SlideShare a Scribd company logo
1 of 144
Download to read offline
(1)




         ภาพอนาคต
            และ
คุณลักษณะของคนไทยทีพงประสงค์
                   ่ ึ




  เอกสารชดโครงการวถการเรยนรของคนไทย ลำดบท่ี 2
         ุ        ิี    ี ู้           ั
      สำนกงานคณะกรรมการการศกษาแหงชาติ
           ั                 ึ     ่
(2)

370.112          สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
ส 691 ภ               ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยทีประสงค์/  ่
                 เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์.กรุงเทพ ฯ : โครงการ
                                           ั
                 วิถการเรียนรูของคนไทย , 2546.
                      ี          ้
                        125,(18) หน้า
                        ISBN : 974-351-867-3
                        1. สังคมไทย - วิจย 2. คนไทยทีพงประสงค์ -
                                         ั              ่ ึ
                 วิจย 3.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ 4. ชือเรือง
                    ั                            ั       ่ ่

ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยทีประสงค์
                                 ่
โดย เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์.
                           ั
สิงพิมพ์ สกศ.
  ่                   อันดับที่ 35/2546
พิมพ์ครังที่ 1
        ้             มกราคม 2546
จำนวน                 1,000 เล่ม
จัดพิมพ์และเผยแพร่ สำนักพัฒนาการเรียนรูและมาตรฐานการศึกษา
                                        ้
                   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
                   ถนนสุโขทัย เขตดุสต กรุงเทพฯ 10300
                                      ิ
                   โทรศัพท์ 0-2668-7123 ต่อ 2517
                   โทรสาร 0-2243-1129
                   Web Site : http:// www.onec.go.th
                   E-mail : onec@one.go.th
พิมพ์โดย              ห้างหุนส่วนจำกัด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชัน
                            ้                                ่
                      2 ซอยสุขมวิท 65 แขวงพระโขนงเหนือ
                                ุ
                      เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
                      โทรศัพท์ 0-2381-2414 โทรสาร 0-2381-2415
(3)


                                  คำนำ

           เจตนารมณ์และความมุ่งหมายในการจัดการศึกษา คือ
การพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมใน
การดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ซึ่ง
กระบวนการที่สำคัญที่หล่อหลอมให้คนเป็นทรัพยากรมนุษย์
ทมคณภาพนนมใชแตเ่ พยงการศกษาและการเรยนรจากในระบบ
  ่ี ี ุ        ้ั ิ ่ ี                ึ               ี ู้
โรงเรียนเท่านั้น หากแต่เป็นความรับผิดชอบของทุกส่วนของ
สังคมไทย โดยเฉพาะการอบรมเลี้ยงดูในครอบครัว และการเป็น
แบบอย่างที่ดีให้กับเด็กและเยาวชน
           สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ในฐานะ
หน ่ ว ยงานด ้ า นนโยบายและแผนการศ ึ ก ษาของประเทศได ้
ตระหนักในความสำคัญดังกล่าว จึงได้ดำเนินโครงการวิถีการ
เรียนรู้ของคนไทย เพื่อให้ได้คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
และยทธศาสตรของสงคมไทยในการสรางวถการเรยนรู้ ในการใช้
         ุ          ์ ั                        ้ ิี           ี
เป็ น กรอบและแนวทางในการพั ฒ นาเด็ ก และเยาวชนไทยใน
ช่วงแรกเกิดถึงอายุ 20 ปี ด้วยรูปแบบและวิธีการต่างๆ ใน
ลำดับแรกของการดำเนินงานได้มอบหมายให้ศาสตราจารย์
ดร.เกรี ย งศั ก ดิ ์ เจริ ญ วงศ์ ศ ั ก ดิ ์ ดำเนิ น การวิ จ ั ย เอกสารเพื ่ อ
สำรวจคุณ ลั ก ษณะและภาพอนาคตของคนไทยที่พึง ประสงค์
เพื่อเป็นองค์ความรู้ในการกำหนดเป้าหมายคุณลักษณะของ
(4)

คนไทยที่สำคัญและจำเป็น ให้คนในชาติได้เกิดความเข้าใจที่
ตรงกัน อันจะนำมาซึ่งการรวมพลังกันในการพัฒนาคนให้มี
คุณภาพ สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศเข้าสู่สังคมเศรษฐกิจ
ฐานความรู ้ และการนำศั ก ยภาพของคนไทยมาใช้ประโยชน์
อยางเตมท่ี
     ่ ็
         สำนักงานฯ ขอขอบคุณ ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์
เจรญวงศศกด์ิ ทไดดำเนนการวจยและจดทำรายงาน คณลกษณะ
      ิ   ์ ั ่ี ้ ิ        ิั     ั         ุ ั
และภาพอนาคตคนไทยที ่ พ ึ ง ประสงค์ ลุล่วงเป็นอย่างดี
และหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อการจัดทำวิถี
การเรียนรู้ของคนไทย เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคนไทยให้เป็น
ผมคณภาพเพอรวมกนพฒนาประเทศสบไป
  ู้ ี ุ      ่ื ่ ั ั               ื



                           (นายรง แกวแดง)
                                ุ่ ้
                 เลขาธการคณะกรรมการการศกษาแหงชาติ
                      ิ                 ึ   ่
(5)

                           คำชี้แจง

       คนเป็ น กุ ญ แจสำคั ญ ที ่ ส ุ ด ในการกำหนดอนาคตของ
ประเทศ การกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศจำเป็นต้อง
พฒนาคนใหกลายเปน “กญแจดอกสำคญ” ทสามารถไขประตสู่
  ั           ้            ็ ุ               ั   ่ี             ู
ความรุ่งโรจน์ได้ในอนาคต และเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว
ส่งผลให้ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา การพัฒนาคนในประเทศ
ได้ฝากไว้กับคุณภาพทางการศึกษาเป็นสำคัญ ตามที่ได้บัญญัติ
ไว้ในพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ หมวด 1 มาตรา 6 ว่า
                         ิ
       “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็น
มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และ
คุณธรรม”
       หากพิจารณาตามตัวบทนี้ จะเห็นว่าเป้าหมายของการจัด
การศกษาเพอพฒนาคนในประเทศมี 6 ประการ คอ
     ึ      ่ื ั                                    ื
                1. มความสมบรณทงรางกายและจตใจ
                       ี           ู ์ ้ั ่           ิ
                2. มสตปญญา : คดได้ คดเปน ประยกตได้
                      ี ิ ั             ิ   ิ ็           ุ ์
                3. มีความรู้
                4. มคณธรรมจรยธรรม
                     ี ุ              ิ
                5. มวฒนธรรม
                     ีั
                6. อยูรวมกับผูอนได้อย่างมีความสุข
                         ่่      ้ ่ื
       เป้าหมายดังกล่าว เมือพิจารณาร่วมกับบริบทความเปลียน
                               ่                              ่
แปลงของกระแสโลกาภวตน์ อาจกลาวไดวา ยงไมเ่ พยงพอในการ
                            ิั            ่ ้่ ั        ี
(6)

เปนเครองยนยนวา จะสามารถพฒนาคนไทยใหเปนคนทกำหนด
    ็ ่ื ื ั ่                                    ั                     ้ ็    ่ี
อนาคตของประเทศได้ เนองจากกระแสโลกาภวตน์ กอใหเ้ กดการ
                                  ่ื                               ิั ่           ิ
เปลี่ยนแปลงของสังคมจากเดิมในหลาย ๆ เรื่อง เราจำเป็นต้อง
เริ่มตั้งแต่ก้าวที่หนึ่งนั่นคือ การกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันก่อนว่า
“คนที่พึงประสงค์ควรมีคุณลักษณะเช่นไร?” เพื่อทำให้เรา
มั่นใจว่าอนาคตของประเทศชาติจะมีทั้งความมั่นคงและมั่งคั่ง
มิใช่ความอ่อนแอและยากไร้ เราจำเป็นต้องกำหนดวิสัยทัศน์ใน
การพฒนาคนใหชดเจน มฉะนนการพฒนาคนอาจหลงทศ ผดทาง
        ั           ้ั           ิ ้ั                    ั                    ิ ิ
ไม่ประสบความสำเร็จตามทีคาดหวัง         ่
          รายงานวจยฉบบนจงเปนการตอบคำถามดงกลาว อนเปน
                    ิ ั ั ้ี ึ ็                                          ั ่ ั ็
การดำเนินการสืบเนื่องจากโครงการ “วิถีการเรียนรู้ของคนไทย”
โดยมี ฯพณฯ รองนายกรัฐมนตรีปองพล อดิเรกสาร รับผิดชอบ
กำกับดูแลงานด้านการศึกษา เป็นประธานในการดำเนินการเพือ                               ่
หายทธศาสตรในการพฒนาวถการเรยนรของคนไทย ไดมอบหมาย
     ุ           ์           ั           ิ ี ี ู้                           ้
ให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สกศ.) เป็นผู้
ดำเนิ น การกำหนดคุ ณ ลั ก ษณะที ่ พ ึ ง ประสงค์ ข องคนไทยใน
อนาคต เพื่อหายุทธศาสตร์และกำหนดแนวทางในการพัฒนาวิถี
การเรียนรู้ของคนไทย ให้ได้คนไทยที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ต่อไป
          การศ ึ ก ษาว ิ จ ั ย คร ั ้ ง น ี ้ ม ี ว ั ต ถ ุ ป ระสงค ์ ใ นการสำรวจหา
คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ในอนาคต เพื่อกำหนด
จดหมายใหหนวยงานตาง ๆ ในชาตรวมพลงรวมกนพฒนาคนไทย
  ุ           ้ ่              ่                       ิ        ั ่ ั ั
(7)

