SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
ประวัติและที่มา
ของ
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเกิดจากชนชาติไทยเองและการ
เลียนแบบชนชาติอื่นๆ ที่อยู่ใกล้ชิดโดยเริ่มตั้งแต่สมัย
โบราณที่ไทยตั้งถิ่นฐานอยู่ในอาณาจักร ฉ่องหวู่ ดินแดน
ของประเทศจีนในปัจจุบัน ทาให้เครื่องดนตรีไทยและจีนมี
การแลกเปลี่ยนเลียนแบบกัน นอกจากนี่ยังมีเครื่องดนตรี
อีกหลายชนิด ที่ชนชาติไทยประดิษฐ์ขึ้นใช้ก่อนที่จะมาพบ
วัฒนธรรมอินเดีย ซึ่งแพร่หลายอยู่ทางตอนใต้ของแหลม
อินโดจีน สาหรับชื่อเครื่องดนตรีดั้งเดิมของไทยจะเรียน
ตามคาโดดในภาษาไทย เช่น เกราะ โกร่ง กรับ ฉิ่ง ฉาบ
ขลุ่ย พิณเพี๊ยะ ซอ ฆ้องและกลอง ต่อมาได้มีการประดิษฐ์
เครื่องดนตรีให้พัฒนาขึ้น โดยนาไม้ที่ทาเหมือนกรับ
หลายอันมาวางเรียงกันได้เครื่องดนตรีใหม่ เรียกว่า
ระนาดหรือนาฆ้องหลาย ๆ ใบมาทาเป็นวงเรียกว่า ฆ้อง
วง เป็นต้น
ขลุ่
ย
• ขลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีโบราณของไทยชนิดหนึ่ง ได้ผ่านการวิวัฒนาการมาเป็น
ระยะเวลายาวนาน มาจากปี่อ้อซึ่งตัวปี่หรือเลาทาจากไม้รวกท่อนเดียวไม่มีข้อ และมี
ลิ้นซึ่งทาด้วยไม้อ้อลาเล็กสาหรับเป่าให้เกิดเสียง หลังจากนั้นจึงปรับเปลี่ยนรูปร่าง
และวิธีเป่าจนกลายมาเป็นขลุ่ยอย่างที่เรียกกันในปัจจุบันนี้ว่าเป็น ขลุ่ยเพียงออ
– ประเภทของขลุ่ยมี 9 ประเภท
1. ขลุ่ยเพียงออ
2. ขลุ่ยหลีบหรือขลุ่ยหลีก
3. ขลุ่ยอู้
4. ขลุ่ยรองออ
5. ขลุ่ยเคียงออ
6. ขลุ่ยกรวด
7. ขลุ่ยออร์แกน
8. ขลุ่ยนก
9. ขลุ่ยพล
ตัวอย่างเสียงขลุ่ย
BY : PAWANRAT PROMTONG
ปี่
• ปี่ เป็นเครื่องดนตรีไทย ทาด้วยไม้จริงเช่นไม้ชิงชันหรือไม้พยุง กลึงให้เป็นรูป
บานหัวบานท้าย ตรงกลางป่อง เจาะภายในให้กลวงตลอดเลา ทางหัวของปี่เป็น
ช่องรูเล็กส่วนทาง ปลายของปี่ ปากรูใหญ่ใช้ชันหรือวัสดุอย่างอื่นมาหล่อเสริมขึ้น
อีกราวข้างละ ครึ่งซม ส่วนหัวเรียก ทวนบน ส่วนท้ายเรียก ทวนล่าง ตอนกลาง
ของปี่ เจาะรูนิ้วสาหรับเปลี่ยนเสียงลงมาจานวน 6 รู ตรงกลางของเลาปี่ กลึงขวั้น
เป็นเกลียวคู่ไว้เป็นจานวน 14 คู่ เพื่อความสวยงามและกันลื่นอีกด้วย ตรงทวนบน
นั้นใส่ลิ้นปี่ที่ทาด้วยใบตาลซ้อนกัน 4 ชั้น ตัดให้กลมแล้วนาไปผูกติดกับท่อลม
เล็กๆที่ เรียกว่า กาพวด
– ปี่ของไทยนั้น มีด้วยกัน 3 ชนิด
1. ปี่นอก
2. ปี่กลาง
3. ปี่ใน
ตัวอย่างเสียงปี่
ใน
BY : Kamolvich Chamni
ระนา
ด
• ระนาด เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่ง ประกอบด้วย ลูกระนาด ร้อยด้วยเชือก
เรียกว่า "ผืน" แขวนไว้กับ ราง ซึ่งทาหน้าที่รองรับลูกระนาด และทาหน้าที่เป็น
กล่องเสียงด้วย ผู้เล่นจะใช้ไม้ตี จานวน 2 อัน สาหรับตีลูกระนาดให้เกิดเป็น
ท่วงทานอง
• ไม้ตีระนาด มีด้วยกัน 2 แบบ คือ ไม้นวม จะให้เสียงที่ฟังแล้วรู้สึกได้ถึงความ
ไพเราะ นุ่มนวลที่หัวของไม้ จะใช้ผ้าพันให้เป็นนวมก่อนจากนั้นจะใช้เส้นได้พันทับอีก
