SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
1 

 


       การจัดการเรียนรูในโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย

          การพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลที่กําหนด สถานศึกษาควรสงเสริมใหครูผูสอน
ทุกกลุมสาระการเรียนรูในโรงเรียนมาตรฐานสากลจัดทําหนวยการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตาม
กระบวนการ 5 ขั้นตอน หรือบันได 5 ขั้น ของการจัดการเรียนรูในโรงเรียนมาตรฐานสากล ทั้งในรายวิชา
พื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ซึ่งกระบวนการ 5 ขั้นตอน หรือบันได 5 ขั้น ของการ
จัดการเรียนรูในโรงเรียนมาตรฐานสากล เปนกระบวนการที่มีความตอเนื่อง ไดแก
          1. การตั้งประเด็นคําถาม / สมมุติฐาน
          2. การสืบคนความรูจากแหลงการเรียนรูและสารสนเทศ
          3. การสรุปองคความรู
          4. การสื่อสารและการนําเสนออยางมีประสิทธิภาพ
          5. การบริการสังคมและจิตสาธารณะ


                     5. การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service)

                4. การสื่อสารและการนําเสนอ (Effective Communication)


            3. การสรุปองคความรู (Knowledge Formation)

       2. การสื บ ค น ความรู จ ากแหล ง เรี ย นรู แ ละสารสนเทศ
        1. การตั้งประเด็นคําถาม/ Formulation

    1 . ก า ร ตั้ ง ป ร ะ เ ด็ น คํ า ถ า ม / ส ม มุ ติ ฐ า น (Hypothesis

         กระบวนการดังกลาวจะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่องและเปนระบบ และไดรับการ
พัฒนาอยางเต็มตามศักยภาพ บรรลุตามเปาหมายของการจัดการเรียนรูในโรงเรียนมาตรฐานสากล

            การจัดการเรียนรู IS (Independent Study) ในโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับมัธยมศึกษา สามารถ
จัดได 2 ลักษณะ คือ จัดเปนรายวิชาเพิ่มเติม 2 รายวิชา ไดแก 1) รายวิชาการศึกษาคนควาและสรางองค
ความรู (Research and Knowledge Formation: IS1) เปนการพัฒนาใหผูเรียนเกิดความรูและทักษะตาม
IS1 ผูเรียนเลือกประเด็นที่สนใจในการเรียนรู เพื่อกําหนดประเด็นปญหา ตั้งสมมุติฐาน คนควา แสวงหา
2 

 

ความรูจากแหลงขอมู ลตาง ๆ และฝกทักษะการคิดวิ เคราะห สังเคราะห และสรางองคความรู และ 2)
รายวิชาการสื่อสารและการนําเสนอ (Communication and Presentation: IS2) เปนการเรียนรูตอเนื่องจาก
รายวิชา IS1 ผูเรียนนําสิ่งที่ไดศกษาคนควาจากรายวิชาการศึกษาคนควาและสรางองคความรูมาเขียนรายงาน
                                  ึ
หรือเอกสารทางวิชาการ และนําเสนอเพื่อสื่อสารถายทอดขอมูลความรูนั้นใหผูอ่ืนเขาใจ โดยจัดทําเปน
ผลงานการเขี ย นทางวิ ช าการ 1 ชิ้ น และการสื่ อ สารนํ า เสนอสิ่ ง ที่ ไ ด จ ากการศึ ก ษาค น คว า ในระดั บ
มัธยมศึกษาตอนตน เปนภาษาไทย 2,500 คํา มัธยมศึกษาตอนปลายเปนภาษาไทย 4,000 คํา
หรือภาษาอังกฤษ 2,000 คํา และจัดเปนกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน
โดยจัดกิจกรรมการนําองคความรูไปใชบริการสังคม (Social Service Activity: IS3) ซึ่งเปนการนําสิ่งที่
เรียนรูจากรายวิชาเพิ่มเติมทั้ง 2 รายวิชาขางตน ไปประยุกตใชในการทําประโยชนตอสังคม ดังตัวอยางการ
จัดการเรียนรู ตอไปนี้

    1. รายวิชาเพิ่มเติมการศึกษาคนควาและสรางองคความรู (Research and Knowledge Formation: IS1)
         รายวิชาเพิ่มเติมการศึกษาคนควาและสรางองคความรู (Research and Knowledge Formation: IS1)
ประกอบดวยสาระการคนควาและแสวงหาความรูเพิ่มเติมอยางลึกซึ้ง เพื่อใหผูเรียนไดพิสูจนประเด็นความรู
ขอคนพบหรือสมมติฐานของความรูที่ไดรับรู และสงเสริมใหผูเรียนรูจักการตรวจสอบความนาเชื่อถือของ
แหลงที่มาของความรู รวมทั้งจัดประสบการณใหผูเรียนเรียนรูกระบวนการรับรูในลักษณะที่เปนวัฒนธรรม
ของการรับรูและการรับรูท่ใชความรูสึก และปลูกฝงการสรางความเขาใจที่เปนสากลใหแกผูเรียน
                           ี

         การจัดการเรียนรูรายวิชาเพิ่มเติมการศึกษาคนควาและสรางองคความรูมีวัตถุประสงค เพื่อใหผูเรียน
แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ ชิ ง วิ เ ค ร า ะ ห ตั้ ง ส ม ม ติ ฐ า น แ ละ ห า คํ า ต อ บ เ กี่ ย ว กั บ สิ่ ง ที่ รู ตั้ ง คํ า ถ า ม
ใหคําอธิบายแสดงความคิดเห็นตาง ๆ รูจักหาทางออกในการแกปญหาไดอยางกระจางชัด เชื่อมโยงความรู
เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรูเกี่ยวกับสาขาวิชาตาง ๆ และวิธีการรับความรู (Ways of Knowing) 4 วิธี
ไดแก 1) วิธการสรางความรูจากการสัมผัสรับรู 2) วิธีการสรางความรูจากการใชภาษา 3) วิธีการสรางความรู
             ี
จากการใหเหตุผล และ 4) วิธีการการสรางความรูจากสิ่งที่เปนอารมณ

แนวการจัดการเรียนรู
        1. ครูผูสอนรวมกับผูเรียนในการกําหนด หรือตั้งประเด็นความรู หรือหัวขอเกี่ยวกับ Public Issues
หรือ Global Issues สําหรับการศึกษาคนควา เปนขั้นที่ผูเรียนจะรับรูถึงจุดหมายและมีแรงจูงใจในการเรียนรู
บทเรียน ผูสอนสามารถเลือกใชกิจกรรมตาง ๆ ในการจัดการเรียนรู เชน
            1.1 การเลาเรื่องตาง ๆ ใหผูเรียนซักถาม หรือตั้งคําถาม
            1.2 การฉายภาพนิ่งใหผูเรียนชมและติดตาม
            1.3 การชวนสนทนา เพื่อใหผูเรียนตั้งประเด็นที่ตองการรู
            1.4 การกระตุนความสนใจดวยเกม เพลง ภาพ ฯลฯ
                           
3 

 

              1.5 การอาน / ฟงขาวจากหนังสือพิมพ
              1.6 การตั้งประเด็นอภิปราย / คําถามสรางพลังความคิด
              1.7 การยกตัวอยางประโยค คําพังเพย บทกวี
              1.8 การกําหนด หรือการตั้งประเด็นความรู หรือหัวขอเกี่ยวกับ Public Issues หรือ Global
Issues
           2. ใหความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการสรางองคความรู 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 “Ways of Knowing” วิถี
การรับรู ความรู สวนที่ 2 “Areas of Knowledge” ศาสตร / สาขา แขนงความรู สวนที่ 3 การเรียบเรียงขอมูล
ข อ ค น พบ ความคิ ด ความคิ ด เห็ น การให เ หตุ ผ ลโต แ ย ง และสนั บ สนุ น เพื่ อ ให ผู เ รี ย นเข า ใจถึ ง การ
กระบวนการสรางองคความรู ครูผูสอนควรมีเทคนิคการจัดการเรียนรูที่หลากหลาย ไดแก
               2.1 การอภิปรายกลุม เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
               2.2 การระดมพลังความคิด
               2.3 การเรียนรูโดยใชสถานการณจําลอง
                               
           3. ปรับเปลี่ยนความคิด เปนขั้นตอนสําคัญซึ่งเปนหัวใจของขั้นตอนการเรียนรู ผูเรียนจะศึกษา
คนควาตามประเด็นความรู หรือหัวขอที่ครอบคลุม Public Issues และ Global Issues ครูผูสอนควรมีเทคนิค
การจัดการเรียนรูที่หลากหลาย ไดแก
               3.1 ทําความกระจางและแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน ครูผูสอนจะกระตุนใหผูเรียนดําเนิน
กิจกรรมเพื่อสืบคนขอมูลจากแหลงเรียนรูตาง ๆ โดยใชวิธีการ ดังนี้
                                              
                     - คนควาจากแหลงเรียนรูตาง ๆ
                     - สัมภาษณผูรู
                     - ปฏิบัติการคนหา (ทดลอง สืบเสาะ สังเกต สํารวจ)
                     - รวมมือเพื่อเขียนคําอธิบาย
                     - แบงงานความรับผิดชอบภายในกลุม
               3.2 สรางความคิดใหม ผูเรียนนําผลการอภิปรายและสาธิตที่เปนผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู
ระหวางกันมากําหนดเปนความคิดใหม หรือความรูใหม โดยใชวิธีการ ดังนี้
                     - เขียนดวยแผนผังความคิด
                     - เขียนโครงงาน / โครงการ
                     - เขียนบรรยาย / เขียนรายงาน
                     - นําเสนอแนวคิดใหม
                     - นําเสนอรูปแบบนวัตกรรมใหม
               3.3 ประเมินความคิดใหม ผูเรียนออกแบบดําเนินการตรวจสอบความรู ความคิดใหม
ที่ผูเรียนสรางขึ้น โดยใชวิธีการ ดังนี้
                     - อภิปราย
4 

 

                  - ทดสอบผลงาน
                  - ทดสอบความคิดของกลุม
                  - ทดสอบความรู
               3.4 นําความคิดไปใช เปนขั้นตอนที่ผูเรียนใชแนวคิด หรือความรูความเขาใจที่ไดพัฒนาขึ้น
ใหมในสถานการณตาง ๆ จนเกิดการเรียนรูอยางมีความหมาย เปนกิจกรรมที่ตองการใหผูเรียนไดประมวล
องคความรูเพื่อการนําไปใชประโยชน โดยใชวิธการ ดังนี้
                                               ี
                  - สรุปแผนผังความคิดเกียวกับความรูใหม
                                         ่
                  - นําเสนอโครงงาน / โครงการที่ผูเรียนคิดคน / ประดิษฐขึ้น
                  - บรรยายสรุปแนวคิดใหม / การสรางสถานการณใหม
                  - จัดนิทรรศการ / สาธิตผลงานของกลุม
                  - แสดงบทบาทสมมติ / โตวาทีเพื่อสรุปการแกปญหา
       4. สะทอนความคิด /ทบทวน เปนขั้นตอนที่ผูเรียนไดประเมินและพัฒนาความคิดอยางรอบคอบ
และตอเนื่องจนสามารถประเมินผลได ประกอบดวย
               4.1 ประเมินผลงาน
               4.2 เสนอแนะความคิดเห็น เพื่อปรับปรุงและพัฒนา
               4.3 วางแผนเพือพัฒนาอยางตอเนื่อง
                            ่

บทบาทของผูสอน  
         1. เปดโอกาสใหผูเรียนสังเกต เพื่อใหสามารถมองเห็นปญหาไดอยางชัดเจน
         2. มีปฏิสัมพันธกับผูเรียน แนะนํา ถามใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนพบ หรือสรางความรู
ความเขาใจไดดวยตนเอง
         3. สรางแรงจูงใจใฝรูใฝเรียน ชวยใหผูเรียนคิดคนตอไป ฝกใหผูเรียนมีทักษะการทํางาน
เปนกลุม
         4. เปนผูชี้แนะไมใชผูชี้นํา กระตุนใหผูเรียนคิดมากกวาบอกความรู
         5. ประเมินความคิดรวบยอดของผูเรียน ตรวจสอบความคิดและทักษะการคิด

บทบาทของผูเรียน
        1. คนควา แสวงหาความรู ฝกฝนวิธีการเรียนรูดวยตนเอง เปนเจาของบทเรียน ลงมือ
ปฏิบัติจริง
        2. กระตือรือรนในการเรียนรู กลาแสดงออก กลานําเสนอความคิดอยางสรางสรรค
        3. มีปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนดวยกันและกับครูผูสอน รวมแลกเปลี่ยนเรียนรู ยอมรับฟงความ
คิดเห็นของผูอื่น เปนผูนําและผูตามที่ดี
        4. ทํางานรวมกันเปนกลุม
5 

 

    5.   เชื่อมโยงความรูเดิมเขากับความรูใหม มีผลงานที่สรางสรรค
    6.   เคารพกติกาทางสังคม รับผิดชอบตอสวนรวม
    7.   มีเจตคติที่ดตอการเรียนรู รักการอาน กลาซักถาม
                     ี
    8.   บันทึกความรูอยางเปนระบบ นําความรูสูการปฏิบัติไดจริง
6 

 

                                             คําอธิบายรายวิชา
                           รายวิชาเพิ่มเติม การศึกษาคนควาและสรางองคความรู
                              (Research and Knowledge Formation: IS1)

