟารอง โดย การใชกลองใบใหญตีใหเกิดเสียง กึกกอง นอกจากนี้ เสียงกลองยังสามารถใชในการสื่อสารหรือสง สัญญาณแสดงความเปนพวกเดียวกัน รวมทั้งยังใชแสดงการละเลนเตนรํา อันเปนการสรางความบันเทิง ใหกับมนุษยในยุคโบราณ อีกดวย ตอมามนุษยพยายามเสาะแสวงหาอาหารเพื่อความอยูรอดไดมีการคิดประดิษฐเครื่องมือขึ้นมา เพื่อใชลาสัตว เชน ใชไมซางสําหรับเปาลูกดอก การเปาลูกดอกทําใหเกิดเสียงในระดับตางๆ มนุษยจึง ดัดแปลงเปนเปาเขาสัตวแทนและเมื่อเขาสัตวเริ่มหายากจึงเปลี่ยนเปนโลหะซึ่งเปนตนกําเนิดของเครื่อง เปา นอกจากนี้ เมื่อมนุษยรูจักประดิษฐเครื่องมือสําหรับลาสัตวที่เรียกวา“หนาไมหรือธนู” ซึ่งแตละ คันจะมีขนาดและเกิดเสียงตางระดับกัน มนุษยจึงคิดดัดแปลงทําเปนพิณชนิดตางๆ และซอขนาดตางๆ (เครื่องสี) ซึ่งเราเรียกเครื่องดนตรีทั้งสองประเภทนี้รวมกันวา“เครื่องสาย” ประเภทของเครื่องดนตรีสากล เครื่องดนตรีสากลมีมากมายหลายประเภท การ0แบง0ประเภทของเครื่องดนตรีสากลนั้น อาจแบง ประเภทของเครื่องดนตรีแตกตางกัน โดยทั่วไปแลวเครื่องดนตรีจะแบงตามหลักการเกิดเสียงหรือวิธีใน การบรรเลง เรียกวาแบงประเภทตามสกุล(Family) ของเครื่องดนตรี ซึ่งจําแนกไดดังนี้ หนวยการเรียนรูที่ 9 ดนตรีสากล
  • 2.  283 2.1 เครื่องสาย (String Instruments) เครื่องดนตรีประเภทนี้ทําใหเกิดเสียงไดโดยการสั่นสะเทือนของสายลวดหรือเอ็น นอกจากนั้น แลวยังมีกลองเสียงซึ่งขยายเสียง ทําใหเสียงดังและมีลักษณะเสียงดังตางกันไปเครื่องดนตรีประเภท เครื่องสายนี้ แบงตามกรรมวิธีที่ทําใหเกิดเสียงได 2 ประเภท คือ 1) ประเภทเครื่องดีด การดีดอาจใชนิ้วมือหรือปค(Pick) สวนใหญทําจากชิ้นสวนของ กระดองเตาหรือพลาสติก เครื่องดนตรีที่อยูในกลุมนี้ ไดแก กีตาร(Guitar) แบนโจ(Banjo) แมนโดลิน (Mandolin) ฮารป(Harp) 2) ประเภทเครื่องสี เครื่องดนตรีนี้ใชคันชักจะทําดวยไม และขนหางมา กอนเลนจะตอง ฝนหางมาดวยยางสน เพื่อเกิดความฝด นอกจากใ ชคันชักยังดีดไดอีกดวย เครื่องดนตรี ที่อยูในกลุมนี้ ไดแก ไวโอลิน(Violin) วิโอลา(Viola) วิโอลอนเชลโล(Violoncello) และดับเบิลเบส(Double Bass) ภาพเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย กีตารโปรง กีตารไฟฟา