ที ไม้ตี ระนาดชนิดนี้นิยมใช้เล่นบรรเลงในวงมโหรี, วงปี่พาทย์ไม้นวม และ ไม้แข็ง
ซึ่งจะให้เสียงที่ฟังแล้วรู้สึกถึงความมีอานาจ และแข็งแกร่ง ลักษณะของไม้จะพัน
เช่นเดียวกันกับไม้นวม เพียงแต่จะชุบด้วย "รัก" เป็นระยะ และที่ชั้นนอกสุด แล้วจึง
พันอีกครั้งด้วยผ้าดิบบาง ๆ เป็นอันเสร็จ ทาให้ได้หัวไม้ที่แข็ง และสังเกตได้ง่าย ๆ
ที่สีของหัวไม้ซึ่งจะดาสนิท
– ระนาดของไทยนั้น มีด้วยกัน 4 ชนิด ดังนี้
1. ระนาดทุ้มระนาดทุ้ม
2. ระนาดทุ้มเหล็ก
3. ระนาดเอก
4. ระนาดเอกเหล็ก
ตัวอย่างเสียงระนาดเอก
BY : PAWANRAT PROMTONG
ซอ
• ซอ เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่งจาพวกเครื่องสาย ทาให้เกิดเสียงโดยการใช้คัน
ชักสีเข้ากับสายที่ขึงเอาไว้
– ประเภทของซอมี 3 ประเภท
1. ซอด้วง
2. ซออู้
3. ซอสามสาย
ตัวอย่างเสียงซอ
BY : วัน เวลาดี
ฆ้อง
• เป็นเครื่องดนตรีประเภทเพอร์คัชชันทาด้วยโลหะที่มีหลายรูปแบบ คาว่าฆ้องนั้นมี
ที่ว่าจากภาษาชวา ปรากฏการใช้ฆ้องในหลายชาติในทวีปเอเชีย เช่น จีน อินโดนีเซีย
ไทย มาเลเซีย เป็นต้น ปัจจุบันฆ้องเข้าไปมีส่วนในดนตรีตะวันตกด้วยเช่นกัน
– ประเภทของฆ้องมี 5 ประเภท
1.ฆ้องวงใหญ่
2.ฆ้องวงเล็ก
3.ฆ้องมอญ
4.ฆ้องราว
5.ฆ้องคู่
ตัวอย่างเสียงฆ้อง
BY : PAWANRAT PROMTONG
พิณ
• พิณ เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายแบบหนึ่ง มีหลายชนิดแตกต่างตาม
ท้องที่ ในภาคอีสานของประเทศไทย พิณอาจมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น
เช่น "ซุง" หรือ "เต่ง" จัดเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย มีรูปร่างคล้ายกีตาร์
แต่มีขนาดเล็กกว่า โดยทั่วไปมี 3 สาย ในบางท้องถิ่นอาจมี 2 หรือ 4 สาย
บรรเลงโดยการดีดด้วยวัสดุทีเป็นแผ่นบาง เช่นไม้ไผ่เหลา หรืออาจใช้ปิ้กกีตาร์ดีด
ก็ได้ สมัยก่อนจะเล่นเครื่องเดียวเพื่อเกี้ยวสาว ปัจจุบันมักใช้บรรเลงในวงดนตรี
โปงลาง วงดนตรีลาซิ่ง หรือวงดนตรีลูกทุ่ง
– ประเภทของพิณมี 5 ประเภท
1.พิณน้าเต้า
2.พิณเพียะ
3.กระจับปี่
4.พิณพื้นบ้าน
5.พิณไห
ตัวอย่างเสียง
พิณ
BY : ทองเบส ทับถนน
ขิม
• ขิม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้คาอธิบายไว้ว่า "เครื่อง
ดนตรีจีนชนิดหนึ่ง รูปคล้ายพระจันทร์ครึ่งซีกใช้ตี" ขิมถูกนาเข้ามาใน
ประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยชาวจีนนามาบรรเลงรวมอยู่ในวง
เครื่องสายจีน และประกอบการแสดงงิ้วบ้าง บรรเลงในงานเทศกาล
และงานรื่นเริงต่าง ๆ บ้าง
• คาว่า ขิม มาจากภาษาจีนฮกเกี้ยน ซึ่งมาจากอักษรจีน 琴 ซึ่งใน
ภาษาจีนกลางอ่านว่า ฉิน
ตัวอย่างเสียงขิม
BY : วิเศษดนตรี
จะเ
ข้
• จะเข้ เป็นเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด มี 3 สาย สันนิษฐานกัน
ว่าได้รับอิทธิพลมาจากมอญ และได้ปรับปรุงแก้ไขมาจากพิณ คือ