รายวิชาเพิ่มเติม                                         บูรณาการกลุมสาระการเรียนรูตามศักยภาพ I 31201
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4                                             เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หนวยกิต
                                 -------------------------------------------------
         ศึ ก ษา วิ เ คราะห ตั้ ง ประเด็ น /        คํ า ถามเกี่ ย วกั บ สถานการณ ป จ จุ บั น และสั ง คมโลก
การตั้งสมมติฐาน การคนควา การแสวงหาความรูขอมูล การออกแบบ การวางแผนรวบรวมขอมูล การใช
กระบวนการกลุ ม การวิ เ คราะห ข อ มู ล โดยใช ค า สถิ ติ การสั ง เคราะห การสรุ ป องค ค วาม
และการเสนอวิธีคิดแกปญหาที่เปนระบบ
         ฝกทักษะตั้งประเด็นปญหา / ตั้งคําถามเกี่ยวกับสถานการณปจจุบันและสังคมโลก ตั้งสมมติฐาน
และใหเหตุผลที่สนับสนุนหรือโตแยงประเด็นความรู โดยใชความรูจากศาสตรสาขาตาง ๆ และมีทฤษฎี
รองรับ คนควาแสวงหาความรูเกี่ยวกับสมมติฐานที่ตั้งไวจากแหลงเรียนรูทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ ออกแบบ
วางแผนรวบรวมขอมูลและสารสนเทศ วิเคราะหขอมูลโดยใชวิธีการที่เหมาะสม สังเคราะหสรุปองคความรู
และร วมกั นเสนอแนวคิ ด วิ ธี การแก ป ญหาอย างเป นระบบ ด วยกระบวนการคิ ด กระบวนการสื บค นข อมู ล
กระบวนการแกปญหา กระบวนการปฏิบัติและกระบวนการกลุมในการวิพากษ
         เพื่อใหเกิดทักษะในการคนควาแสวงหาความรู สังเคราะหสรุป อภิปรายผลเปรียบเทียบเชื่อมโยง
ความรู ความเปนมาของศาสตร หลักการและวิธีคิดในสิ่งที่ศึกษา และมีทักษะในการนําเสนอผลการศึกษา
คนควาในรูปแบบการเขียนรายงานและอางอิงแหลงที่มาของขอมูลที่นาเชื่อถือ นําองคความรูไปแกปญหา
ไดอยางเปนระบบ เห็นประโยชนและคุณคาของการศึกษาคนควาดวยตนเอง
ผลการเรียนรู
         1. ตั้งประเด็นปญหา จากสถานการณปจจุบันและสังคมโลก
                                              
         2. ตั้งสมมติฐานและใหเหตุผลที่สนับสนุนหรือโตแยงประเด็นความรูโดยใชความรูจากสาขาวิชา
ตาง ๆ และมีทฤษฎีรองรับ
         3. ออกแบบ วางแผน ใชกระบวนการรวบรวมขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ
         4. ศึกษา คนควา แสวงหาความรูเกี่ยวกับประเด็นที่เลือก จากแหลงเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ
         5. ตรวจสอบความนาเชื่อถือของแหลงที่มาของขอมูล
         6. วิเคราะหขอคนพบดวยวิธการที่เหมาะสม
                                    ี
         7. สังเคราะหสรุปองคความรูดวยกระบวนการกลุม
         8. เสนอแนวคิด การแกปญหาอยางเปนระบบดวยองคความรูจากการคนพบแผนการทํางานของ
นักเรียน
7 

 

                          โครงสรางรายวิชาเพิ่มเติมการศึกษาคนควาและสรางองคความรู
                                            ระดับมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยที่    ชื่อหนวยการเรียนรู             ผลการเรียนรู                    สาระสําคัญ              เวลา     น้ําหนักคะแนน

    1      จุดประกายความจริง         1. ตั้ ง ประเด็ น ป ญ หา จาก       - การตั้ ง ปร ะเด็ น         5-9           15
                                     สถานการณ ป จ จุ บั น และ          คํ า ถ า ม เ กี่ ย ว กั บ
                                     สังคมโลก                            สถานการณปจจุบัน
                                     2. ตั้ ง ส มมติ ฐ านและให          และสังคมโลก
                                     เหตุ ผ ลที่ ส นั บ สนุ น หรื อ      - การตั้ ง สมมติ ฐ าน
                                     โตแยงประเด็นความรูโดยใช         และให เ หตุ ผ ลโดย
                                     ความรู จ ากสาขาวิ ช าต า ง ๆ      ใ ช ค ว า ม รู จ า ก
                                     และมีทฤษฎีรองรับ                    ศาสตรสาขาตางๆ
                                     3. ออกแบบ วางแผน ใช                - การออกแบบการ
                                     กระบวนการรวบรวมขอมูล               เรี ย นรู โ ดยมี ท ฤษฎี
                                     อยางมีประสิทธิภาพ                  รองรับ
    2      ทุกสิ่งที่คนควา
                                    4. ศึ ก ษา ค น คว า แสวงหา        -ก า ร ค น ค ว า          10 - 15        20
                                     ความรู เ กี่ ย วกั บ ประเด็ น      แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู
                                     ที่เลือ ก จากแหลงเรีย นรูที่มี    เกี่ ย วกั บ สมมติ ฐ าน
                                     ประสิทธิภาพ                         จากแหล ง ปฐมภู มิ
                                     5. ตรวจสอบความนาเชื่อถือ           ทุ ติ ย ภู มิ แ ล ะ
                                     ของแหลงที่มาของขอมูล              สารสนเทศ
    3      ปรารถนาคําตอบ             5.ตรวจสอบความนาเชื่อถือ            - ตรวจสอบความ               10 - 15        25
                                     ของแหลงที่มาของขอมูลได           น า เ ชื่ อ ถื อ ข อ ง
                                     6. วิ เ คราะห ข อ ค น พบด ว ย   แ ห ล ง ที่ ม า ข อ ง
                                     สถิติที่เหมาะสม                     ขอมูล
                                                                         - วิ เ ค ร า ะ ห
                                                                         ความนาเชื่อถือของ
                                                                         แหลงเรียนรู
    4      ส รุ ป อ ง ค ป ร ะ ก อ บ 7. สังเคราะหสรุปองคความรู        - เ ป รี ย บ เ ที ย บ /     15 - 21        40
           ที่สมบูรณ                ดวยกระบวนการกลุม                  เชื่ อ ม โ ย ง / ส รุ ป
                                     8. เส นอแนวคิ ด การแก              อ ง ค ค ว า ม รู ด ว ย
                                     ป ญ หาอย า งเป น ระบบด ว ย      กระบวนการ
                                     องค ค วามรู จ ากการค น พบ        อยางเปนระบบ
                                     แผนการทํางานของนักเรียน
                                            รวม                                                      40 - 60       100
8 

 

                                             การออกแบบหนวยการเรียนรู
                                                 หนวยการเรียนรูที่ 1
ชื่อหนวยการเรียนรู จุดประกายความจริง รายวิชาเพิ่มเติม การศึกษาคนควาและการสรางองคความรู
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย               เวลา 5 ชั่วโมง
เปาหมายการเรียนรู (ผลการเรียนรู)
 1. ตั้งประเด็นปญหา จากสถานการณปจจุบันและสังคมโลก
 2. ตั้งสมมติฐานและใหเหตุผลที่สนับสนุนหรือโตแยงประเด็นความรูโดยใชความรูจากสาขาวิชาตาง ๆ และมีทฤษฎี
รองรับ
 3. ออกแบบ วางแผน ใชกระบวนการรวบรวมขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ
ความเขาใจที่คงทน (สาระสําคัญ / ความคิดรวบยอด) คําถามสําคัญ
 - การตั้งประเด็นคําถามเกี่ยวกับสถานการณปจจุบัน - จะตั้งประเด็นคําถามเกี่ยวกับสถานการณปจจุบันและสังคม
และสังคมโลก                                            โลกไดอยางไร
 - การตั้งสมมติฐานและใหเหตุผลโดยใชความรูจาก - จะตั้งสมมติฐานและใหเหตุผลโดยใชความรูจากศาสตรสาขา
ศาสตรสาขาตาง ๆ                                       ตาง ๆ ไดอยางไร
 - การออกแบบ วางแผน กระบวนการรวบรวมขอมูล               - จะออกแบบวางแผน ใชกระบวนการรวบรวมขอมูลได
                                                       อยางไร
ผูเรียนรูอะไร (สาระการเรียนรู)                      ผูเรียนทําอะไรได (ทักษะ / กระบวนการ)
 - การตั้งประเด็นคําถามเกี่ยวกับสถานการณและ -                        ตั้ ง ประเด็ น คํ า ถามที่ เ กี่ ย วกั บ สถานการณ แ ละ
สังคมโลก                                               สังคมโลก
 - การตั้งสมมติฐาน                                        - ตั้งสมมติฐาน
 - การออกแบบ วางแผน กระบวนการรวบรวมขอมูล                 - ออกแบบ วางแผน กระบวนการรวบรวมขอมูล
                                                          - ทํ า ง า น ร ว ม กั บ ผู อื่ น ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ลุ ม
                                                        - ตรวจสอบการตั้ ง ประเด็ น คํ า ถาม การตั้ ง สมมติ ฐ านการ
                                                       ออกแบบ วางแผน กระบวนการรวบรวมขอมูล
                                                        - วิพากษการตั้งประเด็นคําถาม การตั้งสมมติฐาน
                                                       การออกแบบ วางแผน กระบวนการรวบรวมขอมูล
                                                       ของผูอื่น
                                                        - นําขอวิพากษมาปรับปรุงงานงานของตน
                                                        - นํ า ข อ มู ล ม า อ อ ก แ บ บ ว า ง แ ผ น ร ว บ ร ว ม ข อ มู ล
                                                       ตามกระบวนการ
คุณลักษณะอันพึงประสงค
 1. ใฝเรียนรู
 2. มุงมั่นในการทํางาน
 3. จิตสาธารณะ
9 

 

                                        การออกแบบการวัดผลประเมินผล
ภาระงานรวบยอด / ชิ้นงาน
   ออกแบบ วางแผนกระบวนการรวบรวมขอมูลรายบุคคล
เกณฑการประเมินภาระงาน / ชิ้นงาน (ระบุประเด็นประเมิน)
 - ความครบถวนสมบูรณของขอมูล
 - กระบวนการรวบรวมมีระบบชัดเจน สะดวกตอการใช ตรวจสอบได
รองรอยการเรียนรูอื่น ๆ
   - แบบบันทึกตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการตั้งประเด็นคําถาม / การตั้งสมมติฐาน
   - แบบบันทึกการออกแบบ วางแผนกระบวนการรวบรวมขอมูล
   - แบบบันทึกเกี่ยวกับกระบวนการทํางาน
                                                   การวางแผนการเรียนรู
กิจกรรมการเรียนรู
 นักเรียนจะ
   1. ครูนําเสนอตัวอยางประเด็นความรูจากสถานการณปจจุบันและสังคมโลก
                                                          
   2. นักเรียนรวมกันวิเคราะหประเด็นความรูที่มีความเชื่อมโยงในศาสตรหลายสาขาที่เกี่ยวของกับสถานการณปจจุบันและ
สังคมโลกที่มีความทาทาย
   3. ตั้งสมมติฐาน และขอสันนิษฐานของประเด็นความรูที่สนใจ
   4. ครูตั้งคําถามกระตุนใหนักเรียน แสดงความคิดที่หลากหลายตางมุม โดยใชสาขาวิชาตาง ๆ ใชวิธีการสนับสนุนหรือ
โตแยงคัดคาน และใหเหตุผลตามความรูของศาสตรที่มี
   5. แบงกลุมนักเรียนคนควาขอมูลเพิ่มเติมจากแหลงเรียนรู วิธีการออกแบบ วางแผนเก็บรวบรวมขอมูลอยางเปนระบบ
   6. รวมกันอภิปรายวิธีการออกแบบ วางแผนเก็บรวบรวมขอมูลที่หลากหาย
   7. รวมกันสรุปวิธีการออกแบบ วางแผนเก็บรวบรวมขอมูลของกลุมและนําเสนอ
   8. รวมตรวจสอบการออกแบบ วางแผนกระบวนการรวบรวมขอมูลของแตละกลุม
   9. วิพากษการออกแบบ วางแผนกระบวนการรวบรวมขอมูล
 10. นําขอวิพากษมาปรับปรุงงานงานของตน
   11. นําแนวทางการออกแบบวางแผน รวบรวมขอมูลตามกระบวนการมาจัดทํารายบุคคล
สื่อ / แหลงเรียนรู
   1. ตัวอยางการเขียนประเด็นความรูจากสถานการณปจจุบันและสังคมโลก การเขียนสมมติฐาน
   2. แหลงคนควาอางอิง เชน อินเทอรเน็ต หนังสือ บุคคล ฯลฯ
   3. ตัวอยางการออกแบบวางแผนรวบรวมขอมูล
10 

 

                                                   หนวยการเรียนรูที่ 2

ชื่อหนวยการเรียนรู ทุกสิ่งที่คนควา รายวิชาเพิ่มเติม การศึกษาคนควาและการสรางองคความรู
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย                 เวลา 10 ชั่วโมง
เปาหมายการเรียนรู (ผลการเรียนรู)
 4. ศึกษา คนควา แสวงหาความรูเกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหลงเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ
 5. ตรวจสอบความนาเชื่อถือของแหลงที่มาของขอมูล
ความเขาใจที่คงทน (สาระสําคัญ / ความคิดรวบยอด) คําถามสําคัญ
   การคน คว าแสวงหาความรูเ กี่ย วกั บ สมมติฐ านจาก - จะแสวงหาวิธีการคนควา หาความรูและสารสนเทศจาก
แหลงปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และสารสนเทศจากแหลงเรียนรู แหลงปฐมภูมิไดอยางไร
ที่หลากหลายไดอยางมีประสิทธิภาพ                             - จะแสวงหาวิ ธี ก ารค น คว า หาความรู แ ละสารสนเทศจาก
                                                          แหลงทุติภูมิไดอยางไร
                                                             - จะแสวงหาวิ ธี ก ารค น คว า หาความรู แ ละสารสนเทศจาก
                                                          แหลงเรียนรูที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพไดอยางไร
ผูเรียนรูอะไร (สาระการเรียนรู)                         ผูเรียนทําอะไรได (ทักษะ / กระบวนการ)
    - วิธีการคนควา แสวงหาความรูเกี่ยวกับสมมติฐาน          - คนควา แสวงหาความรูเกี่ยวกับสมมติฐาน
    - การหาความรูและสารสนเทศจากแหลงปฐมภูมิและ -                     แสวงหาความรู แ ละสารสนเทศจากแหล ง ปฐมภู มิ
ทุติยภูมิ                                                 และทุติยภูมิ
    - วิธีการตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล                 - ตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล
    - ลักษณะของขอมูล สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ               - ทํ า ง า น ร ว ม กั บ ผู อื่ น ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ลุ ม
                                                           - วิพากษความนาเชื่อถือของขอมูล
                                                             - นําขอวิพากษมาปรับปรุงงานงานของตน
                                                             - นํ า แนวทางการแสวงหาข อ มู ล สารสนเทศ ความรู
                                                          ที่เกี่ยวของกับสมมติฐานไปรวบรวมขอมูล
คุณลักษณะอันพึงประสงค
 1. มีวินัย
 2. ใฝเรียนรู
 3. มุงมั่นในการทํางาน
                                              การออกแบบการวัดผลประเมินผล
ภาระงานรวบยอด / ชิ้นงาน
   แฟมงานรวบรวมความรู / สารสนเทศเกี่ยวกับสมมติฐานรายบุคคล
เกณฑการประเมินภาระงาน / ชิ้นงาน(ระบุประเด็นประเมิน)
 - ความนาเชื่อถือขอมูล
 - กระบวนการรวบรวมมีระบบชัดเจน สะดวกตอการใช ตรวจสอบได
11 