ให้มีคุณสมบัติที่พึงประสงค์สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ
ไทยเข้าสู่เศรษฐกิจใหม่และสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ (New
Economy and Knowledge-based Economy) ในอนาคต
และเพอมงใหเกดการนำศกยภาพของคนมาใชอยางเตมท่ี
       ่ื ุ่ ้ ิ             ั                     ้ ่ ็
         ผู้วิจัยได้รวบรวมผลการศึกษา งานวิจัย รายงานและ
วิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะและภาพอนาคตของคน
ไทยที่พึงประสงค์ และได้ดำเนินการศึกษา สังเคราะห์และเรียบ
เรียงให้เห็นภาพอนาคตของคนไทยที่ต้องการจะเห็น /หรือควรจะ
เป็ น โดยครอบคลุ ม ทั ้ ง ด้ า นโครงสร้ า งร่ า งกายและสุ ข ภาพ
ด้านจิตใจ ด้านสติปญญา ความรู้ ความสามารถ ด้านสังคม ศิลปะ
                       ั
การใช้ชีวิต การอาชีพและสุนทรียะ อันจะนำไปสู่การสร้างกรอบ
การพัฒนาคนไทยให้มีลักษณะที่พึงประสงค์ทุกช่วงวัย นับตั้งแต่
แรกเกิดจนกระทั่งบรรลุนิติภาวะ
         ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า งานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ
สถาบัน หรือองค์กรต่าง ๆ อาทิ สถาบันครอบครัว สถาบัน
การศึกษา สื่อสารมวลชน สถาบันการเมือง ฯลฯ ในการนำไป
พัฒนา และสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ เพื่อรองรับ
การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตต่อไป

                                เกรยงศกด์ิ เจรญวงศศกด์ิ
                                   ี ั            ิ   ์ ั
                ผอำนวยการสถาบนอนาคตศกษาเพอการพฒนา
                 ู้          ั       ึ       ่ื     ั
                                       พฤศจกายน 2545
                                                ิ
(8)

                      กิตติกรรมประกาศ


        รายงานฉบั บ นี ้ เ ป็ น งานวิ จ ั ย เอกสารที ่ ท างสำนั ก งาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สกศ.) มอบหมายให้ผู้วิจัย
รวบรวมผลการศึกษา งานวิจย รายงานและวิทยานิพนธ์ทเ่ี กียวข้อง
                               ั                                 ่
กับคุณลักษณะและภาพอนาคตของคนไทยที่พึงประสงค์ เพื่อ
ดำเนินการศึกษา สังเคราะห์และเรียบเรียงให้เห็นภาพอนาคต
ของคนไทยที่ต้องการจะเห็น /หรือควรจะเป็น โดยครอบคลุม
ทงดานโครงสรางรางกายและสขภาพ ดานจตใจ ดานสตปญญา
  ้ั ้          ้ ่               ุ          ้ ิ         ้     ิ ั
ความรู้ ความสามารถ ด้านสังคม ศิลปะการใช้ชีวิต การอาชีพ
และสุนทรียะ
        งานวิจยฉบับนีจะสำเร็จสมบูรณ์ไม่ได้หากไม่ได้รบความร่วมมือ
              ั       ้                                    ั
และความช่วยเหลือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก ผู้วิจัยขอ
ขอบคณเปนอยางสงมา ณ โอกาสน้ี
       ุ ็ ่ ู
        กลุ่มแรกที่ผู้วิจัยขอขอบพระคุณอย่างสูง ได้แก่ คณะ-
ทำงานโครงการวิถีการเรียนรู้ของคนไทย : ภาพอนาคตคนไทย
ที่พึงประสงค์ อาทิ ดร.รุ่ง แก้วแดง เลขาธิการคณะกรรมการ
การศึกษาแห่งชาติ ดร.สิริพร บุญญานันต์ รองเลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ดร. วิเชียร เกตุสงห์ ทีปรึกษา     ิ ่
ด้าน ระบบการศึกษา และคณะทำงานท่านอืน ๆ ทุกท่าน ในการให้
                                                ่
ความช่วยเหลือจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ และการประชุม
(9)

ระดมความคิดเห็น อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการวิจัย
ในครั้งนี้
        กลมทสอง ผวจยขอขอบคณ ทานผทรงคณวฒิ คณาจารย์
           ุ่ ่ี     ู้ ิ ั            ุ ่ ู้ ุ ุ
ผเชยวชาญดานตาง ๆ ผเขารวมประชมเชงปฏบตการ และผเขา
 ู้ ่ี          ้ ่         ู้ ้ ่            ุ ิ ิ ั ิ      ู้ ้
ประชุมระดมความคิดทุกท่าน ทีให้ความอนุเคราะห์เข้าร่วมสัมมนา
                                     ่
และนำเสนอขอมล ความรู้ ความคดเหนทเ่ี ปนประโยชนตองานวจย
                 ้ ู                       ิ ็ ็          ์่   ิั
ฉบับนี้
        กลุ่มที่สาม ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่จากสำนักงานคณะ-
กรรมการการศ ึ ก ษาแห ่ ง ชาต ิ ท ุ ก ท ่ า น โดยเฉพาะอย ่ า งย ิ ่ ง
คณกลวตรา ภงคานนท์ ทไดใหความอนเุ คราะหและอำนวยความ
   ุ ุ ิ          ั           ่ี ้ ้                 ์
สะดวกในการจัดหาเอกสารเพื่อการศึกษาค้นคว้า ตลอดจน
การติดต่อประสานงานจนงานวิจยครังนีสำเร็จลงด้วยดี
                                        ั ้ ้
        กลมสดทาย ผวจยขอขอบคณคณะผชวยวจย ของสถาบน
             ุ่ ุ ้ ู้ ิ ั                  ุ    ู้ ่ ิ ั       ั
อนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนาทุกท่าน ที่ได้ให้ความช่วยเหลือใน
การคนควาขอมลและเอกสารทเ่ี กยวของ อนชวยใหการสงเคราะห์
       ้ ้ ้ ู                           ่ี ้ ั ่ ้ ั
เป็นไปได้อย่างครบถ้วนและบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย

                                เกรยงศกด์ิ เจรญวงศศกด์ิ
                                   ี ั            ิ   ์ ั
                ผอำนวยการสถาบนอนาคตศกษาเพอการพฒนา
                 ู้          ั       ึ       ่ื     ั
                                       พฤศจกายน 2545
                                                ิ
(10)

                   บทสรุปสำหรับผู้บริหาร


        งานวิจัยเอกสาร เรื่อง ภาพอนาคตและคุณลักษณะของ
คนไทยที่พึงประสงค์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อประมวลและวิเคราะห์
ปัจจัยขับเคลื่อนสังคมไทยในอนาคต สภาพสังคมไทยในสอง
ทศวรรษหน้ า และสภาพอนาคตสั ง คมไทยที ่ พ ึ ง ประสงค์ ใ น
สองทศวรรษหนา และเพอศกษา สงเคราะห์ วเิ คราะห์ และนำเสนอ
                 ้           ่ื ึ       ั
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ โดยเน้นไปที่กลุ่มเด็กและ
เยาวชน (อายุ 0-20 ป) ครอบคลม 5 ดานหลก ไดแก่ ดานรางกาย
                        ี             ุ      ้      ั ้ ้ ่
ดานจตใจ ดานความรู้ ดานทกษะความสามารถ และดานลกษณะ
  ้ ิ       ้             ้ ั                             ้ ั
ชีวต วิธดำเนินการวิจย ใช้การศึกษาข้อมูลงานวิจย หนังสือ เอกสาร
   ิ ี                ั                               ั
ตำราและวารสารทางวิ ช าการต่ า งๆ ทั ้ ง ในและต่ า งประเทศ
โดยพจารณาใหครอบคลมประเดนของนโยบายและแผนการพฒนา
      ิ        ้           ุ        ็                              ั
ประเทศด้านต่างๆ แนวคิดและงานวิจัยเกี่ยวกับภาพอนาคต
วิสัยทัศน์ของประเทศไทย รวมถึงภาพคนไทยที่พึงประสงค์ใน
อนาคต ข้อมูลทางสถิติ ทฤษฎีจตวิทยาพัฒนาการ พร้อมข้อคิดเห็น
                                  ิ
และข้อเสนอแนะที่ได้จากการประชุมระดมความคิด โครงการ
วถการเรยนรของคนไทย
 ิี      ี ู้
        ผลการวจย สรปโดยจำแนกเปน 4 สวน ดงน้ี
                   ิั ุ                    ็       ่ ั
               ส่ ว นที ่ 1 ปั จ จั ย ขั บ เคลื ่ อ นการเปลี ่ ย นแปลง
สภาพสังคม ไทยในสองทศวรรษหน้า
(11)

              สวนท่ี 2 ภาพสงคมไทยในสองทศวรรษหนา
               ่           ั                     ้
              สวนท่ี 3 ภาพสังคมไทยทีพงประสงค์ในสอง
                 ่                  ่ ึ
ทศวรรษหนา
        ้
                    ส่วนที่ 4 คณลกษณะของคนไทยทพงประสงค์
                                 ุ ั             ่ี ึ
          ส่วนที่ 1 ปัจจัยขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสภาพสังคม
ไทยในสองทศวรรษหนา จำแนกเปน 2 ดาน คอ ปจจยภายนอก
                            ้        ็   ้ ื ั ั
ที่เป็นผลกระทบมาจากกระแสโลกาภิวัตน์ และปัจจัยภายใน
ประเทศไทยเอง
                    1. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีขนสูง การแพร่กระจายและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสนเทศ
              ้ั
การแข่งขันที่รุนแรง การเพิ่มบทบาทและความสำคัญของความรู้
ในสังคม การเชื่อมโยงถึงกันเป็นเครือข่าย การขยายตัวของ
กระแสประชาธปไตย การแพรกระจายของวฒนธรรมตางๆ ในโลก
                  ิ                ่      ั           ่
กระแสการตื่นตัวในเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การแสวงหา
การเตมเตมในจตใจ
         ิ ็         ิ
                    2. ปัจจัยภายใน ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราช-
อาณาจักรไทย พ.ศ.2540 วิกฤตคุณธรรมจริยธรรม การเปลี่ยน
โครงสร ้ า งประชากรของประเทศไทยในอนาคต การปฏ ิ ร ู ป
การศกษา และการปฏรปสขภาพ
       ึ                    ิู ุ
          ส่วนที่ 2 ภาพสังคมไทยในสองทศวรรษหน้า ใน 3
ดานหลก คอ ดานเศรษฐกจ ดานสงคม และดานการเมอง
  ้       ั ื ้                ิ ้ ั         ้          ื
(12)