กระจับปี่ซึ่งมี 4 สาย นามาวางดีดกับพื้นเพื่อความสะดวก มีประวัติและมี
หลักฐานครั้งแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยา จะเข้ได้นาเข้าร่วมบรรเลงอยู่ในวง
มโหรีคู่กับกระจับปี่ในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีผู้นิยมเล่น
จะเข้กันมาก ทาให้กระจับปี่ค่อย ๆ หายไปในปัจจุบัน เนื่องจากหาผู้เล่น
เป็นน้อย
ตัวอย่างเสียงจระเข้
BY : PAWANRAT PROMTONG
ตะโพน
• ตะโพน เป็นเครื่องดนตรีที่ขึงด้วยหนัง ตัวตะโพนทาด้วยไม้สักหรือไม้ขนุน
เรียกว่า หุ่น ขุดแต่งให้เป็นโพรงภายใน ขึ้นหนัง 2 หน้า ดึงด้วยสายหนังโยงเร่ง
เสียงเรียกว่า หนังเรียด หน้าใหญ่มีความกว้างประมาณ 25 ซม เรียกว่า หน้าเท่ง
ติดหน้าด้วยข้าวสุกบดผสมกับขี้เถ้าเพื่อถ่วงเสียง อีกหน้าหนึ่งเล็กกว่ามีขนาด
ประมาณ 22 ซม เรียกว่า หน้ามัด ตัวกลองยาวประมาณ 48 ซม รอบ ๆ ขอบหนัง
ที่ขึ้นหน้า ถักด้วยหนังที่ตีเกลียวเป็นเส้นเล็กๆ เรียกว่า ไส้ละมาน แล้วจึงเอาหนัง
เรียดร้อยในช่วงของไส้ละมานทั้งสองข้าง โยงเรียงไปโดยรอบจนมองไม่เห็นไม้หุ่น
มีหนังพันตรงกลางเรียกว่า รัดอก ข้างบนรัดอกทาเป็นหูหิ้วและมีเท้ารองให้ ตัว
ตะโพนวางนอนอยู่บนเท้า ใช้ฝ่ามือซ้ายขวาตีได้ทั้งสองหน้า ใช้สาหรับประกอบ
จังหวะผสมอยู่ในวงปี่พาทย์ ทาหน้าที่กากับจังหวะหน้าทับต่าง ๆ
ตัวอย่างการเล่น
ดนตรีไทย
BY : วิเศษดนตรี
เสนอ
อาจารย์อนพัทย์ หรีรักษ์
จัดทาโดย
นางสาวฉัตรฐริกา กองคา เลขที่ 4
นางสาวจารุวรรณ อิ่มภู เลขที่ 19
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1

More Related Content

Similar to งานคอมเครื่องดนตรีไทย

ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนpeter dontoom
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยlove5710
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีleemeanxun
 
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...pinglada1
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguestec5984
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์kruood
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือtonsocial
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมRuz' Glaow
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยJirapan Kamking
 
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยleemeanshun minzstar
 

Similar to งานคอมเครื่องดนตรีไทย (20)

ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
วงแตรวง และวงโยธวาทิต
วงแตรวง และวงโยธวาทิตวงแตรวง และวงโยธวาทิต
วงแตรวง และวงโยธวาทิต
 
Music
MusicMusic
Music
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยม
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
 

งานคอมเครื่องดนตรีไทย

  • 1.