 

รองรอยการเรียนรูอื่น ๆ
 - แบบบันทึกตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการรวบรวมขอมูล
 - แบบบันทึกการตรวจสอบคุณภาพของขอมูล
 - แบบบันทึกเกี่ยวกับกระบวนการทํางาน
                                                 การวางแผนการเรียนรู
กิจกรรมการเรียนรู
 นักเรียนจะ
   1. ศึกษาวิธีการคนควา / แสวงหาความรูเกี่ยวกับสมมติฐานจากแหลงปฐมภูมิและทุติยภูมิตามแผนที่วางไว
   2. ตรวจสอบความครบถวนของขอมูล / สารสนเทศ
   3. คนควาขอมูล / สารสนเทศในเรื่องเดียวกันจากแหลงขอมูลที่หลากหลาย
   4. ฝกทักษะการตรวจสอบขอมูล / สารสนเทศ ดวยตนเอง
   5. จัดหมวดหมูขอมูล / สารสนเทศ เรียงลําดับตามที่วางแผนใหเปนระบบ
   6. ตรวจทาน / วิพากษนําผลไปปรับปรุงขอมูล / สารสนเทศรายบุคคล
   7. เผยแพร แลกเปลี่ยนเรียนรู
สื่อ / แหลงเรียนรู
   1. ตัวอยางแฟมงานการจัดเก็บขอมูล / สารสนเทศ
   2. แหลงคนควาอางอิง เชน อินเทอรเน็ต หนังสือ บุคคล ฯลฯ
   3. แผนการเก็บรวมรวมขอมูล / สารสนเทศรายบุคคล
12 

 

                                                  หนวยการเรียนรูที่ 3

ชื่อหนวยการเรียนรู ปรารถนาคําตอบ รายวิชาเพิ่มเติม การศึกษาคนควาและการสรางองคความรู
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย                เวลา 10 ชั่วโมง
เปาหมายการเรียนรู(ผลการเรียนรู)
 5. ตรวจสอบความนาเชื่อถือของแหลงที่มาของขอมูลได
 6. วิเคราะหขอคนพบดวยวิธีการที่เหมาะสม
ความเขาใจที่คงทน (สาระสําคัญ / ความคิดรวบยอด) คําถามสําคัญ
   การตรวจสอบความน า เชื่ อ ถื อ ของแหล ง ที่ ม าของ - จะตรวจสอบความน า เชื่ อ ถื อ ของแหล งที่ ม าของข อ มูล ได
ขอมูลนํามาวิเคราะหดวยวิธีการที่เหมาะสมจะชวยให อยางไร
คนพบขอมูลที่มีความนาเชื่อถือ                           - จะใชวิธีการใดวิเคราะหขอมูลจึงจะเหมาะสม
                                                          - วิเคราะหขอมูลอยางไรจึงจะไดขอมูลที่นาเชื่อถือ
ผูเรียนรูอะไร (สาระการเรียนรู)                      ผูเรียนทําอะไรได (ทักษะ / กระบวนการ)
    - แหลงขอมูลที่ดีและนาเชื่อถือ                      - ตรวจสอบความนาเชื่อถือของแหลงที่มาของขอมูล
    - วิธีการที่ใชวิเคราะหขอมูล                        - รวบรวมขอมูลที่จะนํามาวิเคราะห
    - เทคนิคการวิเคราะหขอมูล                            - เลือกวิธีการที่เหมาะสมนํามาวิเคราะหขอมูล
                                                          - วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมที่เหมาะสม
                                                          - ทํ า ง า น ร ว ม กั บ ผู อื่ น ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ลุ ม
                                                        - ตรวจสอบ / วิพากษความนาเชื่อถือของการวิเคราะหขอมูล
                                                          - นําขอวิพากษมาปรับปรุงงานของตน
                                                          - นําผลการวิเคราะหขอมูล / สารสนเทศ ความรูที่เกี่ยวของกับ
                                                       สมมติฐาน ไปสังเคราะหสรุปเปนองคความรู
คุณลักษณะอันพึงประสงค
 1. มีวินัย
 2. ซื่อสัตย
 3. ใฝเรียนรู
 4. มุงมั่นในการทํางาน
 5. จิตสาธารณะ
                                           การออกแบบการวัดผลประเมินผล
ภาระงานรวบยอด / ชิ้นงาน
 ผลการวิเคราะหขอมูลรายบุคคล
เกณฑการประเมินภาระงาน / ชิ้นงาน (ระบุประเด็นประเมิน)
 - ความนาเชื่อถือของแหลงขอมูล
 - ความถูกตอง / ครบถวนสมบูรณของขอมูล / สารสนเทศ
 - กระบวนการรวบรวมมีระบบชัดเจน สะดวกตอการใช ตรวจสอบได
13 

 

รองรอยการเรียนรูอื่น ๆ
   - แบบบันทึกตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการรวบรวมขอมูล
   - แบบบันทึกการตรวจสอบคุณภาพแหลงที่มาของขอมูล
   - แบบบันทึกเกี่ยวกับกระบวนการทํางาน
   - แบบบันทึกการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม
                                                   การวางแผนการเรียนรู
กิจกรรมการเรียนรู
 นักเรียนจะ
   1. ศึกษาเทคนิคการตรวจสอบความนาเชื่อของขอมูล
   2. ตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล
   3. รวบรวมขอมูลใหเปนระบบ เตรียมขอมูลวิเคราะห
   4. เลือกวิธีการที่เหมาะสมกับขอมูลที่วิเคราะห
   5. วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม
   6. รวมกันตรวจสอบผลการวิเคราะหขอมูล
   7. วิพากษผลการวิเคราะหขอมูลจากการตรวจสอบ
   8. นําผลการวิพากษผลการวิเคราะหขอมูลมาปรับ / พัฒนา
   9. รวบรวมผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อนําไปสังเคราะหสรุปเปนองคความรู
สื่อ / แหลงเรียนรู
   1. แหลงคนควาอางอิง เชน อินเทอรเน็ต หนังสือ บุคคล ฯลฯ
   2. เครื่องคอมพิวเตอร
14 

 

                                            หนวยการเรียนรูที่ 4
ชื่อหนวยการเรียนรู สรุปองคประกอบที่สมบูรณ รายวิชาเพิ่มเติม การศึกษาคนควาและการสรางองคความรู
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย                         เวลา 10 ชั่วโมง
เปาหมายการเรียนรู (ผลการเรียนรู)
    7. สังเคราะหสรุปองคความรูดวยกระบวนการกลุม
    8. เสนอแนวคิด การแกปญหาอยางเปนระบบดวยองคความรูจากการคนพบแผนการทํางานของนักเรียน
ความเขาใจที่คงทน (สาระสําคัญ / ความคิดรวบยอด) คําถามสําคัญ
      การสั งเคราะห สรุ ป องค ค วามรูด วยกระบวนการ - จะสรุปองคความรูไดอยางไร
กลุม การเสนอแนวคิด การแกปญ หาอยา งเปน ระบบ - จะนําเสนอแนวคิด การแกปญหาอยางเปนระบบไดอยางไร
ด                            ว                          ย - จะนําองคความรูไปถายทอดเปนงานเขียนไดอยางไร
องคความรูจากการคนพบแผนการทํางานของนักเรียน
ผูเรียนรูอะไร (สาระการเรียนรู)                            ผูเรียนทําอะไรได (ทักษะ / กระบวนการ)
    - การอานจับใจความสําคัญ                                    - การอานจับใจความสําคัญ
    - การเขียนสรุปความ                                          - การเขียนสรุปความ
    - การเขียนความเรียง                                         - การเขียนความเรียง
    - การเสนอแนวคิด การแกปญหาอยางเปนระบบ                    - การเสนอแนวคิด การแกปญหาอยางเปนระบบ
คุณลักษณะอันพึงประสงค
 1. วินัย
 2. ใฝเรียนรู
 3. มุงมั่นในการทํางาน
 4. รักความเปนไทย
 5. จิตสาธารณะ
                                               การออกแบบการวัดผลประเมินผล
ภาระงานรวบยอด / ชิ้นงาน
 การสังเคราะห สรุปองคความรูดวยกระบวนการกลุม
เกณฑการประเมินภาระงาน / ชิ้นงาน (ระบุประเด็นประเมิน)
    - ความถูกตอง / ครบถวนสมบูรณของขอมูล / สารสนเทศ
    - ความถูกตองและนาเชื่อถือของขอคนพบที่นําเสนอ
    - กระบวนการรวบรวมมีระบบชัดเจน
รองรอยการเรียนรูอ่น ๆ
                     ื
    - แบบบันทึกตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการสังเคราะหสรุปองคความรู
    - แบบบันทึกเกี่ยวกับกระบวนการทํางาน
                                                    การวางแผนการเรียนรู
กิจกรรมการเรียนรู
 นักเรียนจะ
    1. ฝกทักษะการอานจับใจความสําคัญ
    2. ฝกทักษะการเขียนสรุปความ
    3. ฝกทักษะการเขียนความเรียง
 4. สังเคราะห สรุปองคความรูดวยกระบวนการกลุม
 5. เสนอแนวคิด การแกปญหาอยางเปนระบบดวยองคความรูจากการคนพบแผนการทํางานของนักเรียน
 6. อภิปรายและสรุปองคความรูที่ไดจากการศึกษาคนควา
สื่อ / แหลงเรียนรู
   แหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต ฯลฯ
15 

 

2. รายวิชาเพิ่มเติมการสื่อสารและการนําเสนอ (Communication and Presentation: IS2)

           รายวิชาเพิ่มเติมการสื่อสารและการนําเสนอ (Communication and Presentation: IS2) เปนสาระ
การเรียนรูที่จัดการเรียนการสอนเพื่อใหผูเรียนนําขอสรุป ขอคนพบใหม ความคิดใหม หรือองคความรูใหม
ที่ได จากการศึ กษาศึกษาคนควาและการสรางองคความรูในสิ่งที่สนใจแลวเรียบเรีย งนําเสนอความคิ ด
ขอคิดเห็น และขอเสนอเชิงวิชาการ โดยใชภาษาอยางถูกตอง และนําเสนอองคความรูดวยดวยวิธีการที่
หลากหลายและเหมาะสม
           การจัดการเรียนรูรายวิชาเพิ่มเติมการสื่อสารและการนําเสนอมีวัตถุประสงค เพื่อใหผูเรียนสามารถ
สื่อสารและนําเสนอขอคนพบ ขอสรุป หรือองคความรู ที่ไดจากการศึกษาคนควา ดวยวิธีการที่หลากหลาย
และเหมาะสม

แนวการจัดการเรียนรู
            ครูผูสอนจะต องให ค วามสําคัญกับ “การจั ดโครงร างของผลงาน” เนื่ อ งจากจะช วยใหผูเ รี ย น
จัดลําดับเนื้อหาของการเขียนรายงานการคนควาและการนําเสนอไดดี โดยดําเนินการ ดังนี้
           1. การรายงานการคนควาของผูเรียน ใหผูเรียนนําหัวขอเรื่องจากขอคนพบ ขอสรุป ความคิดใหม
องคความรูใหมที่ตนเองสนใจเรียนรู เปนขอมูลในการนําเสนอ จากนั้นครูจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนมี
ความรูความเขาใจเกี่ยวกับ
                - การเรียบเรียงหัวขอการศึกษาคนควา (Research Question)
                - แหลงคนควา / แหลงการเรียนรู
                - การกําหนด / เขียนโครงราง (Outline)
          2. การกํ า หนดโครงร า งของผลงาน การเขี ย นรายงานการค น คว า หาความรู จ ากแหล ง
การเรียนรูเกี่ยวกับหัวขอเรื่องที่ผูเรียนไดเลือกอยางอิสระ จะตองประกอบดวยองคประกอบ 3 สวน ไดแก
คํานํา (Introduction) เนื้อเรื่อง (Body /Development) และบทสรุป (Conclusion)
          3.        การนํ า เสนอการนํ า เสนองาน เป น ทั ก ษะที่ มี ค วามสํ า คั ญ อย า งยิ่ ง สํ า หรั บ การนํ า เสนอ
ผลการศึกษาคนควา ตามองคประกอบ 3 ประการ ไดแก
                3.1 การกําหนดวัตถุประสงคและวิเคราะหผูฟง
                3.2 การวางโครงสรางเนื้อหาการนําเสนอ
                3.3 วิธการนําเสนอ
                       ี
                การวิเคราะหผูฟง เปนการวิเคราะหความตองการ ความสนใจ หรือความกังวลใจของผูฟง
รวมถึงความเขาใจในสไตล ความชอบของผูฟง เพื่อใหสามารถออกแบบโครงสรางและเนื้อหาการนําเสนอ
รวมทั้งการใชส่อประกอบที่มีความเหมาะสม สอดคลองและถูกใจผูฟง
                  ื
16 

 