                   1. ภาพอนาคตด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้วย
การแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น
ภาคบริการขยายตัวในระดับสูง ภาคอุตสาหกรรมปรับสู่การใช้
เทคโนโลยการผลตขนสงมากขน เกดการวางงานในกลมแรงงาน
             ี        ิ ้ั ู           ้ึ ิ         ่               ุ่
ไร้ฝีมือจนถึงผู้บริหารระดับกลาง ความเหลื่อมล้ำระหว่างเมือง
กับชนบทขยายตัวเพิมขึน     ่ ้
                   2. ภาพอนาคตด้านสังคม ได้แก่ สังคมทีมความ               ่ ี
เป็นเมืองและเป็นสากลมากขึ้น สังคมที่การคอรัปชั่นกระทำได้
ยากขึ้น สังคมที่ตระหนักเรื่องสิทธิมนุษยชนมากขึ้น สังคมที่ให้
ความสำคญดานสงแวดลอมมากขน สงคมทมงสการเรยนรมากขน
            ั ้ ่ิ                ้            ้ึ ั     ่ี ุ่ ู่ ี ู้ ้ึ
                   3. ภาพอนาคตดานการเมอง กลาวคอ การเมอง
                                         ้            ื         ่ ื           ื
ไทยอยู่ใต้อิทธิพลการจัดระเบียบโลกใหม่ด้านการค้า การเมือง
ทเี่ ปนประชาธปไตยสงขน การเมองทโปรงใสมากขน
      ็          ิ         ู ้ึ            ื ่ี ่                ้ึ
        สวนท่ี 3 ภาพสงคมไทยทพงประสงคในสองทศวรรษหนา
          ่                    ั             ่ี ึ          ์                    ้
ประกอบด้วย
                   1. สังคมที่มีประสิทธิภาพ ในที่นี้หมายถึง สังคม
ทสามารถสรางประโยชนสงสดไดจากสงทมอยในสงคม ทงจากคน
  ่ี           ้                 ์ ู ุ ้ ่ิ ่ี ี ู่ ั                  ้ั
ระบบ และสภาพแวดลอม โดยใหมการสญเสยทรพยากรในระบบ
                             ้              ้ ี ู ี ั
ให้น้อยที่สุด โดยสังคมที่มีประสิทธิภาพนั้น ประกอบด้วย 2
องค์ประกอบ คือ คนในสังคมที่มีประสิทธิภาพ และระบบใน
สังคมที่มีประสิทธิภาพ
(13)

                 2.ส ั ง คมท ี ่ ม ี ค วามร ู ้ เ ป ็ น ฐานม ี ป ั ญ ญาเป ็ น แกน
การพฒนา
    ั
                 3. สงคมทมเอกภาพในความหลากหลาย
                           ั        ่ี ี
                 4. สงคมทใหความสำคญตอสงแวดลอม
                         ั          ่ี ้             ั ่ ่ิ  ้
                 5. สังคมทีภมใจในความเป็นไทย
                                        ่ ู ิ
                 6. สงคมทเ่ี นนชมชนวถี
                       ั                   ้ ุ     ิ
                 7. สงคมทมคณธรรมจรยธรรม
                             ั        ่ี ี ุ          ิ
         สวนท่ี 4 คณลกษณะของคนไทยทพงประสงค์ สรปไดดงน้ี
             ่        ุ ั                               ่ี ึ       ุ ้ั
                 1. มิติด้านร่างกาย คือ ผู้ที่มีสุขภาพร่างกาย
สมบูรณ์แข็งแรง มีการพัฒนาการในด้านร่างกายและสติปัญญา
อย่างสมบูรณ์ตามเกณฑ์ในแต่ละช่วงวัย
                 2. มิติด้านจิตใจ คือ ผู้ที่รู้จักและเข้าใจตนเอง
เข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เข้าใจสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง
และสภาพแวดลอมตางๆ รอบตวไดเปนอยางดี
                    ้ ่                        ั ้ ็ ่
                 3. มิติด้านความรู้ คือ เป็นผู้ที่สามารถรู้ลึก
ในแก ่ น สาระของว ิ ช า สามารถร ู ้ ร อบต ั ว ในเช ิ ง สหว ิ ท ยาการ
และเป็นผู้ที่สามารถรู้ได้ไกลโดยสามารถคาดการณ์เกี่ยวกับ
อนาคตทจะมาถงได้
          ่ี      ึ
                 4. มตดานทกษะความสามารถ คือ ผูทมทกษะ
                               ิ ิ ้ ั                           ้ ่ี ี ั
ในด ้ า นการค ิ ด ท ั ก ษะการส ื ่ อ สาร ท ั ก ษะภาษาต ่ า งประเทศ
ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะทางสังคม ทักษะ
การอาชีพ ทักษะทางสุนทรียะ และทักษะการจัดการทีดี                ่
(14)

                                   สารบัญ
                                                                             หน้า
คำนำ                                                                          (3)
คำชแจง
     ้ี                                                                       (5)
กิตติกรรมประกาศ                                                               (8)
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร                                                        (10)
บทที่ 1 บทนำ                                                                    1
        วัตถุประสงค์                                                            2
        ประโยชน์ทคาดว่าจะได้รบ
                             ่ี                     ั                           3
        ขอบเขตการศกษา           ึ                                               3
        ระยะเวลาดำเนินการ                                                       5
บทท่ี 2 ปจจยกำหนดภาพสงคมไทยในอนาคต
            ั ั                              ั                                  6
I. ปจจยภายนอก
    ั ั                                                                         6
        1. ความกาวหนาของเทคโนโลยขนสง
                       ้              ้                     ี ้ั ู              7
        2. การแพรกระจายและเขาถงขอมลขาวสารสนเทศ 8
                           ่                          ้ ึ ้ ู ่
        3. การแขงขนทรนแรง
                      ่ ั ่ี ุ                                                  9
        4. การเพมบทบาทและความสำคญของความรู้
                ่ิ                                              ั
          ในสังคม                                                              10
        5. การเชอมโยงถงกนเปนเครอขาย
                   ่ื                   ึ ั ็ ื ่                              12
        6. การขยายตวของกระแสประชาธปไตย
                                  ั                                 ิ          12
        7. การแพรกระจายของวฒนธรรมตาง ๆ ในโลก
                         ่                        ั                   ่        14
        8. กระแสการตนตวในเรองการอนรกษสงแวดลอม 15
                                    ่ื ั       ่ื                 ุ ั ์ ่ิ ้
        9. การแสวงหาการเตมเตมในจตใจ        ิ ็            ิ                    16
(15)

II. ปัจจัยภายใน                                                          16
        1. รฐธรรมนญแหงราชอาณาจกรไทย พ.ศ. 2540
            ั         ู ่        ั                                       17
        2. วิกฤตคุณธรรมจริยธรรม                                          18
        3. การเปลียนโครงสร้างประชากรของประเทศไทย
                  ่
           ในอนาคต                                                       20
        4. การปฏิรปการศึกษา
                    ู                                                    21
        5. การปฏรปสขภาพ
                 ิู ุ                                                    22

บทท่ี 3 ภาพอนาคตของสงคมไทย                  ั
        ในสองทศวรรษหน้า                                                  23
I. ภาพอนาคตดานเศรษฐกจ  ้                      ิ                          23
       1. การแขงขนทางเศรษฐกจระหวางประเทศ
                     ่ ั                                   ิ   ่
          ทวความรนแรงยงขน
               ี                  ุ     ่ิ ้ึ                            23
       2. ภาคบริการขยายตัวในระดับสูง                                     25
       3. ภาคอตสาหกรรมปรบสการใชเทคโนโลยี
                   ุ                               ั ู่      ้
          การผลตชนสงมากขน
                      ิ ้ั ู                    ้ึ                       26
       4. เกดการวางงานในกลมแรงงานไรฝมอ
             ิ              ่                        ุ่          ้ ี ื
         จนถงผบรหารระดบกลาง
                 ึ ู้ ิ                   ั                              27
       5. ความเหลอมลำระหวางเมองกบชนบท
                              ่ื ้                  ่ ื ั
          ขยายตัวเพิมขึน            ่ ้                                  29
II. ภาพอนาคตดานสงคม      ้ ั                                             31
       1. สังคมทีมความเป็นเมือง
                          ่ ี
       และความเปนสากลมากขน      ็                       ้ึ               31
(16)

        2. สังคมทีการคอรัปชันกระทำได้ยากขึน
                        ่              ่                      ้        32
        3. สงคมทตระหนกเรองสทธมนษยชนมากขน
              ั        ่ี          ั ่ื ิ ิ ุ                   ้ึ     33
        4. สังคมทีให้ความสำคัญด้านสิงแวดล้อมมากขึน
                     ่                                 ่           ้   34
        5. สังคมทีมงสูการเรียนรูมากขึน
                          ่ ุ่ ่           ้         ้                 35
III. ภาพอนาคตด้านการเมือง                                              37
        1. การเมองไทยอยใตอทธพลระเบยบโลกใหม่
                   ื                ู่ ้ ิ ิ              ี
          ดานการคา
            ้                 ้                                        37
        2. การเมองทเี่ ปนประชาธปไตยสงขน
                ื                ็           ิ           ู ้ึ          38
        3. การเมองทโปรงใสมากยงขน
                  ื ่ี ่                       ่ิ ้ึ                   41

บทที่ 4 ภาพสังคมไทยทีพงประสงค์     ่ ึ
          ในสองทศวรรษหน้า                                      43
I. สงคมทมประสทธภาพ
     ั      ่ี ี             ิ ิ                               44
         1. องคประกอบของคนในสงคมทมประสทธภาพ 44
                         ์                   ั      ่ี ี   ิ ิ
         2. การมระบบบรหารในสงคมทมประสทธภาพ
                           ี     ิ     ั       ่ี ี      ิ ิ   45
II. สังคมทีมความรูเป็นฐานมีปญญาเป็นแกนการพัฒนา 46
                ่ ี            ้           ั
III. สังคมทีมเอกภาพในความหลากหลาย
                 ่ ี                                           47
IV. สังคมทีให้ความสำคัญต่อสิงแวดล้อม
                    ่                    ่                     48
V. สังคมทีภมใจในความเป็นไทย
               ่ ู ิ                                           49
VI. สังคมทีเน้นชุมชนวิถี
                  ่                                            50
VII. สังคมทีมคณธรรมจริยธรรม
                      ่ ี ุ                                    50
(17)