  • 2. ประวัติและที่มา ของ เครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีไทยเกิดจากชนชาติไทยเองและการ เลียนแบบชนชาติอื่นๆ ที่อยู่ใกล้ชิดโดยเริ่มตั้งแต่สมัย โบราณที่ไทยตั้งถิ่นฐานอยู่ในอาณาจักร ฉ่องหวู่ ดินแดน ของประเทศจีนในปัจจุบัน ทาให้เครื่องดนตรีไทยและจีนมี การแลกเปลี่ยนเลียนแบบกัน นอกจากนี่ยังมีเครื่องดนตรี อีกหลายชนิด ที่ชนชาติไทยประดิษฐ์ขึ้นใช้ก่อนที่จะมาพบ วัฒนธรรมอินเดีย ซึ่งแพร่หลายอยู่ทางตอนใต้ของแหลม อินโดจีน สาหรับชื่อเครื่องดนตรีดั้งเดิมของไทยจะเรียน ตามคาโดดในภาษาไทย เช่น เกราะ โกร่ง กรับ ฉิ่ง ฉาบ ขลุ่ย พิณเพี๊ยะ ซอ ฆ้องและกลอง ต่อมาได้มีการประดิษฐ์ เครื่องดนตรีให้พัฒนาขึ้น โดยนาไม้ที่ทาเหมือนกรับ หลายอันมาวางเรียงกันได้เครื่องดนตรีใหม่ เรียกว่า ระนาดหรือนาฆ้องหลาย ๆ ใบมาทาเป็นวงเรียกว่า ฆ้อง วง เป็นต้น
  • 3. ขลุ่ ย • ขลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีโบราณของไทยชนิดหนึ่ง ได้ผ่านการวิวัฒนาการมาเป็น ระยะเวลายาวนาน มาจากปี่อ้อซึ่งตัวปี่หรือเลาทาจากไม้รวกท่อนเดียวไม่มีข้อ และมี ลิ้นซึ่งทาด้วยไม้อ้อลาเล็กสาหรับเป่าให้เกิดเสียง หลังจากนั้นจึงปรับเปลี่ยนรูปร่าง และวิธีเป่าจนกลายมาเป็นขลุ่ยอย่างที่เรียกกันในปัจจุบันนี้ว่าเป็น ขลุ่ยเพียงออ – ประเภทของขลุ่ยมี 9 ประเภท 1. ขลุ่ยเพียงออ 2. ขลุ่ยหลีบหรือขลุ่ยหลีก 3. ขลุ่ยอู้ 4. ขลุ่ยรองออ 5. ขลุ่ยเคียงออ 6. ขลุ่ยกรวด 7. ขลุ่ยออร์แกน 8. ขลุ่ยนก 9. ขลุ่ยพล
  • 5. ปี่ • ปี่ เป็นเครื่องดนตรีไทย ทาด้วยไม้จริงเช่นไม้ชิงชันหรือไม้พยุง กลึงให้เป็นรูป บานหัวบานท้าย ตรงกลางป่อง เจาะภายในให้กลวงตลอดเลา ทางหัวของปี่เป็น ช่องรูเล็กส่วนทาง ปลายของปี่ ปากรูใหญ่ใช้ชันหรือวัสดุอย่างอื่นมาหล่อเสริมขึ้น อีกราวข้างละ ครึ่งซม ส่วนหัวเรียก ทวนบน ส่วนท้ายเรียก ทวนล่าง ตอนกลาง ของปี่ เจาะรูนิ้วสาหรับเปลี่ยนเสียงลงมาจานวน 6 รู ตรงกลางของเลาปี่ กลึงขวั้น เป็นเกลียวคู่ไว้เป็นจานวน 14 คู่ เพื่อความสวยงามและกันลื่นอีกด้วย ตรงทวนบน นั้นใส่ลิ้นปี่ที่ทาด้วยใบตาลซ้อนกัน 4 ชั้น ตัดให้กลมแล้วนาไปผูกติดกับท่อลม เล็กๆที่ เรียกว่า กาพวด – ปี่ของไทยนั้น มีด้วยกัน 3 ชนิด 1. ปี่นอก 2. ปี่กลาง 3. ปี่ใน