บทบาทของผูสอน 
          1. สงเสริม กระตุน สนับสนุน ชี้แนะใหผูเรียนรูจักวิธีการคิด คนควาเกี่ยวกับหัวขอ / เรื่องที่ผูเรียน
เลือกคนควา
          2. ชวยเหลือ แนะนําผูเรียนในการคนควาความรูจากแหลงเรียนรูตาง ๆ
          3. ชวยเหลือแนะนําผูเรียนสามารถเขียนรายงานการคนควาไดอยางถูกตองตามเกณฑกาหนด      ํ
          4. การนําเสนอ ครูควรดําเนินการ ดังนี้
              4.1 นําเสนอดวยสื่อรูปธรรม เชน รูปภาพ ของจริง กราฟ ตาราง แผนภูมิ ภาพสัญลักษณ สื่อ
วัสดุอุปกรณตาง ๆ แลวใหผูเรียนไดพรรณนาถึงสิ่งที่พบ
              4.2 ควรใชคําถามที่ชวยกระตุนใหผูเรียนไดคิดอยางหลากหลายและคิดอยางสรางสรรค
สามารถอธิบายความคิดของตนออกมา ดวยการพูด การเขียน และใหผูเรียนไดต้ังคําถามและหาคําตอบดวย
ตนเองตามความสนใจ
              4.3 เปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงแนวคิดของตนเอง
              4.4 จัดกลุมใหผูเรียนไดรวมมือและชวยเหลือกันในการเรียนรู เพื่อชวยสงเสริมใหเกิดการ
สื่อสารในรูปแบบของการอธิบายแนวคิดและการอภิปรายในกลุม
              4.5 ใชการชี้แนะทางตรงและชี้แนะทางออม เพื่อชวยใหผูเรียนเกิดความเขาใจ และเห็น
เปาหมายที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
บทบาทของผูเรียน
      1. กําหนดแผนการทํางาน วันสงงาน และการศึกษาคนควาจากแหลงคนควา รวมทั้ง
การวางแผนการเขียนเรียบเรียงผลงาน
      2. ศึกษาและฝกการเขียนรายงานเชิงวิชาการแตละองคประกอบใหถูกตองสมบูรณ
         3. เรียบเรียง รวบรวมโครงราง (Rough draft) ของรายงานใหครบองคประกอบ และฝกการ
ตรวจสอบ (Edit) รายงานโดยใชสญลักษณในการตรวจสอบ
                               ั
         4. จัดทําสื่อประกอบการนําเสนอ และเลือกวิธีการนําเสนอที่เหมาะสมกับผูอาน/ผูฟง
17 

 

                              คําอธิบายรายวิชาการสื่อสารและการนําเสนอ
                               (Communication and Presentation: IS2)

รายวิชาเพิ่มเติม              ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4                                    จํ า นวน 1.5 หน ว ยกิ ต
                                         -------------------------------------------------

           ศึกษา เรียบเรียงและถายทอดความคิดอยางสรางสรรคจากรายวิชา IS1 (Research and Knowledge
Formation)                 เกี่ ย วกั บ สถานการณ ป จ จุ บั น และสั ง คมโลก โดยเขี ย นโครงร า ง บทนํ า
เนื้อเรื่อง สรุป ในรูปของรายงานการศึกษาคนควาเชิงวิชาการเปนภาษาไทยความยาว จํานวน 4,000 คํา หรือ
เปนภาษาอังกฤษ ความยาว 2,000 คํา มีการอางอิงแหลงความรูที่เชื่อถือไดอยางหลากหลายเชื่อถือได ทั้งใน
ประเทศและตางประเทศ เรียบเรียงและถายทอดสื่อสาร นําเสนอความคิดอยางชัดเจน เปนระบบ มีการ
นําเสนอในรูปแบบเดี่ยว (Oral individual) หรือกลุม (Oral panel presentation) โดยใชสื่อเทคโนโลยีที่
หลากหลาย และมีการเผยแพรผลงานสูสาธารณะ เพื่อใหเกิดทักษะ ในการเขียนรายงานเชิงวิชาการ และ
ทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เห็นประโยชนและคุณคาในการสรางสรรคงานและถายทอดสิ่งที่เรียนรู
ใหเปนประโยชนแกสาธารณะ

ผลการเรียนรู
         1. วางโครงรางการเขียนตามหลักเกณฑ องคประกอบและวิธีการเขียนโครงราง
         2. เขียนรายงานการศึกษาคนควาเชิงวิชาการเปนภาษาไทยความยาว 4,000 คํา หรือ
ภาษาอังกฤษ ความยาว 2,500 คํา
         3. นําเสนอขอคนพบ ขอสรุปจากประเด็นที่เลือกในรูปแบบเดี่ยว (Oral individual presentation)
หรือกลุม (Oral panel presentation) โดยใชสื่อเทคโนโลยีที่หลากหลาย
         4. เผยแพรผลงานสูสาธารณะ โดยใชการสนทนา / วิพากษผานสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน
e-conference, social media online
         5. เห็นประโยชนและคุณคาการสรางสรรคงานและถายทอดสิ่งที่เรียนรูใหเปนประโยชน
18 

  

                                 โครงสรางรายวิชาเพิ่มเติมการสื่อสารและการนําเสนอ
                                              ระดับมัธยมศึกษาปที่ 4

หนวยที่ ชื่อหนวยการเรียนรู           ผลการเรียนรู                        สาระสําคัญ                      ชั่วโมง น้ําหนักคะแนน
     1    ฝ ก ซ อ ม เ ขี ย น    1.วางโครงรางการเขียน          การฝ ก เขี ย นโครงร า งรายงาน             6/8          20
          โครงราง                ต า ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ          เชิงวิชาการซึ่งมีองคประกอบดวย
                                  องคประกอบและวิธีการ           ชื่ อ เรื่ อ ง ความนํ า วั ต ถุ ป ระสงค
                                  เขียนโครงราง                  สมมุ ติ ฐ าน ขอบเขตการศึ ก ษา
                                                                 เนื้อหา วิธีการศึกษาและการเก็บ
                                                                 รวบรวมข อ มู ล เป น การวาง
                                                                 แผนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ
                                                                 อ ย า ง เ ป น ร ะ บ บ แ ล ะ ก า ร
                                                                 ตรวจสอบทั้ ง ด ว ยตนเอง และ
                                                                 เพื่ อ นช ว ย ต ร ว จ ส อ บ โ ด ย ใ ช
                                                                 สัญ ลัก ษณในการตรวจสอบชวย
                                                                 ใหรายงานเชิงวิชาการนั้นถูกตอง
                                                                 แมนยําและสมบูรณยิ่งขึ้น
     2    สรางผลงานเขียน 2. เขียนรายงานการศึกษา                 การถ า ยโอนองค ค วามรู จ าก             18 / 28       40
                          คน คว า เชิ ง วิ ช าการภาษา          การศึกษา คนควา และขอคนพบ
                          ไทย ความยาว 4,000 คํ า                 โดยการรายงานที่ใชรูปแบบการ
                          ห รื อ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ              เขียนรายงานเชิงวิชาการไดครบ
                          ความยาว 2,500 คํา                      องค ป ระกอบและถู ก ต อ งตาม
                                                                 หลัก วิ ช าการเป น การสื่ อ สารที่ มี
                                                                 ประสิทธิภาพ
     3    เพียรนําเสนอ           3. นํ า เ ส น อ ข อ ค น พ บ   การนําเสนอผลงานจากการศึกษา                 12 / 20       30
                                 ข อ สรุ ป จากประเด็ น ที่      คนควา ขอคนพบโดยมีการเตรียม
                                 เลื อ กในรู ป แบบเดี่ ย ว       ค ว า ม พ ร อ ม ข อ ง ผู นํ า เ ส น อ
                                 (Oral             individual    การเลื อ กรู ป แบบประเภทสื่ อ
                                 presentation) หรือกลุม         ป ร ะ ก อ บ ก า ร นํ า เ ส น อ ใ ห
                                 (Oral panel presentation)       เหมาะสม และสอดคลองกับตาม
                                 โดยใช สื่ อ เทคโนโลยี ที่      ความตองการ ความสนใจ ความ
                                 หลากหลาย                        ชื่ น ชอบ ของผู ฟ ง ช ว ยให ก าร
                                                                 เ ผ ย แ พ ร ผ ล ง า น ไ ด อ ย า ง มี
                                                                 ประสิทธิผล
     4    Show and Share         5. เห็นประโยชนและ              การเผยแพร ผ ลงานการเขี ย น                 4/4          10
                                 คุณคาในการสรางสรรค           รายงานการค น คว า ด ว ยการจั ด
                                 งานและถายทอดสิ่งที่            นิทรรศการ / เผยแพรดวยวิธีการที่
                                 เรียนรูแกสาธารณะ              หลากหลาย
                                               รวม                                                          40 / 60 100
19 

 

                                              การออกแบบหนวยการเรียนรู
                                                  หนวยการเรียนรูที่ 1
    ชื่อหนวยการเรียนรู เขียนโครงราง            รายวิชาเพิ่มเติม การสื่อสารและการนําเสนอ
    ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย                      เวลา 6 ชั่วโมง
    เปาหมายการเรียนรู (ผลการเรียนรู)
        1. วางโครงรางการเขียนตามหลักเกณฑ องคประกอบและวิธีการเขียนโครงราง
    ความเขาใจที่คงทน (สาระสําคัญ / ความคิดรวบยอด)                  คําถามสําคัญ
        การเขียนโครงรางรายงานเชิงวิชาการ มีองคประกอบคือ - การเขียนโครงรางรายงานเชิงวิชาการ
    ชื่ อ เรื่ อ ง ความนํ า วั ต ถุ ป ระสงค สมมุ ติ ฐ าน ขอบเขต มีองคประกอบอยางไร
    การศึกษา เนื้อหา วิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมขอมูล - การเขียนโครงรางรายงานเชิงวิชาการ
    เปนการวางแผนการเขียนรายงานเชิงวิชาการอยางเปนระบบ ที่สมบูรณมีลักษณะอยางไร
    และการตรวจสอบทั้งดวยตนเอง และเพื่อนชวยตรวจสอบ
    โดยใช สั ญ ลั ก ษณ ใ นการตรวจสอบช ว ยให ร ายงานเชิ ง
    วิชาการนั้นถูกตองแมนยําและสมบูรณยิ่งขึ้น
    ผูเรียนรูอะไร (สาระการเรียนรู)                               ผูเรียนทําอะไรได (ทักษะ / ทักษะกระบวนการ)
         การวางโครงรางการเขียนรายงานเชิงวิชาการ                        - เขียนโครงรางรายงานเชิงวิชาการ
          - องคประกอบของโครงราง                                      - ทํางานรวมกับผูอื่นตามกระบวนการกลุม
          - ชื่อเรื่อง                                                 - ตรวจสอบงานเขียนโครงรางเชิงวิชาการ
          - ความนํา                                                     - วิพากษงานเขียนโครงรางของผูอื่น
          - วัตถุประสงค                                               - นําขอวิพากษมาปรับปรุงงานเขียนโครงราง
          - สมมุติฐาน                                               ของตน
          - ขอบเขตการศึกษาคนควา
          - เนื้อเรื่อง
          - วิธีการศึกษาและรวบรวมขอมูล
    คุณลักษณะที่พึงประสงค
        1. มีวินัย
        2. ใฝเรียนรู
        3. มุงมั่นในการทํางาน
                                                  การออกแบบการวัดผลประเมินผล
    ภาระงานรวบยอด / ชิ้นงาน
        โครงรางรายงานเชิงวิชาการฉบับสมบูรณ
    เกณฑการประเมินภาระงาน / ชิ้นงาน (ระบุประเด็นประเมิน)
     - ความครบถวนขององคประกอบโครงรางรายงานเชิงวิชาการ
     - ความถูกตองสมบูรณของโครงรางรายงานเชิงวิชาการ
20 

 

    รองรอยการเรียนรูอื่น ๆ
        - แบบบันทึกตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการตรวจสอบ / วิพากษ
        - แบบบันทึกการประเมินการเขียนโครงรางรายงานเชิงวิชาการ
        - แบบบันทึกเกี่ยวกับกระบวนการทํางาน
                                                      การวางแผนการเรียนรู
    กิจกรรมการเรียนรู
       นักเรียนจะ
        1. ศึกษาวิธีเขียนองคประกอบโครงรางรายงานเชิงวิชาการฉบับสมบูรณ
        2. รวมกันฝกเขียนองคประกอบโครงรางรายงานเชิงวิชาการ
        3. กลุมอภิปรายการเขียนองคประกอบโครงรางรายงานเชิงวิชาการ
        4. สรุปผลการอภิปรายการเขียนองคประกอบโครงรางรายงานเชิงวิชาการของกลุมเตรียมนําเสนอ
        5. กลุมนําเสนอโครงรางรายงานเชิงวิชาการ
        6. รวมกันตรวจสอบและวิพากษความสมบูรณของโครงรางรายงานเชิงวิชาการ
        7. กลุมปรับโครงรางรายงานเชิงวิชาการตามขอเสนอแนะ
        8. นักเรียนแตละคนนําแนวทางการจัดทําโครงรางรายงานเชิงวิชาการที่ถูกตอง ไปจัดทําโครงรางรายงาน
        เชิงวิชาการของตนเอง
    สื่อ / แหลงเรียนรู
       1. ตัวอยางการเขียนโครงรางรายงานเชิงวิชาการ
       2. แหลงคนควาอางอิง เชน อินเทอรเน็ต หนังสือ บุคคล ฯลฯ
21 

 