บทที่ 5 คุณลักษณะคนไทยทีพงประสงค์                                                          ่ ึ                            52
I. มิตดานร่างกาย
       ิ ้                                                                                                                52
           1. พฒนาการดานรางกายเจรญเตบโตอยางสมบรณ์
                                 ั                                   ้ ่                         ิ ิ             ่    ู
               ตามเกณฑการพฒนาในแตละชวงวย                    ์               ั                      ่ ่ ั                  52
           2. พฒนาการดานสตปญญาเจรญเตบโตอยางสมบรณ์
                                    ั                                 ้                ิ ั             ิ ิ         ่    ู
               ตามเกณฑการพฒนาในแตละชวงวย                  ์               ั                       ่ ่ ั                   53
           3. มสขภาพรางกายทสมบรณแขงแรงไมเจบปวยงาย 54
                                   ี ุ                  ่                               ่ี ู ์ ็                ่ ็ ่ ่
II. มิตดานจิตใจ
        ิ ้                                                                                                               57
           1. เปนผทรจกและเขาใจตนเองเปนอยางดี
                                        ็ ู้ ่ี ู้ ั                              ้                        ็ ่            58
           2. เปนผทรจกและเขาใจความรสกของ
                                      ็ ู้ ่ี ู้ ั                            ้                     ู้ ึ
              ผอนไดเ้ ปนอยางดี
                     ู้ ่ื                           ็ ่                                                                  58
           3. เปนผทรจกและเขาใจสถานการณ์็ ู้ ่ี ู้ ั                             ้
               สภาพแวดลอมภายนอกตาง ๆ ไดเปนอยางดี                   ้                           ่             ้ ็ ่        59
III. มตดานความรู้
      ิ ิ ้                                                                                                               61
           1. รอยางลกซงถงแกนสาระของวชา
                       ู้ ่ ึ ้ึ ึ ่                                                                     ิ                61
           2. รรอบดานเชงสหวทยาการ
               ู้                            ้ ิ ิ                                                                        64
           3. รไกลไปถงอนาคต
                  ู้                               ึ                                                                      66
IV. มิตดานทักษะความสามารถ
          ิ ้                                                                                                             68
           1. ทักษะด้านการคิด                                                                                             68
           2. ทกษะการสอสาร
                         ั                                    ่ื                                                          74
           3. ทกษะภาษาตางประเทศ
                           ั                                            ่                                                 77
           4. ทกษะทางเทคโลยสารสนเทศ
                               ั                                                    ี                                     80
           5. ทกษะทางสงคม    ั                                   ั                                                        82
                                          5.1 ทกษะมนษยสมพนธ์
                                                      ั                               ุ ั ั                               82
(18)

                 5.2 ทกษะการปรบตว
                               ั               ั ั           84
                 5.3 ทักษะการทำงานร่วมกับผูอน        ้ ่ื    85
      6. ทักษะการอาชีพ                                       87
      7. ทักษะทางสุนทรียะ                                    88
      8. ทักษะการจัดการ                                      90
                 8.1 ทกษะการจดการความรู้
                           ั               ั                 90
                 8.2 ทกษะการบรหารเวลา
                             ั               ิ               92
V มตในดานลกษณะชวต
   ิ ิ ้ ั                        ีิ                         93
      1. ขยัน อดทน และทุมเททำงานหนัก    ่                    93
      2. มีระเบียบวินัย                                      95
      3. ความซอสตย์   ่ื ั                                   96
      4. มวสยทศน์
             ีิ ั ั                                          98
      5. ทำสงตางๆ อยางดเลศ
                 ่ิ ่              ่ ี ิ                     99
      6. รกการเรยนรตลอดชวต
           ั              ี ู้               ีิ             100
      7. มีจิตสำนึกประชาธิปไตย                              101
      8. เหนคณคาในเอกลกษณความเปนไทย
              ็ ุ ่                       ั ์      ็        103
      9. มีจตสำนึกเพือผูอนและส่วนรวม
               ิ                 ่ ้ ่ื                     106
      10.ประหยด อดออม   ั                                   107

บทที่ 6 สรุปและข้อเสนอแนะ                                   110

บรรณานุกรม                                                  113
ภาพอนาคตและ
                             คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์   1

                         บทที่ 1
                         บทนำ


        แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 ซึงเป็น่
แผนยุทธศาสตร์ชี้กรอบทิศทางการพัฒนาประเทศระยะกลางที่
ดำเนินการต่อเนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 8 ในด้านแนวคิดทียด “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา”
                            ่ึ
ในทุกมิติอย่างเป็นองค์รวม และให้ความสำคัญกับการพัฒนา
ทสมดล ทงดานตวคน สงคม เศรษฐกจ และสงแวดลอม โดยเฉพาะ
  ่ี ุ ้ั ้ ั             ั              ิ   ่ิ   ้
อย่างยิ่งการสร้างระบบบริหารจัดการภายในที่ดีให้เกิดขึ้นในทุก
ระดับ อันจะทำให้เกิดการพัฒนาทียงยืนโดยมี “คน” เป็นศูนย์กลาง
                                    ่ ่ั
ของการพฒนาไดอยางแทจรง(สำนกงานคณะกรรมการพฒนาการ
           ั        ้ ่ ้ ิ           ั               ั
เศรษฐกจและสงคมแหงชาติ, 2544: 2) ประกอบกบเจตนารมณ์
         ิ        ั     ่                           ั
ความมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่ต้องเป็นไป
เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม
ในการดำรงชวต สามารถ อยรวมกบผอนไดอยางมความสข ดงใน
               ีิ              ู่ ่ ั ู้ ่ื ้ ่ ี       ุ ั
พระราชบญญตการศกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 1 มาตรา 6
             ั ั ิ ึ              ่
ที่บัญญัติว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้
เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ
ภาพอนาคตและ
   2   คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์


คณธรรม” สิงทีกล่าวมานี้ แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมุงให้ความ
  ุ                 ่ ่                                                  ่
สำคญกบการพฒนาทรพยากรมนษยมากขนเปนลำดบ
         ั ั            ั          ั             ุ ์          ้ึ ็     ั
             แต่อย่างไรก็ตาม การจะพัฒนาคนในประเทศอย่างมีทิศ
ทางย่อมขึ้นกับความชัดเจนในเป้าหมายเรื่องลักษณะคนไทยที่
สังคมต้องการในอนาคต เป้าหมายลักษณะของคนไทยในอนาคต
ทพงประสงคพงไดมาโดยการศกษาวจยอยางเปนระบบและไดผล
    ่ี ึ             ์ ึ ้                 ึ       ิั ่ ็                  ้
การศกษาทนาเชอถอ โดยคำนงถงการเปลยนแปลงและแนวโนม
           ึ     ่ี ่ ่ื ื                   ึ ึ          ่ี                 ้
ของบริบทแวดล้อมในอนาคตที่จะเกิดขึ้น ซึ่งหากเราสามารถ
กำหนดภาพอนาคตเกี่ยวกับลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ได้แล้ว
จะช่วยทำให้หน่วยงานต่าง ๆ ที่มีภารกิจหน้าที่เกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาเด็กและเยาวชน ซึ่งในปัจจุบันมีมากถึง 15 หน่วยงานมี
ทิศทางที่ชัดเจนในการพัฒนาเด็กและเยาวชนของชาติ อีกทั้งยัง
สามารถกำหนดแนวทางและจดสรรหนาทความรบผดชอบในการ
                                         ั           ้ ่ี          ั ิ
พัฒนาลักษณะของคนที่พึงประสงค์แต่ละด้านได้ชัดเจนมากขึ้น
ด้วย อันเป็นการช่วยลดปัญหาความซ้ำซ้อน การขาดความเป็น
เอกภาพในการปฏบตงานของหนวยงานตาง ๆ ทเ่ี กยวของ และลด
                           ิ ั ิ               ่       ่            ่ี ้
การสญเสยทรพยากรทมอยจำกดไปโดยไมจำเปน
          ู ี ั                  ่ี ี ู่ ั                   ่ ็

วัตถุประสงค์
       1. เพื่อประมวลและวิเคราะห์ปัจจัยขับเคลื่อนสังคมไทย
ในอนาคต สภาพสังคมไทยในสองทศวรรษหน้า และสภาพอนาคต
สังคมไทยทีพงประสงค์ในสองทศวรรษหน้า
           ่ ึ
ภาพอนาคตและ
                                      คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์   3

      2. เพื่อศึกษา สังเคราะห์ วิเคราะห์ และนำเสนอคุณ-
ลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ โดยเน้นไปที่กลุ่มเด็กและเยาวชน
ครอบคลุม 5 ด้านหลัก ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความรู้
ดานทกษะความสามารถ และดานลกษณะชวต
  ้ ั                         ้ ั        ีิ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
        1. นำผลการศึ ก ษาที ่ ไ ด้ ร ั บ ในเรื ่ อ งคุ ณ ลั ก ษณะที ่ พ ึ ง
ประสงค์ของคนไทย ใช้เป็นเป้าหมายเพื่อกำหนดแนวทางการ
ดำเนินการ และกำหนดยุทธศาสตร์การทำงานร่วมกันของหน่วย
งานต่าง ๆ เพื่อสร้างคนไทยรุ่นใหม่ โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน
ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดังกล่าว
        2.นำข้อมูลที่ได้รับเรื่องสังคมไทยในอนาคต สภาพสังคม
ไทยในสองทศวรรษหน้า และสภาพอนาคตสังคมไทยทีพงประสงค์            ่ ึ
ในสองทศวรรษหน้า ไปใช้เป็นฐานข้อมูลประกอบการศึกษาเพื่อ
กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาคนไทยในโอกาสต่อไป

ขอบเขตการศึกษา
       การฉายภาพคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์นี้ เป็นการ
นำเสนอคุณลักษณะของคนไทยภายใต้บริบทของลักษณะสังคม
ในอนาคต โดยพยายามคาดการณ์ปัจจัยขับเคลื่อนหลักที่น่า
จะเกิดขึ้นในอนาคตอีก 15-20 ปีข้างหน้าโดยประมาณ ซึ่งเป็น
ระยะเวลาที่พอประเมินได้ว่าน่าจะมีปัจจัยและแนวโน้มใดเกิด
ภาพอนาคตและ
   4      คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์