  • 7. ระนา ด • ระนาด เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่ง ประกอบด้วย ลูกระนาด ร้อยด้วยเชือก เรียกว่า "ผืน" แขวนไว้กับ ราง ซึ่งทาหน้าที่รองรับลูกระนาด และทาหน้าที่เป็น กล่องเสียงด้วย ผู้เล่นจะใช้ไม้ตี จานวน 2 อัน สาหรับตีลูกระนาดให้เกิดเป็น ท่วงทานอง • ไม้ตีระนาด มีด้วยกัน 2 แบบ คือ ไม้นวม จะให้เสียงที่ฟังแล้วรู้สึกได้ถึงความ ไพเราะ นุ่มนวลที่หัวของไม้ จะใช้ผ้าพันให้เป็นนวมก่อนจากนั้นจะใช้เส้นได้พันทับอีก ที ไม้ตี ระนาดชนิดนี้นิยมใช้เล่นบรรเลงในวงมโหรี, วงปี่พาทย์ไม้นวม และ ไม้แข็ง ซึ่งจะให้เสียงที่ฟังแล้วรู้สึกถึงความมีอานาจ และแข็งแกร่ง ลักษณะของไม้จะพัน เช่นเดียวกันกับไม้นวม เพียงแต่จะชุบด้วย "รัก" เป็นระยะ และที่ชั้นนอกสุด แล้วจึง พันอีกครั้งด้วยผ้าดิบบาง ๆ เป็นอันเสร็จ ทาให้ได้หัวไม้ที่แข็ง และสังเกตได้ง่าย ๆ ที่สีของหัวไม้ซึ่งจะดาสนิท – ระนาดของไทยนั้น มีด้วยกัน 4 ชนิด ดังนี้ 1. ระนาดทุ้มระนาดทุ้ม 2. ระนาดทุ้มเหล็ก 3. ระนาดเอก 4. ระนาดเอกเหล็ก
  • 9. ซอ • ซอ เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่งจาพวกเครื่องสาย ทาให้เกิดเสียงโดยการใช้คัน ชักสีเข้ากับสายที่ขึงเอาไว้ – ประเภทของซอมี 3 ประเภท 1. ซอด้วง 2. ซออู้ 3. ซอสามสาย
  • 11. ฆ้อง • เป็นเครื่องดนตรีประเภทเพอร์คัชชันทาด้วยโลหะที่มีหลายรูปแบบ คาว่าฆ้องนั้นมี ที่ว่าจากภาษาชวา ปรากฏการใช้ฆ้องในหลายชาติในทวีปเอเชีย เช่น จีน อินโดนีเซีย ไทย มาเลเซีย เป็นต้น ปัจจุบันฆ้องเข้าไปมีส่วนในดนตรีตะวันตกด้วยเช่นกัน – ประเภทของฆ้องมี 5 ประเภท 1.ฆ้องวงใหญ่ 2.ฆ้องวงเล็ก 3.ฆ้องมอญ 4.ฆ้องราว 5.ฆ้องคู่
  • 13. พิณ • พิณ เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายแบบหนึ่ง มีหลายชนิดแตกต่างตาม ท้องที่ ในภาคอีสานของประเทศไทย พิณอาจมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น เช่น "ซุง" หรือ "เต่ง" จัดเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย มีรูปร่างคล้ายกีตาร์ แต่มีขนาดเล็กกว่า โดยทั่วไปมี 3 สาย ในบางท้องถิ่นอาจมี 2 หรือ 4 สาย บรรเลงโดยการดีดด้วยวัสดุทีเป็นแผ่นบาง เช่นไม้ไผ่เหลา หรืออาจใช้ปิ้กกีตาร์ดีด ก็ได้ สมัยก่อนจะเล่นเครื่องเดียวเพื่อเกี้ยวสาว ปัจจุบันมักใช้บรรเลงในวงดนตรี โปงลาง วงดนตรีลาซิ่ง หรือวงดนตรีลูกทุ่ง – ประเภทของพิณมี 5 ประเภท 1.พิณน้าเต้า 2.พิณเพียะ 3.กระจับปี่ 4.พิณพื้นบ้าน 5.พิณไห