                                         หนวยการเรียนรูที่ 2

ชื่อหนวยการเรียนรู สรางผลการเขียน รายวิชาเพิ่มเติม การสื่อสารและการนําเสนอ
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย                   เวลา 18 ชั่วโมง
เปาหมายการเรียนรู (ผลการเรียนรู)
   3. เขียนรายงานการศึกษาคนควาเชิงวิชาการภาษาไทย ความยาว 4,000 คํา หรือภาษาอังกฤษ 2,500 คํา
ความเขาใจที่คงทน (สาระสําคัญ /ความคิดรวบยอด)           คําถามสําคัญ
   การถายโอนองคความรูจากการศึกษา คนควา และ - องคประกอบของรายงานเชิงวิชาการมีอะไรบาง และแตละ
ขอคนพบโดยการรายงานที่ใชรูปแบบการเขียนรายงาน องคประกอบมีวิธีการเขียนอยางไร
เชิงวิชาการไดครบองคประกอบและถูกตองตามหลัก - การตรวจสอบงานเขียนมีวิธีการตรวจสอบอยางไรและใช
วิชาการเปนการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ                   สัญลักษณอยางไร
                                                         - มารยาทในการวิพากษงานผูอื่นมีอยางไร
ผูเรียนรูอะไร (สาระการเรียนรู)                       ผูเรียนทําอะไรได (ทักษะ / ทักษะกระบวนการ)
   การเขียนรายงานเชิงวิชาการ โดยมีองคประกอบ               - เขียนรายงานเชิงวิชาการฉบับสมบูรณ
3 สวน                                                   - ทํางานรวมกับผูอื่นตามกระบวนการกลุม
   1) องคประกอบสวนหนา                                 - ตรวจสอบงานเขียนเชิงวิชาการโดยใชสัญลักษณ
       - ปกนอก ปกใน                                      - วิพากษงานเขียนของผูอื่น
       - บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ                        - นําขอวิพากษมาปรับปรุงงานเขียนของตนได
       - สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ
   2) องคประกอบสวนเนื้อเรื่อง
       - ความนํา วัตถุประสงค สมมุติฐาน ขอบเขต
       - เนื้อเรื่อง
       - วิธีการรวบรวมและวิเคราะหขอมูล
       - ผลการศึกษา
       - บทสรุป และอภิปรายผล
   3) องคประกอบสวนทาย
      - บรรณานุกรม ภาคผนวก
      - ประวัติผูจัดทํา
คุณลักษณะที่พึงประสงค
   1. มีวินัย
   2. ใฝเรียนรู
   3. มุงมั่นในการทํางาน
                                           การออกแบบการวัดผลประเมินผล
ภาระงานรวบยอด / ชิ้นงาน
   รายงานเชิงวิชาการฉบับสมบูรณ
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc

More Related Content

What's hot

ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4preecha2001
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)DuangdenSandee
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...chaiwat vichianchai
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 

What's hot (20)

ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 

Similar to หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 

Similar to หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc (20)