ขนบาง หากใชกรอบเวลาทยาวไกลกวาน้ี อาจมปจจยทไมสามารถ
 ้ึ ้                      ้               ่ี              ่             ี ั ั ่ี ่
คาดการณได้ และหากระยะสนกวาน้ี อาจไมเ่ หนการเปลยนแปลง
                      ์                       ้ั ่                     ็             ่ี
ทชดเจนมากนก
       ่ี ั                  ั
                  สำหรับคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์นี้ จะมิได้
จำแนกตามช ่ ว งว ั ย เน ื ่ อ งจากความจำก ั ด ของระยะเวลาใน
การศึกษาที่มีระยะเวลาเพียง 45 วัน ดังนั้น จึงได้กำหนดกรอบ
การพจารณาคณลกษณะคนไทยทพงประสงคใน 5 ดานหลก คอ
              ิ                ุ ั                    ่ี ึ           ์           ้            ั ื
ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความรู้ ด้านทักษะความสามารถ
และดานลกษณะชวต เนองจากดานตาง ๆ เหลานเ้ี ปนองคประกอบ
                ้ ั                 ี ิ ่ื          ้ ่             ่ ็ ์
หลั ก สำคั ญ ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การพั ฒ นามนุ ษ ย์ ใ นแต่ ล ะช่ ว งวั ย
ทคอนขางครบถวน
       ่ี ่ ้                     ้
                  ในการศึกษาครั้งนี้ใช้การวิจัยทางเอกสารเป็นหลักและ
เสรมดวยการจดประชมเชงปฏบตการกลมผเู้ ชยวชาญ เนองดวย
            ิ ้                 ั       ุ ิ ิ ั ิ              ุ่ ่ี                    ่ื ้
ความจำกัดทางด้านระยะเวลาและงบประมาณในการวิจัย
                  การวจยทางเอกสาร (documentary research) ไดทำการ
                        ิั                                                                ้
ศกษาจากงานวจย หนงสอ เอกสาร ตำรา และวารสารทางวชาการ
   ึ                              ิั ั ื                                                    ิ
ตาง ๆ ทงในและตางประเทศ ซงพยายามพจารณาใหครอบคลม
     ่             ้ั                ่           ่ึ               ิ                ้            ุ
ประเดนเรองแผนการพฒนาประเทศดานตาง ๆ ทงดานเศรษฐกจ
                 ็ ่ื                    ั                   ้ ่            ้ั ้                  ิ
สังคม ตลอดจนแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทั้งของไทย
และต ่ า งประเทศ แนวค ิ ด และงานว ิ จ ั ย เก ี ่ ย วก ั บ ภาพอนาคต
วิสัยทัศน์ของประเทศไทย รวมถึงภาพคนไทยที่พึงประสงค์ใน
อนาคต ข้อมูลทางสถิติทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตที่เกี่ยว
ภาพอนาคตและ
                            คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์   5

ข้องกับภาพสังคมไทยและคนไทยในอนาคต ทฤษฎีจิตวิทยา
พัฒนาการ ข้อมูลด้านความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
โดยทำการวิเคราะห์และสังเคราะห์เนื้อหาจากเอกสารที่รวบ
รวมมาทั้งหมด เพื่อนำไปประกอบการวิเคราะห์และสังเคราะห์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ การประชุมเชิงปฏิบัติการ
(workshop) เพอรวบรวมความคดเหนและขอเสนอแนะจากผทรง
               ่ื             ิ ็        ้            ู้
คุณวุฒและผูเ้ ชียวชาญด้านต่าง ๆ เพือให้ได้ขอมูลนำมาประกอบ
        ิ         ่                ่       ้
การวิเคราะห์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์เพิ่มเติมให้ครบ
ถ้วนยิ่งขึ้น

ระยะเวลาดำเนินการ
      ระหวางวนท่ี 2 สงหาคม - 20 กนยายน พ.ศ. 2545 รวม
          ่ ั        ิ           ั
ประมาณ 45 วน
           ั
ภาพอนาคตและ
  6   คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์


                  บทที่ 2
      ปัจจัยกำหนดภาพสังคมไทยในอนาคต


      ในการวิจัยครั้งนี้จะแบ่งการพิจารณาปัจจัยกำหนดภาพ
อนาคตของสังคมไทยใน 2 ด้าน คือ ปัจจัยภายนอกที่เป็นผล
กระทบมาจากกระแสโลกาภิ ว ั ต น์ และปั จ จั ย เฉพาะภายใน
ประเทศไทยเอง

I. ปจจยภายนอก
    ั ั

           ประเทศต่าง ๆ ในโลกเชื่อมโยงกันเป็นหมู่บ้านเดียว
(global village) ทงทางการคา การเงน การลงทน การเมอง สงคม
                   ้ั         ้     ิ          ุ       ื ั
วัฒนธรรม รวมไปถึงการเชื่อมโยงทางความรู้ แนวคิด ค่านิยม
และพฤติกรรม ผ่านการถ่ายโอนข้อมูลด้วยระบบสารสนเทศและ
สื ่ อ สารมวลชน การถ่ า ยโอนสิ น ค้ า ข้ า มพรมแดนภู ม ิ ศ าสตร์
อย่างเกือบอิสระ และผ่านการคมนาคมที่เชื่อมต่อแทนทุกจุดใน
โลกเขาหากนอยางใกลชด การเชอมโยงเหลาน้ี ทำใหสงทเี่ กดขน
         ้    ั ่      ้ิ        ่ื          ่     ้ ่ิ ิ ้ึ
ในสังคมหนึ่ง สามารถแพร่กระจายทั่วโลกได้ภายในเวลาอัน
รวดเร็ว เมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้นในจุดหนึ่งของโลก อีกประเทศหนึ่ง
ที่อยู่ห่างไกลอาจได้รับผลกระทบไปด้วย การไหลบ่าของกระแส
ภาพอนาคตและ
                                 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์   7

โลกด้านต่าง ๆ ที่ทะลุทะลวงรุกล้ำเข้ามายังภายในประเทศไทย
ส่งผลให้ปัจจัยภายนอกประเทศสามารถมีอิทธิพลกระทบต่อ
วิถีชีวิตของประชาชนไทยได้อย่างยากจะหลีกเลี่ยงได้
         จาการประมวลขอมลในเอกสารตาง ๆ พบวา ปจจยภาย
                      ้ ู            ่        ่ ั ั
นอกประเทศสำคัญที่จะส่งผลกระทบต่ออนาคตของประเทศไทย
ได้แก่

1. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีขนสูง           ้ั
         เทคโนโลยีเริ่มมีบทบาทสำคัญในการกำหนดรูปแบบการ
พัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกตั้งแต่ศตวรรรษที่ 20 และ
จะยิ่งทวีความสำคัญมากขึ้นในศตวรรษหน้า ความรวดเร็วของ
การพัฒนาทางเทคโนโลยีที่เห็นได้ชัดเจนในศตวรรษที่ 20 คือ
การที่มนุษย์สามารถบินขึ้นสู่อากาศได้เป็นครั้งแรกในประวัติ
ศาสตรโลกดวยเครองบนของพนองตระกลไรท์ (Wright) ในปี ค.ศ.
        ์ ้            ่ื ิ      ่ี ้         ู
1901 แต่เพียงอีก 68 ปีจากนั้นมนุษย์สามารถทะยานไกลไปสู่
อวกาศและสัมผัสพื้นผิวของดาวเคราะห์ดวงอื่นได้ การพัฒนา
เทคโนโลยีอย่างรวดเร็วในช่วงทีผานมา ได้พามนุษยชาติกาวข้าม
                                    ่ ่                     ้
ขี ด จำกั ด และจิ น ตนาการหลายอย่ า ง ความก้ า วหน้ า ทาง
เทคโนโลยีนได้ขยายไปสูพรมแดนของวิทยาการด้านอืน ๆ และจะ
                  ้ี          ่                        ่
ยังคงพัฒนาต่อไปด้วยอัตราเร่งทีเ่ พิมขึนในโลกอนาคต โดยเฉพาะ
                                         ่ ้
อย่ า งยิ ่ ง วิ ท ยาการด้ า นคอมพิ ว เตอร์ วิ ท ยาการทางด้ า นการ
สอสารโทรคมนาคม เทคโนโลยเพอเพมประสทธภาพในการผลต
  ่ื                                 ี ่ื ่ิ      ิ ิ            ิ
ภาพอนาคตและ
   8    คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์


เทคโนโลยีทางการแพทย์ เทคโนโลยีทางการเกษตร เทคโนโลยี
ชีวภาพและพันธุวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยีด้านวัสดุศาสตร์
รวมทั้งวิทยาการด้านอวกาศและวิทยาการใต้ทะเล การพัฒนาสู่
เทคโนโลยีขั้นสูงนี้จะมีผลทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนใน
สงคมตาง ๆ ซงรวมถงสงคมไทยแปรเปลยนไปอยางมาก
 ั     ่     ่ึ     ึ ั              ่ี      ่

2. การแพร่กระจายและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสนเทศ
          ควบค ู ่ ไ ปก ั บ ย ุ ค แห ่ ง การพ ั ฒ นาเทคโนโลย ี ข ั ้ น ส ู ง ใน
อนาคต การพฒนาวทยาการดานคอมพวเตอรในปี ค.ศ.1946 และ
                 ั        ิ             ้          ิ      ์
การพัฒนาเครือข่ายข้อมูลของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา
ในปีค.ศ.1969 ได้นำไปสู่การสร้างระบบอินเทอร์เน็ต (Internet)
ในช่วงทศวรรษที่ 1980 และ World Wide Web ในช่วงทศวรรษที่
1990 เมอผสมผสานกบความกาวหนาของสอสารมวลชน แขนง
            ่ื                 ั          ้      ้     ่ื
ต่าง ๆ อาทิ โทรทัศน์ วิทยุ สิ่งพิมพ์ วิทยาการดังกล่าว ได้พา
มนุษย์ไปสู่การปฏิวัติระบบข้อมูลของโลกทำให้เกิดการถ่ายโอน
และเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างบุคคล องค์กร และประเทศ อย่าง
สะดวกรวดเร็ว ผู้คนในซีกโลกหนึ่งสามารถติดต่อรับรู้การเปลี่ยน
แปลงของระบบเศรษฐกจ ธรกจ การเมอง การศกษา วฒนธรรม
                                 ิ ุ ิ               ื      ึ  ั
ค่ า นิ ย ม ความคิ ด และวิ ถ ี ช ี ว ิ ต ของคนในแต่ ล ะประเทศ ซึ ่ ง
สอดคล้องกับสมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย (2540: 32) ทีกล่าวว่า          ่
เทคโนโลยใหมทำใหเ้ กดความหลากหลายในการแสวงหาขาวสาร
               ี ่           ิ                                        ่
ข้อมูล สามารถกระจายข่าวสารได้กว้างขวางพร้อมกัน เครือข่าย
ภาพอนาคตและ
                                คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์   9