  • 4.  285 2.2 เครื่องเปาลมไม (Woodwind Instruments) เครื่องดนตรีประเภทนี้แบงตามกรรมวิธีที่ทําใหเกิดเสียงเปน 2 ประเภท คือ 1) เปาลมผานชองลม เกิดเสียงจากการหักเหของลม ลําตัวของเครื่องดนตรีประเภทนี้มี ลักษณะเปนทอ เครื่องดนตรีที่อยูในกลุมนี้ ไดแก รีคอรเดอร (Recorder) ปคโคโล(Piccolo) ฟลุต(Flute) 2) เปาลมผานลิ้น ทําใหเกิดเสียงจากการสั่นสะเทือนของลิ้น เครื่องดนตรีประเภทนี้ จะมี ลิ้นอยูที่ปากสําหรับเปา ลิ้นสามารถเปลี่ยนได ลิ้นมีทั้งเดี่ยวและคู เครื่องดนตรีที่อยูในกลุมนี้ ไดแก แซกโซโฟน(Saxophone) คลาริเน็ต(Clarinet) โอโบ(Oboe) อิงลิชฮอรน(English Horn) บาสซูน(Bassoon) คอนตราบาสซูน(Contrabassoon)
  • 5.  286 ภาพเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเปาลมไม อัลโตแซกโซโฟน(Alto Saxophone) เทเนอรแซกโซโฟน(Tenor ปคโคโล(Piccolo) ฟลุต(Flute) โซปราโนแซกโซโฟน(Soparno Saxophone) คลาริเน็ต(Clarinet) ชนิดตางๆ บาสซูน(Bassoon)
  • 7.  288 2.3 เครื่องเปาทองเหลือง(Brass Instruments) เครื่องเปาประเภทนี้ทําใหเกิดเสียง โดยการเปาลมผานริมฝปากไป ปะทะกับชองที่เปา (Mouth Piece) ทําใหเกิดการสั่นสะเทือนของมวลอากาศ เครื่องดนตรีที่อยูในกลุมนี้ไดแก คอรเน็ต(Cornet) ทรัมเปต(Trumpet) เฟรนชฮอรน(French Horn) ทรอมโบน(Trombone) แบริโทน(Baritone) ยูโฟเนียม (Euphonium) ทูบา(Tuba) ซูซาโฟน(Sousaphone) ทูบา(Tuba)เฟรนชฮอรน(French Horn) ทรัมเปต(Trumpet) ภาพตัวอย่างภาพเครื่องเป่ าทองเหลือง ทรอมโบน(Trombone) ปคโคโลทรัมเปต(Piccolo Trumpet)
  • 8.  289 เฟรนฮอรน คอรเน็ท ทรอมโบน ซูซาโฟน ยูโฟเนียม แบริโทน ทรัมเปต ทูบา ตัวอยาง ภาพวาดแสดงเครื่องเปาทองเหลือง หมายเหตุ ขนาดของเครื่องดนตรีเหลานี้ไมไดใชมาตราสวน เดียวกัน จึงไมสามารถเปรียบเทียบขนาดได
  • 9.  290 2.4 เครื่องดนตรีประเภทมีลิ่มนิ้ว(Keyboard Instruments) เครื่องดนตรีประเภทมีลิ่มนิ้วเรียงกันเปนแผง เวลาเลนใชนิ้วกดลงบนลิ่มนิ้วของเครื่องดนตรี การ เกิดเสียงขึ้นอยูกับกลไกภายใน ซึ่งมีลักษณะเปนคอนเล็กๆ ตีที่เสนลวดหรือแทงโลหะ หรือ มีลักษณะ เปนทอลมที่มีปดเปดเครื่องดนตรีที่อยูในกลุมนี้ไดแก เปยโน(Piano) ออรแกน(Organ) เชเลสตา(Celesta) ฮารปซิคอรด(Harpsicord) แอ็คคอรเดียน(Accordion) เมโลเดียน(Melodion) ในปจจุบันนี้เครื่องดนตรี ประเภทลิ่มนิ้ว ไดถูกปรับปรุงใหทันสมัยขึ้น โดยนําระบบไฟฟามาทําใหเกิดเสียง เครื่องดนตรีกลุมนี้ ไดแก อิเลคโทนหรือออรแกนไฟฟา(Electronic Organ or Electone) เปยโนไฟฟา(Electronic Piano) ออรแกนไฟฟา เปยโน แกรนดเปยโน การเลนเครื่องดนตรีที่มีลิ่มนิ้ว ภาพแสดงเครื่องดนตรีประเภทมีลิ่มนิ้ว