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc

  • 1. 1    การจัดการเรียนรูในโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย การพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลที่กําหนด สถานศึกษาควรสงเสริมใหครูผูสอน ทุกกลุมสาระการเรียนรูในโรงเรียนมาตรฐานสากลจัดทําหนวยการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตาม กระบวนการ 5 ขั้นตอน หรือบันได 5 ขั้น ของการจัดการเรียนรูในโรงเรียนมาตรฐานสากล ทั้งในรายวิชา พื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ซึ่งกระบวนการ 5 ขั้นตอน หรือบันได 5 ขั้น ของการ จัดการเรียนรูในโรงเรียนมาตรฐานสากล เปนกระบวนการที่มีความตอเนื่อง ไดแก 1. การตั้งประเด็นคําถาม / สมมุติฐาน 2. การสืบคนความรูจากแหลงการเรียนรูและสารสนเทศ 3. การสรุปองคความรู 4. การสื่อสารและการนําเสนออยางมีประสิทธิภาพ 5. การบริการสังคมและจิตสาธารณะ 5. การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) 4. การสื่อสารและการนําเสนอ (Effective Communication) 3. การสรุปองคความรู (Knowledge Formation) 2. การสื บ ค น ความรู จ ากแหล ง เรี ย นรู แ ละสารสนเทศ 1. การตั้งประเด็นคําถาม/ Formulation 1 . ก า ร ตั้ ง ป ร ะ เ ด็ น คํ า ถ า ม / ส ม มุ ติ ฐ า น (Hypothesis กระบวนการดังกลาวจะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่องและเปนระบบ และไดรับการ พัฒนาอยางเต็มตามศักยภาพ บรรลุตามเปาหมายของการจัดการเรียนรูในโรงเรียนมาตรฐานสากล การจัดการเรียนรู IS (Independent Study) ในโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับมัธยมศึกษา สามารถ จัดได 2 ลักษณะ คือ จัดเปนรายวิชาเพิ่มเติม 2 รายวิชา ไดแก 1) รายวิชาการศึกษาคนควาและสรางองค ความรู (Research and Knowledge Formation: IS1) เปนการพัฒนาใหผูเรียนเกิดความรูและทักษะตาม IS1 ผูเรียนเลือกประเด็นที่สนใจในการเรียนรู เพื่อกําหนดประเด็นปญหา ตั้งสมมุติฐาน คนควา แสวงหา
  • 2. 2    ความรูจากแหลงขอมู ลตาง ๆ และฝกทักษะการคิดวิ เคราะห สังเคราะห และสรางองคความรู และ 2) รายวิชาการสื่อสารและการนําเสนอ (Communication and Presentation: IS2) เปนการเรียนรูตอเนื่องจาก รายวิชา IS1 ผูเรียนนําสิ่งที่ไดศกษาคนควาจากรายวิชาการศึกษาคนควาและสรางองคความรูมาเขียนรายงาน ึ หรือเอกสารทางวิชาการ และนําเสนอเพื่อสื่อสารถายทอดขอมูลความรูนั้นใหผูอ่ืนเขาใจ โดยจัดทําเปน ผลงานการเขี ย นทางวิ ช าการ 1 ชิ้ น และการสื่ อ สารนํ า เสนอสิ่ ง ที่ ไ ด จ ากการศึ ก ษาค น คว า ในระดั บ มัธยมศึกษาตอนตน เปนภาษาไทย 2,500 คํา มัธยมศึกษาตอนปลายเปนภาษาไทย 4,000 คํา หรือภาษาอังกฤษ 2,000 คํา และจัดเปนกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน โดยจัดกิจกรรมการนําองคความรูไปใชบริการสังคม (Social Service Activity: IS3) ซึ่งเปนการนําสิ่งที่ เรียนรูจากรายวิชาเพิ่มเติมทั้ง 2 รายวิชาขางตน ไปประยุกตใชในการทําประโยชนตอสังคม ดังตัวอยางการ จัดการเรียนรู ตอไปนี้ 1. รายวิชาเพิ่มเติมการศึกษาคนควาและสรางองคความรู (Research and Knowledge Formation: IS1) รายวิชาเพิ่มเติมการศึกษาคนควาและสรางองคความรู (Research and Knowledge Formation: IS1) ประกอบดวยสาระการคนควาและแสวงหาความรูเพิ่มเติมอยางลึกซึ้ง เพื่อใหผูเรียนไดพิสูจนประเด็นความรู ขอคนพบหรือสมมติฐานของความรูที่ไดรับรู และสงเสริมใหผูเรียนรูจักการตรวจสอบความนาเชื่อถือของ แหลงที่มาของความรู รวมทั้งจัดประสบการณใหผูเรียนเรียนรูกระบวนการรับรูในลักษณะที่เปนวัฒนธรรม ของการรับรูและการรับรูท่ใชความรูสึก และปลูกฝงการสรางความเขาใจที่เปนสากลใหแกผูเรียน ี การจัดการเรียนรูรายวิชาเพิ่มเติมการศึกษาคนควาและสรางองคความรูมีวัตถุประสงค เพื่อใหผูเรียน แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ ชิ ง วิ เ ค ร า ะ ห ตั้ ง ส ม ม ติ ฐ า น แ ละ ห า คํ า ต อ บ เ กี่ ย ว กั บ สิ่ ง ที่ รู ตั้ ง คํ า ถ า ม ใหคําอธิบายแสดงความคิดเห็นตาง ๆ รูจักหาทางออกในการแกปญหาไดอยางกระจางชัด เชื่อมโยงความรู เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรูเกี่ยวกับสาขาวิชาตาง ๆ และวิธีการรับความรู (Ways of Knowing) 4 วิธี ไดแก 1) วิธการสรางความรูจากการสัมผัสรับรู 2) วิธีการสรางความรูจากการใชภาษา 3) วิธีการสรางความรู ี จากการใหเหตุผล และ 4) วิธีการการสรางความรูจากสิ่งที่เปนอารมณ แนวการจัดการเรียนรู 1. ครูผูสอนรวมกับผูเรียนในการกําหนด หรือตั้งประเด็นความรู หรือหัวขอเกี่ยวกับ Public Issues หรือ Global Issues สําหรับการศึกษาคนควา เปนขั้นที่ผูเรียนจะรับรูถึงจุดหมายและมีแรงจูงใจในการเรียนรู บทเรียน ผูสอนสามารถเลือกใชกิจกรรมตาง ๆ ในการจัดการเรียนรู เชน 1.1 การเลาเรื่องตาง ๆ ใหผูเรียนซักถาม หรือตั้งคําถาม 1.2 การฉายภาพนิ่งใหผูเรียนชมและติดตาม 1.3 การชวนสนทนา เพื่อใหผูเรียนตั้งประเด็นที่ตองการรู 1.4 การกระตุนความสนใจดวยเกม เพลง ภาพ ฯลฯ 
  • 3. 3    1.5 การอาน / ฟงขาวจากหนังสือพิมพ 1.6 การตั้งประเด็นอภิปราย / คําถามสรางพลังความคิด 1.7 การยกตัวอยางประโยค คําพังเพย บทกวี 1.8 การกําหนด หรือการตั้งประเด็นความรู หรือหัวขอเกี่ยวกับ Public Issues หรือ Global Issues 2. ใหความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการสรางองคความรู 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 “Ways of Knowing” วิถี การรับรู ความรู สวนที่ 2 “Areas of Knowledge” ศาสตร / สาขา แขนงความรู สวนที่ 3 การเรียบเรียงขอมูล ข อ ค น พบ ความคิ ด ความคิ ด เห็ น การให เ หตุ ผ ลโต แ ย ง และสนั บ สนุ น เพื่ อ ให ผู เ รี ย นเข า ใจถึ ง การ กระบวนการสรางองคความรู ครูผูสอนควรมีเทคนิคการจัดการเรียนรูที่หลากหลาย ไดแก 2.1 การอภิปรายกลุม เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 2.2 การระดมพลังความคิด 2.3 การเรียนรูโดยใชสถานการณจําลอง  3. ปรับเปลี่ยนความคิด เปนขั้นตอนสําคัญซึ่งเปนหัวใจของขั้นตอนการเรียนรู ผูเรียนจะศึกษา คนควาตามประเด็นความรู หรือหัวขอที่ครอบคลุม Public Issues และ Global Issues ครูผูสอนควรมีเทคนิค การจัดการเรียนรูที่หลากหลาย ไดแก 3.1 ทําความกระจางและแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน ครูผูสอนจะกระตุนใหผูเรียนดําเนิน กิจกรรมเพื่อสืบคนขอมูลจากแหลงเรียนรูตาง ๆ โดยใชวิธีการ ดังนี้  - คนควาจากแหลงเรียนรูตาง ๆ - สัมภาษณผูรู - ปฏิบัติการคนหา (ทดลอง สืบเสาะ สังเกต สํารวจ) - รวมมือเพื่อเขียนคําอธิบาย - แบงงานความรับผิดชอบภายในกลุม 3.2 สรางความคิดใหม ผูเรียนนําผลการอภิปรายและสาธิตที่เปนผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู ระหวางกันมากําหนดเปนความคิดใหม หรือความรูใหม โดยใชวิธีการ ดังนี้ - เขียนดวยแผนผังความคิด - เขียนโครงงาน / โครงการ - เขียนบรรยาย / เขียนรายงาน - นําเสนอแนวคิดใหม - นําเสนอรูปแบบนวัตกรรมใหม 3.3 ประเมินความคิดใหม ผูเรียนออกแบบดําเนินการตรวจสอบความรู ความคิดใหม ที่ผูเรียนสรางขึ้น โดยใชวิธีการ ดังนี้ - อภิปราย
  • 4. 4    - ทดสอบผลงาน - ทดสอบความคิดของกลุม - ทดสอบความรู 3.4 นําความคิดไปใช เปนขั้นตอนที่ผูเรียนใชแนวคิด หรือความรูความเขาใจที่ไดพัฒนาขึ้น ใหมในสถานการณตาง ๆ จนเกิดการเรียนรูอยางมีความหมาย เปนกิจกรรมที่ตองการใหผูเรียนไดประมวล องคความรูเพื่อการนําไปใชประโยชน โดยใชวิธการ ดังนี้ ี - สรุปแผนผังความคิดเกียวกับความรูใหม ่ - นําเสนอโครงงาน / โครงการที่ผูเรียนคิดคน / ประดิษฐขึ้น - บรรยายสรุปแนวคิดใหม / การสรางสถานการณใหม - จัดนิทรรศการ / สาธิตผลงานของกลุม - แสดงบทบาทสมมติ / โตวาทีเพื่อสรุปการแกปญหา 4. สะทอนความคิด /ทบทวน เปนขั้นตอนที่ผูเรียนไดประเมินและพัฒนาความคิดอยางรอบคอบ และตอเนื่องจนสามารถประเมินผลได ประกอบดวย 4.1 ประเมินผลงาน 4.2 เสนอแนะความคิดเห็น เพื่อปรับปรุงและพัฒนา 4.3 วางแผนเพือพัฒนาอยางตอเนื่อง ่ บทบาทของผูสอน  1. เปดโอกาสใหผูเรียนสังเกต เพื่อใหสามารถมองเห็นปญหาไดอยางชัดเจน 2. มีปฏิสัมพันธกับผูเรียน แนะนํา ถามใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนพบ หรือสรางความรู ความเขาใจไดดวยตนเอง 3. สรางแรงจูงใจใฝรูใฝเรียน ชวยใหผูเรียนคิดคนตอไป ฝกใหผูเรียนมีทักษะการทํางาน เปนกลุม 4. เปนผูชี้แนะไมใชผูชี้นํา กระตุนใหผูเรียนคิดมากกวาบอกความรู 5. ประเมินความคิดรวบยอดของผูเรียน ตรวจสอบความคิดและทักษะการคิด บทบาทของผูเรียน 1. คนควา แสวงหาความรู ฝกฝนวิธีการเรียนรูดวยตนเอง เปนเจาของบทเรียน ลงมือ ปฏิบัติจริง 2. กระตือรือรนในการเรียนรู กลาแสดงออก กลานําเสนอความคิดอยางสรางสรรค 3. มีปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนดวยกันและกับครูผูสอน รวมแลกเปลี่ยนเรียนรู ยอมรับฟงความ คิดเห็นของผูอื่น เปนผูนําและผูตามที่ดี 4. ทํางานรวมกันเปนกลุม
  • 5. 5    5. เชื่อมโยงความรูเดิมเขากับความรูใหม มีผลงานที่สรางสรรค 6. เคารพกติกาทางสังคม รับผิดชอบตอสวนรวม 7. มีเจตคติที่ดตอการเรียนรู รักการอาน กลาซักถาม ี 8. บันทึกความรูอยางเปนระบบ นําความรูสูการปฏิบัติไดจริง
  • 6. 6    คําอธิบายรายวิชา รายวิชาเพิ่มเติม การศึกษาคนควาและสรางองคความรู (Research and Knowledge Formation: IS1) รายวิชาเพิ่มเติม บูรณาการกลุมสาระการเรียนรูตามศักยภาพ I 31201 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หนวยกิต ------------------------------------------------- ศึ ก ษา วิ เ คราะห ตั้ ง ประเด็ น / คํ า ถามเกี่ ย วกั บ สถานการณ ป จ จุ บั น และสั ง คมโลก การตั้งสมมติฐาน การคนควา การแสวงหาความรูขอมูล การออกแบบ การวางแผนรวบรวมขอมูล การใช กระบวนการกลุ ม การวิ เ คราะห ข อ มู ล โดยใช ค า สถิ ติ การสั ง เคราะห การสรุ ป องค ค วาม และการเสนอวิธีคิดแกปญหาที่เปนระบบ ฝกทักษะตั้งประเด็นปญหา / ตั้งคําถามเกี่ยวกับสถานการณปจจุบันและสังคมโลก ตั้งสมมติฐาน และใหเหตุผลที่สนับสนุนหรือโตแยงประเด็นความรู โดยใชความรูจากศาสตรสาขาตาง ๆ และมีทฤษฎี รองรับ คนควาแสวงหาความรูเกี่ยวกับสมมติฐานที่ตั้งไวจากแหลงเรียนรูทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ ออกแบบ วางแผนรวบรวมขอมูลและสารสนเทศ วิเคราะหขอมูลโดยใชวิธีการที่เหมาะสม สังเคราะหสรุปองคความรู และร วมกั นเสนอแนวคิ ด วิ ธี การแก ป ญหาอย างเป นระบบ ด วยกระบวนการคิ ด กระบวนการสื บค นข อมู ล กระบวนการแกปญหา กระบวนการปฏิบัติและกระบวนการกลุมในการวิพากษ เพื่อใหเกิดทักษะในการคนควาแสวงหาความรู สังเคราะหสรุป อภิปรายผลเปรียบเทียบเชื่อมโยง ความรู ความเปนมาของศาสตร หลักการและวิธีคิดในสิ่งที่ศึกษา และมีทักษะในการนําเสนอผลการศึกษา คนควาในรูปแบบการเขียนรายงานและอางอิงแหลงที่มาของขอมูลที่นาเชื่อถือ นําองคความรูไปแกปญหา ไดอยางเปนระบบ เห็นประโยชนและคุณคาของการศึกษาคนควาดวยตนเอง ผลการเรียนรู 1. ตั้งประเด็นปญหา จากสถานการณปจจุบันและสังคมโลก  2. ตั้งสมมติฐานและใหเหตุผลที่สนับสนุนหรือโตแยงประเด็นความรูโดยใชความรูจากสาขาวิชา ตาง ๆ และมีทฤษฎีรองรับ 3. ออกแบบ วางแผน ใชกระบวนการรวบรวมขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ 4. ศึกษา คนควา แสวงหาความรูเกี่ยวกับประเด็นที่เลือก จากแหลงเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ 5. ตรวจสอบความนาเชื่อถือของแหลงที่มาของขอมูล 6. วิเคราะหขอคนพบดวยวิธการที่เหมาะสม ี 7. สังเคราะหสรุปองคความรูดวยกระบวนการกลุม 8. เสนอแนวคิด การแกปญหาอยางเปนระบบดวยองคความรูจากการคนพบแผนการทํางานของ นักเรียน
  • 7. 7    โครงสรางรายวิชาเพิ่มเติมการศึกษาคนควาและสรางองคความรู ระดับมัธยมศึกษาปที่ 4 หนวยที่ ชื่อหนวยการเรียนรู ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา น้ําหนักคะแนน 1 จุดประกายความจริง 1. ตั้ ง ประเด็ น ป ญ หา จาก - การตั้ ง ปร ะเด็ น 5-9 15 สถานการณ ป จ จุ บั น และ คํ า ถ า ม เ กี่ ย ว กั บ สังคมโลก สถานการณปจจุบัน 2. ตั้ ง ส มมติ ฐ านและให และสังคมโลก เหตุ ผ ลที่ ส นั บ สนุ น หรื อ - การตั้ ง สมมติ ฐ าน โตแยงประเด็นความรูโดยใช และให เ หตุ ผ ลโดย ความรู จ ากสาขาวิ ช าต า ง ๆ ใ ช ค ว า ม รู จ า ก และมีทฤษฎีรองรับ ศาสตรสาขาตางๆ 3. ออกแบบ วางแผน ใช - การออกแบบการ กระบวนการรวบรวมขอมูล เรี ย นรู โ ดยมี ท ฤษฎี อยางมีประสิทธิภาพ รองรับ 2 ทุกสิ่งที่คนควา  4. ศึ ก ษา ค น คว า แสวงหา -ก า ร ค น ค ว า 10 - 15 20 ความรู เ กี่ ย วกั บ ประเด็ น แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู ที่เลือ ก จากแหลงเรีย นรูที่มี เกี่ ย วกั บ สมมติ ฐ าน ประสิทธิภาพ จากแหล ง ปฐมภู มิ 5. ตรวจสอบความนาเชื่อถือ ทุ ติ ย ภู มิ แ ล ะ ของแหลงที่มาของขอมูล สารสนเทศ 3 ปรารถนาคําตอบ 5.ตรวจสอบความนาเชื่อถือ - ตรวจสอบความ 10 - 15 25 ของแหลงที่มาของขอมูลได น า เ ชื่ อ ถื อ ข อ ง 6. วิ เ คราะห ข อ ค น พบด ว ย แ ห ล ง ที่ ม า ข อ ง สถิติที่เหมาะสม ขอมูล - วิ เ ค ร า ะ ห ความนาเชื่อถือของ แหลงเรียนรู 4 ส รุ ป อ ง ค ป ร ะ ก อ บ 7. สังเคราะหสรุปองคความรู - เ ป รี ย บ เ ที ย บ / 15 - 21 40 ที่สมบูรณ ดวยกระบวนการกลุม เชื่ อ ม โ ย ง / ส รุ ป 8. เส นอแนวคิ ด การแก อ ง ค ค ว า ม รู ด ว ย ป ญ หาอย า งเป น ระบบด ว ย กระบวนการ องค ค วามรู จ ากการค น พบ อยางเปนระบบ แผนการทํางานของนักเรียน รวม 40 - 60 100