สารสนเทศจะกลายเปนเครองมอสำคญของการสรางความสามารถ
                     ็ ่ื ื ั                 ้
การแขงขน (competitiveness) ทงในระดบประเทศและนานาชาติ
       ่ ั                      ้ั     ั
        ความสำเร็จและอำนาจของบุคคลจะอยู่ที่ความสามารถ
ในการเข้าถึงการจัดการ และประยุกต์ใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่มี
อยู่มากมายเหล่านี้ได้ ซึ่งปัจจัยด้านข้อมูลสารสนเทศมีอิทธิพล
ในการกำหนดภาพสงคมไทยในอนาคตในหลายดาน ดงทจะกลาว
                   ั                            ้ ั ่ี ่
ถึงต่อไป

3. การแขงขนทรนแรง
              ่ ั ่ี ุ
         ความก้ า วหน้ า ของเครื อ ข่ า ยสารสนเทศทำให้ แ ต่ ล ะ
ปจเจกบคคล สามารถเขาถงขอมลขาวสารจากมมตาง ๆ ของโลก
   ั      ุ              ้ ึ ้ ู ่               ุ ่
ได้มากขึ้น รวดเร็วขึ้น และเท่าเทียมกัน กอปรกับกำแพงกีดกัน
ทางการค้าที่นับวันจะสลายหายไปทุกขณะ ทำให้การแข่งขัน
ทางการคาระหวางประเทศเพอความอยรอดมความจำเปนมากขน
            ้     ่          ่ื          ู่ ี           ็    ้ึ
สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่เร่งรัดให้แต่ละประเทศ
ต้องก้าวเข้าสู่เวทีของการแข่งขันระดับนานาชาติ คู่แข่งขันจาก
ภายนอกหรือข้ามพื้นที่ภูมิศาสตร์ของรัฐสามารถรุกเข้าสู่ตลาด
ภายในได้อย่างง่ายดาย ส่งผลให้การพยายามช่วงชิงความได้
เปรียบในการแข่งขันจะยังคงอยู่และดำเนินต่อไป รวมทั้งยังมี
แนวโน้มที่จะขยายตัวจากระดับระหว่างประเทศลงสู่ระดับชีวิต
ประจำวันของประชาชนมากขึ้นด้วย ในลักษณะการแข่งขันทาง
การศึกษาและการแข่งขันในการทำงาน โดยปัจจัยด้านการแข่งขัน
ภาพอนาคตและ
 10   คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์


นี้จะทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่องในอนาคต และมีผลต่อการ
กำหนดทศทางการเรยนรของคนในอนาคตอยางแนนอน
         ิ        ี ู้                ่ ่

4. การเพิมบทบาทและความสำคัญของความรูในสังคม
            ่                                          ้
          ความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศได้ เ ปิ ด โลก
การเรี ย นรู ้ อ อกไปอย่ า งไร้ ข ี ด จำกั ด และความก้ า วหน้ า ทาง
เทคโนโลยีสารสนเทศนี้จะนำเราไปสู่การปฏิวัติระบบการเรียนรู้
ของมนุษยชาติ ความรู้จะกลายเป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถเข้าถึง
ได้หมด ผู้คนสามารถเรียนรู้จากการศึกษาอย่างไม่เป็นทางการ
ได ้ ม ากมาย สอดคล ้ อ งก ั บ ข ้ อ เสนอของสมาคมน ั ก เร ี ย นท ุ น
รัฐบาลไทย (2540: 32) ที่กล่าวว่า ด้านการศึกษาจะมีเครือข่าย
ขอมลความรททกคนเขาถงไดโดยตรง จะมรปแบบของการเรยนรู้
    ้ ู         ู้ ่ี ุ     ้ ึ ้                ีู             ี
ด้วยตนเองเข้ามาเสริมระบบโรงเรียนมากขึ้น หรืออาจเรียนรู้
ได้ด้วยตนเองที่ทำงานหรือที่บ้าน สภาพดังกล่าวจะทำให้ความรู้
ไม่ถูกผูกขาดเฉพาะคนเพียงบางส่วนอีกต่อไป คนในวงกว้างจะ
สามารถเข้าถึงความรูได้ดยงขึน
                           ้ ี ่ิ ้
          ในขณะเดียวกันความรู้จะเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยเพิ่ม
ขดความสามารถของหนวยงานตาง ๆ สงคมแตละยคตางใชปจจย
  ี                          ่         ่       ั    ่ ุ ่ ้ ั ั
สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันทีตางกัน ยุคเศรษฐกิจบนฐาน
                                           ่ ่
เกษตรกรรมใช้ปัจจัยที่ดิน แรงงาน และกำลังทหารสร้างความ
ไดเ้ ปรยบในการแขงขน ตอมาในยคเศรษฐกจบนฐานอตสาหกรรม
        ี               ่ ั ่            ุ       ิ       ุ
ปัจจัยสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ได้เปลี่ยนมาเป็น
ภาพอนาคตและ
                                 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์   11

เครื่องจักร ทรัพยากรธรรมชาติ และเงินทุน แต่สำหรับในยุค
ปัจจุบันที่เป็นยุคเศรษฐกิจใหม่ ปัจจัยสร้างความได้เปรียบทาง
การแข่งขัน ได้เปลี่ยนจากปัจจัยที่จับต้องได้ไปสู่ปัจจัยที่มอง
ไม่เห็นแต่มีพลังมหาศาล นั่นคือ ข้อมูลข่าวสารและทุนความรู้
(knowledge capital)
         อุ ต สาหกรรมบนฐานความรู ้ ข ั บ เคลื ่ อ นเศรษฐกิ จ ของ
ประเทศที่พัฒนาแล้วให้ก้าวทะยานไปอย่างรวดเร็ว จากผล
การศกษาถงการเพมผลตภาพ (productivity) ของระบบเศรษฐกจ
       ึ      ึ     ่ิ ิ                                        ิ
อเมรกานบแตปี 1995 พบวา เกดจากหลายปจจย แตหากเทยบ
      ิ ั ่                ่ ิ                  ั ั ่         ี
สัดส่วนกันแล้ว ร้อยละ 50 เป็นผลจากการพัฒนาผลิตภาพของ
อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์และซอฟแวร์ ทุนความรู้จึงเป็นปัจจัย
สำคัญทีจะสร้างความสามารถทางการแข่งขันในระยะยาว โดยที่
          ่
ทุนความรู้คือ ผลรวมของวิธีการ เทคนิค ข้อเท็จจริง แนวคิด
ความเขาใจทลกซง ขอสงเกต หรอประสบการณทสามารถนำมา
         ้ ่ี ึ ้ึ ้ ั         ื                    ์ ่ี
สรางมลคาได้ ความรจะกลายเปนตวกำหนดระดบความสามารถ
    ้ ู ่             ู้      ็ ั                 ั
ในการแข่งขันทั้งในระดับบุคคล ระดับหน่วยงาน และระดับ
ประเทศ จนในที่สุดจะไม่มีการเรียกประเทศไหนว่าเป็นประเทศ
ยากจนอีกแล้ว แต่จะเรียกว่า “ประเทศท ี ่ ไ ม ่ ร ู ้ ” แทน ดังนั้น
บุคคลที่ทรงความรู้อย่างหลากหลาย และมีความสามารถใน
การจัดการนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ จะกลายเป็นคนกลุ่มใหม่
ที่ทรงพลังในสังคมอนาคต ปัจจัยด้านความรู้นี้จะมีผลต่อการ
กำหนดสภาพสังคมไทยในอนาคต ซึ่งนับว่าเป็นการปรับเปลี่ยน
ภาพอนาคตและ
 12   คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์


โฉมหนาสงคมไทยในปจจบนใหแตกตางไปจากเดม
     ้ ั        ั ุ ั ้   ่        ิ

5. การเชือมโยงถึงกันเป็นเครือข่าย
              ่
            การติดต่อและการแลกเปลี่ยนทางการค้า การศึกษา
การเมอง และวฒนธรรมทมมากขน อกทงระเบยบโลกใหม่ (New
         ื         ั        ่ี ี    ้ึ ี ้ั ี
World Order) ทจะเขามามอทธพลอยางมากในยคอนาคต จะทำ
                     ่ี ้      ีิ ิ     ่     ุ
ให้ไม่มีประเทศหรือองค์การใดสามารถดำรงตนเองอยู่โดดเดี่ยว
โดยมิตองขึนกับใครได้อกต่อไป แต่ละองคาพยพของสังคมจำเป็น
           ้ ้            ี
ต้องประสานความร่วมมือกับส่วนอื่นเพื่อความอยู่รอด และเพิ่ม
ความแข็งแกร่งของตนเอง โดยเหตุนี้ สภาพของการเชื่อมโยงถึง
กันเป็นเครือข่ายจึงเป็นภาพที่จะเห็นได้อย่างชัดเจนมากในยุค
อนาคต ทั้งที่เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายระดับชาติลงไปจนถึง
ระดับองค์การและระดับบุคคล ซึ่งสะท้อนออกมาในลักษณะ
ของเครือข่ายด้านเศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา เทคโนโลยี
วัฒนธรรม โดยมีจุดหมายเพื่อการเสริมสร้างความแข็งแกร่ง
ระหวางสมาชกในเครอขาย เพอประสทธภาพในการบรหารจดการ
     ่          ิ       ื ่      ่ื    ิ ิ       ิ ั
การแบ่งปันและจัดสรรทรัพยากรร่วม และเพื่อการสร้างอำนาจ
การตอรองแกกลมของตนเอง
       ่          ่ ุ่

6. การขยายตวของกระแสประชาธปไตย
            ั                 ิ
      กระแสของประชาธิปไตยจะขยายตัวมากยิ่งขึ้นในแต่ละ
ชุมชนของสังคมโลก เนื่องจากปัจจัยหลักสามประการ คือ
ภาพอนาคตและ
                                   คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์   13