  • 11.  292 2.5 เครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบ (Percussion Instruments ) เครื่องดนตรีประเภทนี้ใชสําหรับประกอบจังหวะ บางชนิดใชบรรเลงทํานองได แบงเปน ประเภทใหญๆตามลักษณะของระดับเสียงได 2 ประเภท ดังนี้ 1) ประเภทที่มีระดับเสียงไมแนนอน (Indefinite Pitch) เครื่องดนตรีประเภทนี้เปนเครื่อง ตี ประกอบจังหวะหรือคุมจังหวะเพื่อใหการบรรเลงนั้นพ รอมเพรียงกันหรือตีประกอบเพื่อใหบรรเลง นั้นๆ มีความไพเราะนาฟงขึ้น เครื่องดนตรีที่ทําจังหวะกลุมนี้ไดแก กลองใหญ (Bass Drum) กลองเทเนอร (Tenor Drum) ทิมปานี(Timpani) กลองเล็ก(Snare Drum) ทอมบา(Tomba) มาราคัส (Maracas) แทมบุริน(Tambourine) ไทรแองเกิล(Triangle) ฉาบ(Cymbals) กรับ(Castanets) กลองชุด(Team Drums) คาวเบลล(Cow Bell) วูดบล็อก(Wood Block) บองโกส(Bongos) 2) ประเภทที่มีระดับเสียงแนนอน (Definite Pitch) เครื่องดนตรีประเภทนี้สามารถ ไล เสียงและสามารถใชบรรเลงทํานองได มีบางชนิดในกลุมนี้ที่ไมสามารถเทียบเสียงและตี ใหจังหวะได เครื่องดนตรีกลุมนี้ไดแก ไซโลโฟน(Xylophone) คลอกเค็นสปล(Glockenspiel) เบลไลรา(Bellyra) ระฆังราว(Tubular Bells) กลองชุด(Team Drum) กลองใหญ(Bass Drum)กลองเล็ก(Snare Drum) ไทรแองเกิล(Triangle) ภาพแสดงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องกํากับจังหวะ
  • 12.  293 ไทรแองเกิล(กิ่ง) ฉาบ กรับ บองโกส กลองฉิ่ง กลองเล็ก วูดบล็อก ลูกซัด กลองเทนเนอร กลองทอมบา กลองทิมปานี กลองใหญ ตัวอยาง ภาพวาดแสดงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบ
  • 13.  294 การดูแลรักษาเครื่องดนตรีสากล เครื่องดนตรีเปรียบเสมือนเครื่องมือที่นักดนตรีจะตองมีติดตัวและใหความสนใจอยูเสมอ หาก นักดนตรีขาดความเอาใจใสดูแลหรือดูแลไมถูกวิธี เครื่องดนตรีดังกลาวอาจไมสามารถนํามาใชงานได อีกหรืออาจมีอายุการใชงานสั้นไมคุมคากับราคาของเครื่องดนตรีที่หาซื้อมาดวยราคาที่แพงดังนั้นเราควร ที่จะหันมาสนใจดูแลรักษาเครื่องดนตรีที่เรารักใหอยูสรางความสุขคูกับเราไปนานๆ ดวยวิธีงายๆ ดังนี้ 1) เครื่องสาย กอนหรือหลังการเลนเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ใหใชผาที่มี เนื้อนุมๆ ลูบ เบาๆ ไปบนสายและตัวเครื่องดนตรี เพื่อขจัดฝุนที่อาจเกาะอยู หากมีคราบไคลใหใชผาดังกลาวขัดถู เบาๆ จนเกิดความเงางาม ถาเปนเครื่องสายที่ใชคันชักสีเมื่อเลนเสร็จจะตองปรับคันชักไมใหตึงจนเกิน ไปกอนเก็บใสกลอง หากไมเลนเปนเวลานานควรปรับสายใหหยอน