  • 8. 8    การออกแบบหนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 ชื่อหนวยการเรียนรู จุดประกายความจริง รายวิชาเพิ่มเติม การศึกษาคนควาและการสรางองคความรู ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 5 ชั่วโมง เปาหมายการเรียนรู (ผลการเรียนรู) 1. ตั้งประเด็นปญหา จากสถานการณปจจุบันและสังคมโลก 2. ตั้งสมมติฐานและใหเหตุผลที่สนับสนุนหรือโตแยงประเด็นความรูโดยใชความรูจากสาขาวิชาตาง ๆ และมีทฤษฎี รองรับ 3. ออกแบบ วางแผน ใชกระบวนการรวบรวมขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ ความเขาใจที่คงทน (สาระสําคัญ / ความคิดรวบยอด) คําถามสําคัญ - การตั้งประเด็นคําถามเกี่ยวกับสถานการณปจจุบัน - จะตั้งประเด็นคําถามเกี่ยวกับสถานการณปจจุบันและสังคม และสังคมโลก โลกไดอยางไร - การตั้งสมมติฐานและใหเหตุผลโดยใชความรูจาก - จะตั้งสมมติฐานและใหเหตุผลโดยใชความรูจากศาสตรสาขา ศาสตรสาขาตาง ๆ ตาง ๆ ไดอยางไร - การออกแบบ วางแผน กระบวนการรวบรวมขอมูล - จะออกแบบวางแผน ใชกระบวนการรวบรวมขอมูลได อยางไร ผูเรียนรูอะไร (สาระการเรียนรู) ผูเรียนทําอะไรได (ทักษะ / กระบวนการ) - การตั้งประเด็นคําถามเกี่ยวกับสถานการณและ - ตั้ ง ประเด็ น คํ า ถามที่ เ กี่ ย วกั บ สถานการณ แ ละ สังคมโลก สังคมโลก - การตั้งสมมติฐาน - ตั้งสมมติฐาน - การออกแบบ วางแผน กระบวนการรวบรวมขอมูล - ออกแบบ วางแผน กระบวนการรวบรวมขอมูล - ทํ า ง า น ร ว ม กั บ ผู อื่ น ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ลุ ม - ตรวจสอบการตั้ ง ประเด็ น คํ า ถาม การตั้ ง สมมติ ฐ านการ ออกแบบ วางแผน กระบวนการรวบรวมขอมูล - วิพากษการตั้งประเด็นคําถาม การตั้งสมมติฐาน การออกแบบ วางแผน กระบวนการรวบรวมขอมูล ของผูอื่น - นําขอวิพากษมาปรับปรุงงานงานของตน - นํ า ข อ มู ล ม า อ อ ก แ บ บ ว า ง แ ผ น ร ว บ ร ว ม ข อ มู ล ตามกระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน 3. จิตสาธารณะ
  • 9. 9    การออกแบบการวัดผลประเมินผล ภาระงานรวบยอด / ชิ้นงาน ออกแบบ วางแผนกระบวนการรวบรวมขอมูลรายบุคคล เกณฑการประเมินภาระงาน / ชิ้นงาน (ระบุประเด็นประเมิน) - ความครบถวนสมบูรณของขอมูล - กระบวนการรวบรวมมีระบบชัดเจน สะดวกตอการใช ตรวจสอบได รองรอยการเรียนรูอื่น ๆ - แบบบันทึกตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการตั้งประเด็นคําถาม / การตั้งสมมติฐาน - แบบบันทึกการออกแบบ วางแผนกระบวนการรวบรวมขอมูล - แบบบันทึกเกี่ยวกับกระบวนการทํางาน การวางแผนการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู นักเรียนจะ 1. ครูนําเสนอตัวอยางประเด็นความรูจากสถานการณปจจุบันและสังคมโลก  2. นักเรียนรวมกันวิเคราะหประเด็นความรูที่มีความเชื่อมโยงในศาสตรหลายสาขาที่เกี่ยวของกับสถานการณปจจุบันและ สังคมโลกที่มีความทาทาย 3. ตั้งสมมติฐาน และขอสันนิษฐานของประเด็นความรูที่สนใจ 4. ครูตั้งคําถามกระตุนใหนักเรียน แสดงความคิดที่หลากหลายตางมุม โดยใชสาขาวิชาตาง ๆ ใชวิธีการสนับสนุนหรือ โตแยงคัดคาน และใหเหตุผลตามความรูของศาสตรที่มี 5. แบงกลุมนักเรียนคนควาขอมูลเพิ่มเติมจากแหลงเรียนรู วิธีการออกแบบ วางแผนเก็บรวบรวมขอมูลอยางเปนระบบ 6. รวมกันอภิปรายวิธีการออกแบบ วางแผนเก็บรวบรวมขอมูลที่หลากหาย 7. รวมกันสรุปวิธีการออกแบบ วางแผนเก็บรวบรวมขอมูลของกลุมและนําเสนอ 8. รวมตรวจสอบการออกแบบ วางแผนกระบวนการรวบรวมขอมูลของแตละกลุม 9. วิพากษการออกแบบ วางแผนกระบวนการรวบรวมขอมูล 10. นําขอวิพากษมาปรับปรุงงานงานของตน 11. นําแนวทางการออกแบบวางแผน รวบรวมขอมูลตามกระบวนการมาจัดทํารายบุคคล สื่อ / แหลงเรียนรู 1. ตัวอยางการเขียนประเด็นความรูจากสถานการณปจจุบันและสังคมโลก การเขียนสมมติฐาน 2. แหลงคนควาอางอิง เชน อินเทอรเน็ต หนังสือ บุคคล ฯลฯ 3. ตัวอยางการออกแบบวางแผนรวบรวมขอมูล
  • 10. 10    หนวยการเรียนรูที่ 2 ชื่อหนวยการเรียนรู ทุกสิ่งที่คนควา รายวิชาเพิ่มเติม การศึกษาคนควาและการสรางองคความรู ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 10 ชั่วโมง เปาหมายการเรียนรู (ผลการเรียนรู) 4. ศึกษา คนควา แสวงหาความรูเกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหลงเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ 5. ตรวจสอบความนาเชื่อถือของแหลงที่มาของขอมูล ความเขาใจที่คงทน (สาระสําคัญ / ความคิดรวบยอด) คําถามสําคัญ การคน คว าแสวงหาความรูเ กี่ย วกั บ สมมติฐ านจาก - จะแสวงหาวิธีการคนควา หาความรูและสารสนเทศจาก แหลงปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และสารสนเทศจากแหลงเรียนรู แหลงปฐมภูมิไดอยางไร ที่หลากหลายไดอยางมีประสิทธิภาพ - จะแสวงหาวิ ธี ก ารค น คว า หาความรู แ ละสารสนเทศจาก แหลงทุติภูมิไดอยางไร - จะแสวงหาวิ ธี ก ารค น คว า หาความรู แ ละสารสนเทศจาก แหลงเรียนรูที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพไดอยางไร ผูเรียนรูอะไร (สาระการเรียนรู) ผูเรียนทําอะไรได (ทักษะ / กระบวนการ) - วิธีการคนควา แสวงหาความรูเกี่ยวกับสมมติฐาน - คนควา แสวงหาความรูเกี่ยวกับสมมติฐาน - การหาความรูและสารสนเทศจากแหลงปฐมภูมิและ - แสวงหาความรู แ ละสารสนเทศจากแหล ง ปฐมภู มิ ทุติยภูมิ และทุติยภูมิ - วิธีการตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล - ตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล - ลักษณะของขอมูล สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ - ทํ า ง า น ร ว ม กั บ ผู อื่ น ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ลุ ม - วิพากษความนาเชื่อถือของขอมูล - นําขอวิพากษมาปรับปรุงงานงานของตน - นํ า แนวทางการแสวงหาข อ มู ล สารสนเทศ ความรู ที่เกี่ยวของกับสมมติฐานไปรวบรวมขอมูล คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมั่นในการทํางาน การออกแบบการวัดผลประเมินผล ภาระงานรวบยอด / ชิ้นงาน แฟมงานรวบรวมความรู / สารสนเทศเกี่ยวกับสมมติฐานรายบุคคล เกณฑการประเมินภาระงาน / ชิ้นงาน(ระบุประเด็นประเมิน) - ความนาเชื่อถือขอมูล - กระบวนการรวบรวมมีระบบชัดเจน สะดวกตอการใช ตรวจสอบได
  • 11. 11    รองรอยการเรียนรูอื่น ๆ - แบบบันทึกตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการรวบรวมขอมูล - แบบบันทึกการตรวจสอบคุณภาพของขอมูล - แบบบันทึกเกี่ยวกับกระบวนการทํางาน การวางแผนการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู นักเรียนจะ 1. ศึกษาวิธีการคนควา / แสวงหาความรูเกี่ยวกับสมมติฐานจากแหลงปฐมภูมิและทุติยภูมิตามแผนที่วางไว 2. ตรวจสอบความครบถวนของขอมูล / สารสนเทศ 3. คนควาขอมูล / สารสนเทศในเรื่องเดียวกันจากแหลงขอมูลที่หลากหลาย 4. ฝกทักษะการตรวจสอบขอมูล / สารสนเทศ ดวยตนเอง 5. จัดหมวดหมูขอมูล / สารสนเทศ เรียงลําดับตามที่วางแผนใหเปนระบบ 6. ตรวจทาน / วิพากษนําผลไปปรับปรุงขอมูล / สารสนเทศรายบุคคล 7. เผยแพร แลกเปลี่ยนเรียนรู สื่อ / แหลงเรียนรู 1. ตัวอยางแฟมงานการจัดเก็บขอมูล / สารสนเทศ 2. แหลงคนควาอางอิง เชน อินเทอรเน็ต หนังสือ บุคคล ฯลฯ 3. แผนการเก็บรวมรวมขอมูล / สารสนเทศรายบุคคล
  • 12. 12    หนวยการเรียนรูที่ 3 ชื่อหนวยการเรียนรู ปรารถนาคําตอบ รายวิชาเพิ่มเติม การศึกษาคนควาและการสรางองคความรู ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 10 ชั่วโมง เปาหมายการเรียนรู(ผลการเรียนรู) 5. ตรวจสอบความนาเชื่อถือของแหลงที่มาของขอมูลได 6. วิเคราะหขอคนพบดวยวิธีการที่เหมาะสม ความเขาใจที่คงทน (สาระสําคัญ / ความคิดรวบยอด) คําถามสําคัญ การตรวจสอบความน า เชื่ อ ถื อ ของแหล ง ที่ ม าของ - จะตรวจสอบความน า เชื่ อ ถื อ ของแหล งที่ ม าของข อ มูล ได ขอมูลนํามาวิเคราะหดวยวิธีการที่เหมาะสมจะชวยให อยางไร คนพบขอมูลที่มีความนาเชื่อถือ - จะใชวิธีการใดวิเคราะหขอมูลจึงจะเหมาะสม - วิเคราะหขอมูลอยางไรจึงจะไดขอมูลที่นาเชื่อถือ ผูเรียนรูอะไร (สาระการเรียนรู) ผูเรียนทําอะไรได (ทักษะ / กระบวนการ) - แหลงขอมูลที่ดีและนาเชื่อถือ - ตรวจสอบความนาเชื่อถือของแหลงที่มาของขอมูล - วิธีการที่ใชวิเคราะหขอมูล - รวบรวมขอมูลที่จะนํามาวิเคราะห - เทคนิคการวิเคราะหขอมูล - เลือกวิธีการที่เหมาะสมนํามาวิเคราะหขอมูล - วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมที่เหมาะสม - ทํ า ง า น ร ว ม กั บ ผู อื่ น ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ลุ ม - ตรวจสอบ / วิพากษความนาเชื่อถือของการวิเคราะหขอมูล - นําขอวิพากษมาปรับปรุงงานของตน - นําผลการวิเคราะหขอมูล / สารสนเทศ ความรูที่เกี่ยวของกับ สมมติฐาน ไปสังเคราะหสรุปเปนองคความรู คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ซื่อสัตย 3. ใฝเรียนรู 4. มุงมั่นในการทํางาน 5. จิตสาธารณะ การออกแบบการวัดผลประเมินผล ภาระงานรวบยอด / ชิ้นงาน ผลการวิเคราะหขอมูลรายบุคคล เกณฑการประเมินภาระงาน / ชิ้นงาน (ระบุประเด็นประเมิน) - ความนาเชื่อถือของแหลงขอมูล - ความถูกตอง / ครบถวนสมบูรณของขอมูล / สารสนเทศ - กระบวนการรวบรวมมีระบบชัดเจน สะดวกตอการใช ตรวจสอบได
  • 13. 13    รองรอยการเรียนรูอื่น ๆ - แบบบันทึกตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการรวบรวมขอมูล - แบบบันทึกการตรวจสอบคุณภาพแหลงที่มาของขอมูล - แบบบันทึกเกี่ยวกับกระบวนการทํางาน - แบบบันทึกการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม การวางแผนการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู นักเรียนจะ 1. ศึกษาเทคนิคการตรวจสอบความนาเชื่อของขอมูล 2. ตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล 3. รวบรวมขอมูลใหเปนระบบ เตรียมขอมูลวิเคราะห 4. เลือกวิธีการที่เหมาะสมกับขอมูลที่วิเคราะห 5. วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม 6. รวมกันตรวจสอบผลการวิเคราะหขอมูล 7. วิพากษผลการวิเคราะหขอมูลจากการตรวจสอบ 8. นําผลการวิพากษผลการวิเคราะหขอมูลมาปรับ / พัฒนา 9. รวบรวมผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อนําไปสังเคราะหสรุปเปนองคความรู สื่อ / แหลงเรียนรู 1. แหลงคนควาอางอิง เชน อินเทอรเน็ต หนังสือ บุคคล ฯลฯ 2. เครื่องคอมพิวเตอร
  • 14. 14    หนวยการเรียนรูที่ 4 ชื่อหนวยการเรียนรู สรุปองคประกอบที่สมบูรณ รายวิชาเพิ่มเติม การศึกษาคนควาและการสรางองคความรู ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 10 ชั่วโมง เปาหมายการเรียนรู (ผลการเรียนรู) 7. สังเคราะหสรุปองคความรูดวยกระบวนการกลุม 8. เสนอแนวคิด การแกปญหาอยางเปนระบบดวยองคความรูจากการคนพบแผนการทํางานของนักเรียน ความเขาใจที่คงทน (สาระสําคัญ / ความคิดรวบยอด) คําถามสําคัญ การสั งเคราะห สรุ ป องค ค วามรูด วยกระบวนการ - จะสรุปองคความรูไดอยางไร กลุม การเสนอแนวคิด การแกปญ หาอยา งเปน ระบบ - จะนําเสนอแนวคิด การแกปญหาอยางเปนระบบไดอยางไร ด ว ย - จะนําองคความรูไปถายทอดเปนงานเขียนไดอยางไร องคความรูจากการคนพบแผนการทํางานของนักเรียน ผูเรียนรูอะไร (สาระการเรียนรู) ผูเรียนทําอะไรได (ทักษะ / กระบวนการ) - การอานจับใจความสําคัญ - การอานจับใจความสําคัญ - การเขียนสรุปความ - การเขียนสรุปความ - การเขียนความเรียง - การเขียนความเรียง - การเสนอแนวคิด การแกปญหาอยางเปนระบบ - การเสนอแนวคิด การแกปญหาอยางเปนระบบ คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. วินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมั่นในการทํางาน 4. รักความเปนไทย 5. จิตสาธารณะ การออกแบบการวัดผลประเมินผล ภาระงานรวบยอด / ชิ้นงาน การสังเคราะห สรุปองคความรูดวยกระบวนการกลุม เกณฑการประเมินภาระงาน / ชิ้นงาน (ระบุประเด็นประเมิน) - ความถูกตอง / ครบถวนสมบูรณของขอมูล / สารสนเทศ - ความถูกตองและนาเชื่อถือของขอคนพบที่นําเสนอ - กระบวนการรวบรวมมีระบบชัดเจน รองรอยการเรียนรูอ่น ๆ ื - แบบบันทึกตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการสังเคราะหสรุปองคความรู - แบบบันทึกเกี่ยวกับกระบวนการทํางาน การวางแผนการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู นักเรียนจะ 1. ฝกทักษะการอานจับใจความสําคัญ 2. ฝกทักษะการเขียนสรุปความ 3. ฝกทักษะการเขียนความเรียง 4. สังเคราะห สรุปองคความรูดวยกระบวนการกลุม 5. เสนอแนวคิด การแกปญหาอยางเปนระบบดวยองคความรูจากการคนพบแผนการทํางานของนักเรียน 6. อภิปรายและสรุปองคความรูที่ไดจากการศึกษาคนควา สื่อ / แหลงเรียนรู แหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต ฯลฯ