  • 15. ขิม • ขิม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้คาอธิบายไว้ว่า "เครื่อง ดนตรีจีนชนิดหนึ่ง รูปคล้ายพระจันทร์ครึ่งซีกใช้ตี" ขิมถูกนาเข้ามาใน ประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยชาวจีนนามาบรรเลงรวมอยู่ในวง เครื่องสายจีน และประกอบการแสดงงิ้วบ้าง บรรเลงในงานเทศกาล และงานรื่นเริงต่าง ๆ บ้าง • คาว่า ขิม มาจากภาษาจีนฮกเกี้ยน ซึ่งมาจากอักษรจีน 琴 ซึ่งใน ภาษาจีนกลางอ่านว่า ฉิน
  • 17. จะเ ข้ • จะเข้ เป็นเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด มี 3 สาย สันนิษฐานกัน ว่าได้รับอิทธิพลมาจากมอญ และได้ปรับปรุงแก้ไขมาจากพิณ คือ กระจับปี่ซึ่งมี 4 สาย นามาวางดีดกับพื้นเพื่อความสะดวก มีประวัติและมี หลักฐานครั้งแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยา จะเข้ได้นาเข้าร่วมบรรเลงอยู่ในวง มโหรีคู่กับกระจับปี่ในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีผู้นิยมเล่น จะเข้กันมาก ทาให้กระจับปี่ค่อย ๆ หายไปในปัจจุบัน เนื่องจากหาผู้เล่น เป็นน้อย
  • 19. ตะโพน • ตะโพน เป็นเครื่องดนตรีที่ขึงด้วยหนัง ตัวตะโพนทาด้วยไม้สักหรือไม้ขนุน เรียกว่า หุ่น ขุดแต่งให้เป็นโพรงภายใน ขึ้นหนัง 2 หน้า ดึงด้วยสายหนังโยงเร่ง เสียงเรียกว่า หนังเรียด หน้าใหญ่มีความกว้างประมาณ 25 ซม เรียกว่า หน้าเท่ง ติดหน้าด้วยข้าวสุกบดผสมกับขี้เถ้าเพื่อถ่วงเสียง อีกหน้าหนึ่งเล็กกว่ามีขนาด ประมาณ 22 ซม เรียกว่า หน้ามัด ตัวกลองยาวประมาณ 48 ซม รอบ ๆ ขอบหนัง ที่ขึ้นหน้า ถักด้วยหนังที่ตีเกลียวเป็นเส้นเล็กๆ เรียกว่า ไส้ละมาน แล้วจึงเอาหนัง เรียดร้อยในช่วงของไส้ละมานทั้งสองข้าง โยงเรียงไปโดยรอบจนมองไม่เห็นไม้หุ่น มีหนังพันตรงกลางเรียกว่า รัดอก ข้างบนรัดอกทาเป็นหูหิ้วและมีเท้ารองให้ ตัว ตะโพนวางนอนอยู่บนเท้า ใช้ฝ่ามือซ้ายขวาตีได้ทั้งสองหน้า ใช้สาหรับประกอบ จังหวะผสมอยู่ในวงปี่พาทย์ ทาหน้าที่กากับจังหวะหน้าทับต่าง ๆ
  • 21. เสนอ อาจารย์อนพัทย์ หรีรักษ์ จัดทาโดย นางสาวฉัตรฐริกา กองคา เลขที่ 4 นางสาวจารุวรรณ อิ่มภู เลขที่ 19 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1