เพื่อชวยใหเครื่องดนตรีไมตองรับ แรงตึงเปนเวลานานๆ ซึ่งอาจทําใหคอของเครื่องดนตรีหลุดหรือแตกชํารุดได 2) เครื่องเปาลมไม ถาเปนประเภทเปาลมผานชองลม เชน รีคอรเดอร ฟลุต ปคโคโล ใหใช ผาแหงที่มีเนื้อนุมเช็ดใหทั่วทั้งตัวเครื่อง เพื่อทําความสะอาดกอนและหลังการเปา สําหรับ ปคโคโล และฟลุต หมั่นเอาใจใสดูแลกระเดื่อง กลไกใหอยูในสภาพใ0ช0 เครื่องดนตรีประเภทเปาลมผานลิ้น มีวิธีการดูแลคลายกับปคโคโล และฟลุตแตใหเพิ่ม การดูแล ในสวนของปากเปาและลิ้นดวยการถอดปากเปา ออกมาลางดวยน้ําสะอาด แลวผึ่งลมใหแหงกอนใชฝา ครอบสวมสวนบนนําเก็บใสกลองทุกครั้งเมื่อเลนเสร็จ งานไดดีดวยการใชเศษผานุมๆ แตะ น้ํามันที่ใชสําหรับทําความสะอาดเครื่องดนตรีที่เปนโลหะลูบไปตามกระเดื่องกลไก และตัวเครื่องใหทั่ว น้ํามันดังกลาวจะชวยใหกระเดื่องกลไกเกิดความคลองตัวในการใชงานและชวยไมใหเกิดสนิม 3) เครื่องเปาลมทองเหลือง หมั่นดูแลทําความสะอาดดวยการใชผาแหงที่มีเนื้อนุมเช็ดที่ตัว เครื่องใหสะอาดทั้งกอนและหลังการใช เมื่อใชเสร็จแลวกดที่กระเดื่องสําหรับไลน้ําลายแลวเปาลมที่ ปากเปา(กําพวด) แรงๆ เพื่อไลหยดน้ําลายที่อยูในทอออกใหหมด ถอดกําพวดออกมาทําความสะอาด โดยใชผาเช็ดแลวใชเศษผาแตะครีมขัดโลหะลูบไปบนตัวเครื่องใหทั่ว ทิ้งไว 5-10 นาที ใชผาแหงนุม เช็ดถูใหเกิดความเงางาม แลวนําเก็บใสกลองใหเรียบรอย 4) เครื่องดนตรีประเภทมีลิ่มนิ้ว โดยปกติใชผาสักหลาดหรือผาแหงเช็ดถูที่ตัวเครื่อง และ บริเวณที่เปนลิ่มนิ้วใหสะอาดปราศจากคราบไคลปดดวยฝาครอบแลวใชผาคลุม คลุมใหเรียบรอย 5) เครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบใชผาแหงที่มีเนื้อนุมเช็ดถูทําความสะอาดทั้งตัวเครื่องและ สวนที่ใชสําหรับตีใหสะอาดกอน และหลังการใชทุกครั้ง เก็บเครื่องดนตรีใสกลองหรือใชผาคลุมให เรียบรอยเมื่อเลิกใช
  • 14.  295 สรุป เครื่องดนตรีสากล มีความสําคัญในการเรียนดนตรีสากล เพราะการเรียนรูเครื่อ งดนตรีสากล ทําใหเรามีความเขาใจพื้นฐานทางดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากลแบงเปนประเภท ตามลักษณะการใชงาน ดังนี้ คือ เครื่องสาย(String Instruments) เครื่องเปาลมไม(Woodwind Instruments) เครื่องเปา ทองเหลือง(Brass Instruments) เครื่องดนตรีประเภทมีลิ่มนิ้ว(Keyboard Instruments) เครื่องดนตรี ประเภทเครื่องกระทบ (Percussion Instruments) การเรียนรูเครื่องดนตรีสากล ทําใหผูเรียนนําไปใช ประโยชนในชีวิตประจําวันได และบงบอกความเปนสากล