  • 15. 15    2. รายวิชาเพิ่มเติมการสื่อสารและการนําเสนอ (Communication and Presentation: IS2) รายวิชาเพิ่มเติมการสื่อสารและการนําเสนอ (Communication and Presentation: IS2) เปนสาระ การเรียนรูที่จัดการเรียนการสอนเพื่อใหผูเรียนนําขอสรุป ขอคนพบใหม ความคิดใหม หรือองคความรูใหม ที่ได จากการศึ กษาศึกษาคนควาและการสรางองคความรูในสิ่งที่สนใจแลวเรียบเรีย งนําเสนอความคิ ด ขอคิดเห็น และขอเสนอเชิงวิชาการ โดยใชภาษาอยางถูกตอง และนําเสนอองคความรูดวยดวยวิธีการที่ หลากหลายและเหมาะสม การจัดการเรียนรูรายวิชาเพิ่มเติมการสื่อสารและการนําเสนอมีวัตถุประสงค เพื่อใหผูเรียนสามารถ สื่อสารและนําเสนอขอคนพบ ขอสรุป หรือองคความรู ที่ไดจากการศึกษาคนควา ดวยวิธีการที่หลากหลาย และเหมาะสม แนวการจัดการเรียนรู ครูผูสอนจะต องให ค วามสําคัญกับ “การจั ดโครงร างของผลงาน” เนื่ อ งจากจะช วยใหผูเ รี ย น จัดลําดับเนื้อหาของการเขียนรายงานการคนควาและการนําเสนอไดดี โดยดําเนินการ ดังนี้ 1. การรายงานการคนควาของผูเรียน ใหผูเรียนนําหัวขอเรื่องจากขอคนพบ ขอสรุป ความคิดใหม องคความรูใหมที่ตนเองสนใจเรียนรู เปนขอมูลในการนําเสนอ จากนั้นครูจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนมี ความรูความเขาใจเกี่ยวกับ - การเรียบเรียงหัวขอการศึกษาคนควา (Research Question) - แหลงคนควา / แหลงการเรียนรู - การกําหนด / เขียนโครงราง (Outline) 2. การกํ า หนดโครงร า งของผลงาน การเขี ย นรายงานการค น คว า หาความรู จ ากแหล ง การเรียนรูเกี่ยวกับหัวขอเรื่องที่ผูเรียนไดเลือกอยางอิสระ จะตองประกอบดวยองคประกอบ 3 สวน ไดแก คํานํา (Introduction) เนื้อเรื่อง (Body /Development) และบทสรุป (Conclusion) 3. การนํ า เสนอการนํ า เสนองาน เป น ทั ก ษะที่ มี ค วามสํ า คั ญ อย า งยิ่ ง สํ า หรั บ การนํ า เสนอ ผลการศึกษาคนควา ตามองคประกอบ 3 ประการ ไดแก 3.1 การกําหนดวัตถุประสงคและวิเคราะหผูฟง 3.2 การวางโครงสรางเนื้อหาการนําเสนอ 3.3 วิธการนําเสนอ ี การวิเคราะหผูฟง เปนการวิเคราะหความตองการ ความสนใจ หรือความกังวลใจของผูฟง รวมถึงความเขาใจในสไตล ความชอบของผูฟง เพื่อใหสามารถออกแบบโครงสรางและเนื้อหาการนําเสนอ รวมทั้งการใชส่อประกอบที่มีความเหมาะสม สอดคลองและถูกใจผูฟง ื
  • 16. 16    บทบาทของผูสอน  1. สงเสริม กระตุน สนับสนุน ชี้แนะใหผูเรียนรูจักวิธีการคิด คนควาเกี่ยวกับหัวขอ / เรื่องที่ผูเรียน เลือกคนควา 2. ชวยเหลือ แนะนําผูเรียนในการคนควาความรูจากแหลงเรียนรูตาง ๆ 3. ชวยเหลือแนะนําผูเรียนสามารถเขียนรายงานการคนควาไดอยางถูกตองตามเกณฑกาหนด ํ 4. การนําเสนอ ครูควรดําเนินการ ดังนี้ 4.1 นําเสนอดวยสื่อรูปธรรม เชน รูปภาพ ของจริง กราฟ ตาราง แผนภูมิ ภาพสัญลักษณ สื่อ วัสดุอุปกรณตาง ๆ แลวใหผูเรียนไดพรรณนาถึงสิ่งที่พบ 4.2 ควรใชคําถามที่ชวยกระตุนใหผูเรียนไดคิดอยางหลากหลายและคิดอยางสรางสรรค สามารถอธิบายความคิดของตนออกมา ดวยการพูด การเขียน และใหผูเรียนไดต้ังคําถามและหาคําตอบดวย ตนเองตามความสนใจ 4.3 เปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงแนวคิดของตนเอง 4.4 จัดกลุมใหผูเรียนไดรวมมือและชวยเหลือกันในการเรียนรู เพื่อชวยสงเสริมใหเกิดการ สื่อสารในรูปแบบของการอธิบายแนวคิดและการอภิปรายในกลุม 4.5 ใชการชี้แนะทางตรงและชี้แนะทางออม เพื่อชวยใหผูเรียนเกิดความเขาใจ และเห็น เปาหมายที่ชัดเจนยิ่งขึ้น บทบาทของผูเรียน 1. กําหนดแผนการทํางาน วันสงงาน และการศึกษาคนควาจากแหลงคนควา รวมทั้ง การวางแผนการเขียนเรียบเรียงผลงาน 2. ศึกษาและฝกการเขียนรายงานเชิงวิชาการแตละองคประกอบใหถูกตองสมบูรณ 3. เรียบเรียง รวบรวมโครงราง (Rough draft) ของรายงานใหครบองคประกอบ และฝกการ ตรวจสอบ (Edit) รายงานโดยใชสญลักษณในการตรวจสอบ ั 4. จัดทําสื่อประกอบการนําเสนอ และเลือกวิธีการนําเสนอที่เหมาะสมกับผูอาน/ผูฟง
  • 17. 17    คําอธิบายรายวิชาการสื่อสารและการนําเสนอ (Communication and Presentation: IS2) รายวิชาเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จํ า นวน 1.5 หน ว ยกิ ต ------------------------------------------------- ศึกษา เรียบเรียงและถายทอดความคิดอยางสรางสรรคจากรายวิชา IS1 (Research and Knowledge Formation) เกี่ ย วกั บ สถานการณ ป จ จุ บั น และสั ง คมโลก โดยเขี ย นโครงร า ง บทนํ า เนื้อเรื่อง สรุป ในรูปของรายงานการศึกษาคนควาเชิงวิชาการเปนภาษาไทยความยาว จํานวน 4,000 คํา หรือ เปนภาษาอังกฤษ ความยาว 2,000 คํา มีการอางอิงแหลงความรูที่เชื่อถือไดอยางหลากหลายเชื่อถือได ทั้งใน ประเทศและตางประเทศ เรียบเรียงและถายทอดสื่อสาร นําเสนอความคิดอยางชัดเจน เปนระบบ มีการ นําเสนอในรูปแบบเดี่ยว (Oral individual) หรือกลุม (Oral panel presentation) โดยใชสื่อเทคโนโลยีที่ หลากหลาย และมีการเผยแพรผลงานสูสาธารณะ เพื่อใหเกิดทักษะ ในการเขียนรายงานเชิงวิชาการ และ ทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เห็นประโยชนและคุณคาในการสรางสรรคงานและถายทอดสิ่งที่เรียนรู ใหเปนประโยชนแกสาธารณะ ผลการเรียนรู 1. วางโครงรางการเขียนตามหลักเกณฑ องคประกอบและวิธีการเขียนโครงราง 2. เขียนรายงานการศึกษาคนควาเชิงวิชาการเปนภาษาไทยความยาว 4,000 คํา หรือ ภาษาอังกฤษ ความยาว 2,500 คํา 3. นําเสนอขอคนพบ ขอสรุปจากประเด็นที่เลือกในรูปแบบเดี่ยว (Oral individual presentation) หรือกลุม (Oral panel presentation) โดยใชสื่อเทคโนโลยีที่หลากหลาย 4. เผยแพรผลงานสูสาธารณะ โดยใชการสนทนา / วิพากษผานสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน e-conference, social media online 5. เห็นประโยชนและคุณคาการสรางสรรคงานและถายทอดสิ่งที่เรียนรูใหเปนประโยชน
  • 18. 18    โครงสรางรายวิชาเพิ่มเติมการสื่อสารและการนําเสนอ ระดับมัธยมศึกษาปที่ 4 หนวยที่ ชื่อหนวยการเรียนรู ผลการเรียนรู สาระสําคัญ ชั่วโมง น้ําหนักคะแนน 1 ฝ ก ซ อ ม เ ขี ย น 1.วางโครงรางการเขียน การฝ ก เขี ย นโครงร า งรายงาน 6/8 20 โครงราง ต า ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ เชิงวิชาการซึ่งมีองคประกอบดวย องคประกอบและวิธีการ ชื่ อ เรื่ อ ง ความนํ า วั ต ถุ ป ระสงค เขียนโครงราง สมมุ ติ ฐ าน ขอบเขตการศึ ก ษา เนื้อหา วิธีการศึกษาและการเก็บ รวบรวมข อ มู ล เป น การวาง แผนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ อ ย า ง เ ป น ร ะ บ บ แ ล ะ ก า ร ตรวจสอบทั้ ง ด ว ยตนเอง และ เพื่ อ นช ว ย ต ร ว จ ส อ บ โ ด ย ใ ช สัญ ลัก ษณในการตรวจสอบชวย ใหรายงานเชิงวิชาการนั้นถูกตอง แมนยําและสมบูรณยิ่งขึ้น 2 สรางผลงานเขียน 2. เขียนรายงานการศึกษา การถ า ยโอนองค ค วามรู จ าก 18 / 28 40 คน คว า เชิ ง วิ ช าการภาษา การศึกษา คนควา และขอคนพบ ไทย ความยาว 4,000 คํ า โดยการรายงานที่ใชรูปแบบการ ห รื อ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ เขียนรายงานเชิงวิชาการไดครบ ความยาว 2,500 คํา องค ป ระกอบและถู ก ต อ งตาม หลัก วิ ช าการเป น การสื่ อ สารที่ มี ประสิทธิภาพ 3 เพียรนําเสนอ 3. นํ า เ ส น อ ข อ ค น พ บ การนําเสนอผลงานจากการศึกษา 12 / 20 30 ข อ สรุ ป จากประเด็ น ที่ คนควา ขอคนพบโดยมีการเตรียม เลื อ กในรู ป แบบเดี่ ย ว ค ว า ม พ ร อ ม ข อ ง ผู นํ า เ ส น อ (Oral individual การเลื อ กรู ป แบบประเภทสื่ อ presentation) หรือกลุม ป ร ะ ก อ บ ก า ร นํ า เ ส น อ ใ ห (Oral panel presentation) เหมาะสม และสอดคลองกับตาม โดยใช สื่ อ เทคโนโลยี ที่ ความตองการ ความสนใจ ความ หลากหลาย ชื่ น ชอบ ของผู ฟ ง ช ว ยให ก าร เ ผ ย แ พ ร ผ ล ง า น ไ ด อ ย า ง มี ประสิทธิผล 4 Show and Share 5. เห็นประโยชนและ การเผยแพร ผ ลงานการเขี ย น 4/4 10 คุณคาในการสรางสรรค รายงานการค น คว า ด ว ยการจั ด งานและถายทอดสิ่งที่ นิทรรศการ / เผยแพรดวยวิธีการที่ เรียนรูแกสาธารณะ หลากหลาย รวม 40 / 60 100
  • 19. 19    การออกแบบหนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 ชื่อหนวยการเรียนรู เขียนโครงราง รายวิชาเพิ่มเติม การสื่อสารและการนําเสนอ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 6 ชั่วโมง เปาหมายการเรียนรู (ผลการเรียนรู) 1. วางโครงรางการเขียนตามหลักเกณฑ องคประกอบและวิธีการเขียนโครงราง ความเขาใจที่คงทน (สาระสําคัญ / ความคิดรวบยอด) คําถามสําคัญ การเขียนโครงรางรายงานเชิงวิชาการ มีองคประกอบคือ - การเขียนโครงรางรายงานเชิงวิชาการ ชื่ อ เรื่ อ ง ความนํ า วั ต ถุ ป ระสงค สมมุ ติ ฐ าน ขอบเขต มีองคประกอบอยางไร การศึกษา เนื้อหา วิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมขอมูล - การเขียนโครงรางรายงานเชิงวิชาการ เปนการวางแผนการเขียนรายงานเชิงวิชาการอยางเปนระบบ ที่สมบูรณมีลักษณะอยางไร และการตรวจสอบทั้งดวยตนเอง และเพื่อนชวยตรวจสอบ โดยใช สั ญ ลั ก ษณ ใ นการตรวจสอบช ว ยให ร ายงานเชิ ง วิชาการนั้นถูกตองแมนยําและสมบูรณยิ่งขึ้น ผูเรียนรูอะไร (สาระการเรียนรู) ผูเรียนทําอะไรได (ทักษะ / ทักษะกระบวนการ) การวางโครงรางการเขียนรายงานเชิงวิชาการ - เขียนโครงรางรายงานเชิงวิชาการ - องคประกอบของโครงราง - ทํางานรวมกับผูอื่นตามกระบวนการกลุม - ชื่อเรื่อง - ตรวจสอบงานเขียนโครงรางเชิงวิชาการ - ความนํา - วิพากษงานเขียนโครงรางของผูอื่น - วัตถุประสงค - นําขอวิพากษมาปรับปรุงงานเขียนโครงราง - สมมุติฐาน ของตน - ขอบเขตการศึกษาคนควา - เนื้อเรื่อง - วิธีการศึกษาและรวบรวมขอมูล คุณลักษณะที่พึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมั่นในการทํางาน การออกแบบการวัดผลประเมินผล ภาระงานรวบยอด / ชิ้นงาน โครงรางรายงานเชิงวิชาการฉบับสมบูรณ เกณฑการประเมินภาระงาน / ชิ้นงาน (ระบุประเด็นประเมิน) - ความครบถวนขององคประกอบโครงรางรายงานเชิงวิชาการ - ความถูกตองสมบูรณของโครงรางรายงานเชิงวิชาการ
  • 20. 20    รองรอยการเรียนรูอื่น ๆ - แบบบันทึกตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการตรวจสอบ / วิพากษ - แบบบันทึกการประเมินการเขียนโครงรางรายงานเชิงวิชาการ - แบบบันทึกเกี่ยวกับกระบวนการทํางาน การวางแผนการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู นักเรียนจะ 1. ศึกษาวิธีเขียนองคประกอบโครงรางรายงานเชิงวิชาการฉบับสมบูรณ 2. รวมกันฝกเขียนองคประกอบโครงรางรายงานเชิงวิชาการ 3. กลุมอภิปรายการเขียนองคประกอบโครงรางรายงานเชิงวิชาการ 4. สรุปผลการอภิปรายการเขียนองคประกอบโครงรางรายงานเชิงวิชาการของกลุมเตรียมนําเสนอ 5. กลุมนําเสนอโครงรางรายงานเชิงวิชาการ 6. รวมกันตรวจสอบและวิพากษความสมบูรณของโครงรางรายงานเชิงวิชาการ 7. กลุมปรับโครงรางรายงานเชิงวิชาการตามขอเสนอแนะ 8. นักเรียนแตละคนนําแนวทางการจัดทําโครงรางรายงานเชิงวิชาการที่ถูกตอง ไปจัดทําโครงรางรายงาน เชิงวิชาการของตนเอง สื่อ / แหลงเรียนรู 1. ตัวอยางการเขียนโครงรางรายงานเชิงวิชาการ 2. แหลงคนควาอางอิง เชน อินเทอรเน็ต หนังสือ บุคคล ฯลฯ
  • 21. 21    หนวยการเรียนรูที่ 2 ชื่อหนวยการเรียนรู สรางผลการเขียน รายวิชาเพิ่มเติม การสื่อสารและการนําเสนอ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 18 ชั่วโมง เปาหมายการเรียนรู (ผลการเรียนรู) 3. เขียนรายงานการศึกษาคนควาเชิงวิชาการภาษาไทย ความยาว 4,000 คํา หรือภาษาอังกฤษ 2,500 คํา ความเขาใจที่คงทน (สาระสําคัญ /ความคิดรวบยอด) คําถามสําคัญ การถายโอนองคความรูจากการศึกษา คนควา และ - องคประกอบของรายงานเชิงวิชาการมีอะไรบาง และแตละ ขอคนพบโดยการรายงานที่ใชรูปแบบการเขียนรายงาน องคประกอบมีวิธีการเขียนอยางไร เชิงวิชาการไดครบองคประกอบและถูกตองตามหลัก - การตรวจสอบงานเขียนมีวิธีการตรวจสอบอยางไรและใช วิชาการเปนการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สัญลักษณอยางไร - มารยาทในการวิพากษงานผูอื่นมีอยางไร ผูเรียนรูอะไร (สาระการเรียนรู) ผูเรียนทําอะไรได (ทักษะ / ทักษะกระบวนการ) การเขียนรายงานเชิงวิชาการ โดยมีองคประกอบ - เขียนรายงานเชิงวิชาการฉบับสมบูรณ 3 สวน - ทํางานรวมกับผูอื่นตามกระบวนการกลุม 1) องคประกอบสวนหนา - ตรวจสอบงานเขียนเชิงวิชาการโดยใชสัญลักษณ - ปกนอก ปกใน - วิพากษงานเขียนของผูอื่น - บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ - นําขอวิพากษมาปรับปรุงงานเขียนของตนได - สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ 2) องคประกอบสวนเนื้อเรื่อง - ความนํา วัตถุประสงค สมมุติฐาน ขอบเขต - เนื้อเรื่อง - วิธีการรวบรวมและวิเคราะหขอมูล - ผลการศึกษา - บทสรุป และอภิปรายผล 3) องคประกอบสวนทาย - บรรณานุกรม ภาคผนวก - ประวัติผูจัดทํา คุณลักษณะที่พึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมั่นในการทํางาน การออกแบบการวัดผลประเมินผล ภาระงานรวบยอด / ชิ้นงาน รายงานเชิงวิชาการฉบับสมบูรณ