1) จากการล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในช่วงศตวรรษที่ยี่สิบ
ทำให้ยังไม่มีแนวทางเลือกอื่นในการจัดระบบการปกครองสังคม
2) การเรียกร้องของกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการค้าภายใต้
เครือข่ายของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะมีบทบาทในการ
กำหนดรูปแบบประชาธิปไตยในแนวทางที่เอื้อประโยชน์สูงสุด
ต่อกลุ่มตนเอง โดยใช้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเป็นข้อต่อรอง
และเงื่อนไขที่ประเทศเล็กต้องปฏิบัติตาม และ 3) การเรียกร้อง
จากภายในแต่ละประเทศ อันสืบเนื่องมาจากการที่ประชาชนมี
ความรูการศึกษาเพิมขึน และการมีโอกาสเข้าถึงข้อมูลข่าวสารผ่าน
        ้            ่ ้
ระบบสอสารทรวดเรวและทนสมย
          ่ื      ่ี  ็       ั ั
             กระแสประชาธิปไตยจะกระตุ้นให้ประชาชนในแต่ละ
สังคม มีความต้องการมีสวนร่วมทางการปกครองมากขึน ในขณะ
                          ่                                 ้
เดียวกันประชาชนในประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีแนวโน้มที่จะได้
รับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศไทยที่เป็น
ประชาธิปไตยแต่เพียงในรูปแบบ จะถูกเรียกร้องให้ปรับเปลี่ยน
เป็นประชาธิปไตยมากยิงขึน โดยเฉพาะในด้านของวิถการดำเนิน
                         ่ ้                              ี
ชีวิตของประชาชน อาทิ การเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ การต้องการ
ความเสมอภาคและความเป็นธรรมของรัฐ ความต้องการได้รับ
การปกป้องสิทธิมนุษยชน ซึ่งกระแสประชาธิปไตยนี้จะไม่เพียง
พัดผ่านระดับประเทศเท่านั้น แต่จะไหลซึมลงสู่หน่วยงานและ
องค ์ ก ารต ่ า ง ๆ ในระด ั บ จ ุ ล ภาคด ้ ว ย โดยสะท ้ อ นเป ็ น ภาพ
ของประชาธ ิ ป ไตยในโรงงาน ประชาธ ิ ป ไตยในบร ิ ษ ั ท หร ื อ
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์

More Related Content

What's hot

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์พัน พัน
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556Wareerut Hunter
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยThana Chirapiwat
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNattapon
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 

What's hot (20)

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 

Similar to คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์

03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบChalermpon Dondee
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อยKruBeeKa
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระtongsuchart
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpKamjornT
 
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...nattasorn kamonmal
 

Similar to คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
3
33
3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระ
 
V 300
V 300V 300
V 300
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPp
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
 

More from Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

More from Mahasarakham Business School, Mahasarakham University (20)

Google 2010 case study gm
Google 2010 case study gmGoogle 2010 case study gm
Google 2010 case study gm
 
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
 
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
 
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global MarketingInternational market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
Key economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailandKey economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailand
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
 

คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์

  • 1. (1) ภาพอนาคต และ คุณลักษณะของคนไทยทีพงประสงค์ ่ ึ เอกสารชดโครงการวถการเรยนรของคนไทย ลำดบท่ี 2 ุ ิี ี ู้ ั สำนกงานคณะกรรมการการศกษาแหงชาติ ั ึ ่
  • 2. (2) 370.112 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ส 691 ภ ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยทีประสงค์/ ่ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์.กรุงเทพ ฯ : โครงการ ั วิถการเรียนรูของคนไทย , 2546. ี ้ 125,(18) หน้า ISBN : 974-351-867-3 1. สังคมไทย - วิจย 2. คนไทยทีพงประสงค์ - ั ่ ึ วิจย 3.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ 4. ชือเรือง ั ั ่ ่ ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยทีประสงค์ ่ โดย เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์. ั สิงพิมพ์ สกศ. ่ อันดับที่ 35/2546 พิมพ์ครังที่ 1 ้ มกราคม 2546 จำนวน 1,000 เล่ม จัดพิมพ์และเผยแพร่ สำนักพัฒนาการเรียนรูและมาตรฐานการศึกษา ้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ถนนสุโขทัย เขตดุสต กรุงเทพฯ 10300 ิ โทรศัพท์ 0-2668-7123 ต่อ 2517 โทรสาร 0-2243-1129 Web Site : http:// www.onec.go.th E-mail : onec@one.go.th พิมพ์โดย ห้างหุนส่วนจำกัด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชัน ้ ่ 2 ซอยสุขมวิท 65 แขวงพระโขนงเหนือ ุ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2381-2414 โทรสาร 0-2381-2415
  • 3. (3) คำนำ เจตนารมณ์และความมุ่งหมายในการจัดการศึกษา คือ การพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมใน การดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ซึ่ง กระบวนการที่สำคัญที่หล่อหลอมให้คนเป็นทรัพยากรมนุษย์ ทมคณภาพนนมใชแตเ่ พยงการศกษาและการเรยนรจากในระบบ ่ี ี ุ ้ั ิ ่ ี ึ ี ู้ โรงเรียนเท่านั้น หากแต่เป็นความรับผิดชอบของทุกส่วนของ สังคมไทย โดยเฉพาะการอบรมเลี้ยงดูในครอบครัว และการเป็น แบบอย่างที่ดีให้กับเด็กและเยาวชน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ในฐานะ หน ่ ว ยงานด ้ า นนโยบายและแผนการศ ึ ก ษาของประเทศได ้ ตระหนักในความสำคัญดังกล่าว จึงได้ดำเนินโครงการวิถีการ เรียนรู้ของคนไทย เพื่อให้ได้คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ และยทธศาสตรของสงคมไทยในการสรางวถการเรยนรู้ ในการใช้ ุ ์ ั ้ ิี ี เป็ น กรอบและแนวทางในการพั ฒ นาเด็ ก และเยาวชนไทยใน ช่วงแรกเกิดถึงอายุ 20 ปี ด้วยรูปแบบและวิธีการต่างๆ ใน ลำดับแรกของการดำเนินงานได้มอบหมายให้ศาสตราจารย์ ดร.เกรี ย งศั ก ดิ ์ เจริ ญ วงศ์ ศ ั ก ดิ ์ ดำเนิ น การวิ จ ั ย เอกสารเพื ่ อ สำรวจคุณ ลั ก ษณะและภาพอนาคตของคนไทยที่พึง ประสงค์ เพื่อเป็นองค์ความรู้ในการกำหนดเป้าหมายคุณลักษณะของ
  • 4. (4) คนไทยที่สำคัญและจำเป็น ให้คนในชาติได้เกิดความเข้าใจที่ ตรงกัน อันจะนำมาซึ่งการรวมพลังกันในการพัฒนาคนให้มี คุณภาพ สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศเข้าสู่สังคมเศรษฐกิจ ฐานความรู ้ และการนำศั ก ยภาพของคนไทยมาใช้ประโยชน์ อยางเตมท่ี ่ ็ สำนักงานฯ ขอขอบคุณ ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจรญวงศศกด์ิ ทไดดำเนนการวจยและจดทำรายงาน คณลกษณะ ิ ์ ั ่ี ้ ิ ิั ั ุ ั และภาพอนาคตคนไทยที ่ พ ึ ง ประสงค์ ลุล่วงเป็นอย่างดี และหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อการจัดทำวิถี การเรียนรู้ของคนไทย เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคนไทยให้เป็น ผมคณภาพเพอรวมกนพฒนาประเทศสบไป ู้ ี ุ ่ื ่ ั ั ื (นายรง แกวแดง) ุ่ ้ เลขาธการคณะกรรมการการศกษาแหงชาติ ิ ึ ่
  • 5. (5) คำชี้แจง คนเป็ น กุ ญ แจสำคั ญ ที ่ ส ุ ด ในการกำหนดอนาคตของ ประเทศ การกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศจำเป็นต้อง พฒนาคนใหกลายเปน “กญแจดอกสำคญ” ทสามารถไขประตสู่ ั ้ ็ ุ ั ่ี ู ความรุ่งโรจน์ได้ในอนาคต และเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว ส่งผลให้ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา การพัฒนาคนในประเทศ ได้ฝากไว้กับคุณภาพทางการศึกษาเป็นสำคัญ ตามที่ได้บัญญัติ ไว้ในพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ หมวด 1 มาตรา 6 ว่า ิ “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และ คุณธรรม” หากพิจารณาตามตัวบทนี้ จะเห็นว่าเป้าหมายของการจัด การศกษาเพอพฒนาคนในประเทศมี 6 ประการ คอ ึ ่ื ั ื 1. มความสมบรณทงรางกายและจตใจ ี ู ์ ้ั ่ ิ 2. มสตปญญา : คดได้ คดเปน ประยกตได้ ี ิ ั ิ ิ ็ ุ ์ 3. มีความรู้ 4. มคณธรรมจรยธรรม ี ุ ิ 5. มวฒนธรรม ีั 6. อยูรวมกับผูอนได้อย่างมีความสุข ่่ ้ ่ื เป้าหมายดังกล่าว เมือพิจารณาร่วมกับบริบทความเปลียน ่ ่ แปลงของกระแสโลกาภวตน์ อาจกลาวไดวา ยงไมเ่ พยงพอในการ ิั ่ ้่ ั ี
  • 6. (6) เปนเครองยนยนวา จะสามารถพฒนาคนไทยใหเปนคนทกำหนด ็ ่ื ื ั ่ ั ้ ็ ่ี อนาคตของประเทศได้ เนองจากกระแสโลกาภวตน์ กอใหเ้ กดการ ่ื ิั ่ ิ เปลี่ยนแปลงของสังคมจากเดิมในหลาย ๆ เรื่อง เราจำเป็นต้อง เริ่มตั้งแต่ก้าวที่หนึ่งนั่นคือ การกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันก่อนว่า “คนที่พึงประสงค์ควรมีคุณลักษณะเช่นไร?” เพื่อทำให้เรา มั่นใจว่าอนาคตของประเทศชาติจะมีทั้งความมั่นคงและมั่งคั่ง มิใช่ความอ่อนแอและยากไร้ เราจำเป็นต้องกำหนดวิสัยทัศน์ใน การพฒนาคนใหชดเจน มฉะนนการพฒนาคนอาจหลงทศ ผดทาง ั ้ั ิ ้ั ั ิ ิ ไม่ประสบความสำเร็จตามทีคาดหวัง ่ รายงานวจยฉบบนจงเปนการตอบคำถามดงกลาว อนเปน ิ ั ั ้ี ึ ็ ั ่ ั ็ การดำเนินการสืบเนื่องจากโครงการ “วิถีการเรียนรู้ของคนไทย” โดยมี ฯพณฯ รองนายกรัฐมนตรีปองพล อดิเรกสาร รับผิดชอบ กำกับดูแลงานด้านการศึกษา เป็นประธานในการดำเนินการเพือ ่ หายทธศาสตรในการพฒนาวถการเรยนรของคนไทย ไดมอบหมาย ุ ์ ั ิ ี ี ู้ ้ ให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สกศ.) เป็นผู้ ดำเนิ น การกำหนดคุ ณ ลั ก ษณะที ่ พ ึ ง ประสงค์ ข องคนไทยใน อนาคต เพื่อหายุทธศาสตร์และกำหนดแนวทางในการพัฒนาวิถี การเรียนรู้ของคนไทย ให้ได้คนไทยที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ต่อไป การศ ึ ก ษาว ิ จ ั ย คร ั ้ ง น ี ้ ม ี ว ั ต ถ ุ ป ระสงค ์ ใ นการสำรวจหา คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ในอนาคต เพื่อกำหนด จดหมายใหหนวยงานตาง ๆ ในชาตรวมพลงรวมกนพฒนาคนไทย ุ ้ ่ ่ ิ ั ่ ั ั
  • 7. (7) ให้มีคุณสมบัติที่พึงประสงค์สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ไทยเข้าสู่เศรษฐกิจใหม่และสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ (New Economy and Knowledge-based Economy) ในอนาคต และเพอมงใหเกดการนำศกยภาพของคนมาใชอยางเตมท่ี ่ื ุ่ ้ ิ ั ้ ่ ็ ผู้วิจัยได้รวบรวมผลการศึกษา งานวิจัย รายงานและ วิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะและภาพอนาคตของคน ไทยที่พึงประสงค์ และได้ดำเนินการศึกษา สังเคราะห์และเรียบ เรียงให้เห็นภาพอนาคตของคนไทยที่ต้องการจะเห็น /หรือควรจะ เป็ น โดยครอบคลุ ม ทั ้ ง ด้ า นโครงสร้ า งร่ า งกายและสุ ข ภาพ ด้านจิตใจ ด้านสติปญญา ความรู้ ความสามารถ ด้านสังคม ศิลปะ ั การใช้ชีวิต การอาชีพและสุนทรียะ อันจะนำไปสู่การสร้างกรอบ การพัฒนาคนไทยให้มีลักษณะที่พึงประสงค์ทุกช่วงวัย นับตั้งแต่ แรกเกิดจนกระทั่งบรรลุนิติภาวะ ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า งานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ สถาบัน หรือองค์กรต่าง ๆ อาทิ สถาบันครอบครัว สถาบัน การศึกษา สื่อสารมวลชน สถาบันการเมือง ฯลฯ ในการนำไป พัฒนา และสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ เพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตต่อไป เกรยงศกด์ิ เจรญวงศศกด์ิ ี ั ิ ์ ั ผอำนวยการสถาบนอนาคตศกษาเพอการพฒนา ู้ ั ึ ่ื ั พฤศจกายน 2545 ิ
  • 8. (8) กิตติกรรมประกาศ รายงานฉบั บ นี ้ เ ป็ น งานวิ จ ั ย เอกสารที ่ ท างสำนั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สกศ.) มอบหมายให้ผู้วิจัย รวบรวมผลการศึกษา งานวิจย รายงานและวิทยานิพนธ์ทเ่ี กียวข้อง ั ่ กับคุณลักษณะและภาพอนาคตของคนไทยที่พึงประสงค์ เพื่อ ดำเนินการศึกษา สังเคราะห์และเรียบเรียงให้เห็นภาพอนาคต ของคนไทยที่ต้องการจะเห็น /หรือควรจะเป็น โดยครอบคลุม ทงดานโครงสรางรางกายและสขภาพ ดานจตใจ ดานสตปญญา ้ั ้ ้ ่ ุ ้ ิ ้ ิ ั ความรู้ ความสามารถ ด้านสังคม ศิลปะการใช้ชีวิต การอาชีพ และสุนทรียะ งานวิจยฉบับนีจะสำเร็จสมบูรณ์ไม่ได้หากไม่ได้รบความร่วมมือ ั ้ ั และความช่วยเหลือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก ผู้วิจัยขอ ขอบคณเปนอยางสงมา ณ โอกาสน้ี ุ ็ ่ ู กลุ่มแรกที่ผู้วิจัยขอขอบพระคุณอย่างสูง ได้แก่ คณะ- ทำงานโครงการวิถีการเรียนรู้ของคนไทย : ภาพอนาคตคนไทย ที่พึงประสงค์ อาทิ ดร.รุ่ง แก้วแดง เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ ดร.สิริพร บุญญานันต์ รองเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ดร. วิเชียร เกตุสงห์ ทีปรึกษา ิ ่ ด้าน ระบบการศึกษา และคณะทำงานท่านอืน ๆ ทุกท่าน ในการให้ ่ ความช่วยเหลือจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ และการประชุม
  • 9. (9) ระดมความคิดเห็น อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการวิจัย ในครั้งนี้ กลมทสอง ผวจยขอขอบคณ ทานผทรงคณวฒิ คณาจารย์ ุ่ ่ี ู้ ิ ั ุ ่ ู้ ุ ุ ผเชยวชาญดานตาง ๆ ผเขารวมประชมเชงปฏบตการ และผเขา ู้ ่ี ้ ่ ู้ ้ ่ ุ ิ ิ ั ิ ู้ ้ ประชุมระดมความคิดทุกท่าน ทีให้ความอนุเคราะห์เข้าร่วมสัมมนา ่ และนำเสนอขอมล ความรู้ ความคดเหนทเ่ี ปนประโยชนตองานวจย ้ ู ิ ็ ็ ์่ ิั ฉบับนี้ กลุ่มที่สาม ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่จากสำนักงานคณะ- กรรมการการศ ึ ก ษาแห ่ ง ชาต ิ ท ุ ก ท ่ า น โดยเฉพาะอย ่ า งย ิ ่ ง คณกลวตรา ภงคานนท์ ทไดใหความอนเุ คราะหและอำนวยความ ุ ุ ิ ั ่ี ้ ้ ์ สะดวกในการจัดหาเอกสารเพื่อการศึกษาค้นคว้า ตลอดจน การติดต่อประสานงานจนงานวิจยครังนีสำเร็จลงด้วยดี ั ้ ้ กลมสดทาย ผวจยขอขอบคณคณะผชวยวจย ของสถาบน ุ่ ุ ้ ู้ ิ ั ุ ู้ ่ ิ ั ั อนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนาทุกท่าน ที่ได้ให้ความช่วยเหลือใน การคนควาขอมลและเอกสารทเ่ี กยวของ อนชวยใหการสงเคราะห์ ้ ้ ้ ู ่ี ้ ั ่ ้ ั เป็นไปได้อย่างครบถ้วนและบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย เกรยงศกด์ิ เจรญวงศศกด์ิ ี ั ิ ์ ั ผอำนวยการสถาบนอนาคตศกษาเพอการพฒนา ู้ ั ึ ่ื ั พฤศจกายน 2545 ิ
  • 10. (10) บทสรุปสำหรับผู้บริหาร งานวิจัยเอกสาร เรื่อง ภาพอนาคตและคุณลักษณะของ คนไทยที่พึงประสงค์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อประมวลและวิเคราะห์ ปัจจัยขับเคลื่อนสังคมไทยในอนาคต สภาพสังคมไทยในสอง ทศวรรษหน้ า และสภาพอนาคตสั ง คมไทยที ่ พ ึ ง ประสงค์ ใ น สองทศวรรษหนา และเพอศกษา สงเคราะห์ วเิ คราะห์ และนำเสนอ ้ ่ื ึ ั คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ โดยเน้นไปที่กลุ่มเด็กและ เยาวชน (อายุ 0-20 ป) ครอบคลม 5 ดานหลก ไดแก่ ดานรางกาย ี ุ ้ ั ้ ้ ่ ดานจตใจ ดานความรู้ ดานทกษะความสามารถ และดานลกษณะ ้ ิ ้ ้ ั ้ ั ชีวต วิธดำเนินการวิจย ใช้การศึกษาข้อมูลงานวิจย หนังสือ เอกสาร ิ ี ั ั ตำราและวารสารทางวิ ช าการต่ า งๆ ทั ้ ง ในและต่ า งประเทศ โดยพจารณาใหครอบคลมประเดนของนโยบายและแผนการพฒนา ิ ้ ุ ็ ั ประเทศด้านต่างๆ แนวคิดและงานวิจัยเกี่ยวกับภาพอนาคต วิสัยทัศน์ของประเทศไทย รวมถึงภาพคนไทยที่พึงประสงค์ใน อนาคต ข้อมูลทางสถิติ ทฤษฎีจตวิทยาพัฒนาการ พร้อมข้อคิดเห็น ิ และข้อเสนอแนะที่ได้จากการประชุมระดมความคิด โครงการ วถการเรยนรของคนไทย ิี ี ู้ ผลการวจย สรปโดยจำแนกเปน 4 สวน ดงน้ี ิั ุ ็ ่ ั ส่ ว นที ่ 1 ปั จ จั ย ขั บ เคลื ่ อ นการเปลี ่ ย นแปลง สภาพสังคม ไทยในสองทศวรรษหน้า
  • 11. (11) สวนท่ี 2 ภาพสงคมไทยในสองทศวรรษหนา ่ ั ้ สวนท่ี 3 ภาพสังคมไทยทีพงประสงค์ในสอง ่ ่ ึ ทศวรรษหนา ้ ส่วนที่ 4 คณลกษณะของคนไทยทพงประสงค์ ุ ั ่ี ึ ส่วนที่ 1 ปัจจัยขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสภาพสังคม ไทยในสองทศวรรษหนา จำแนกเปน 2 ดาน คอ ปจจยภายนอก ้ ็ ้ ื ั ั ที่เป็นผลกระทบมาจากกระแสโลกาภิวัตน์ และปัจจัยภายใน ประเทศไทยเอง 1. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีขนสูง การแพร่กระจายและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสนเทศ ้ั การแข่งขันที่รุนแรง การเพิ่มบทบาทและความสำคัญของความรู้ ในสังคม การเชื่อมโยงถึงกันเป็นเครือข่าย การขยายตัวของ กระแสประชาธปไตย การแพรกระจายของวฒนธรรมตางๆ ในโลก ิ ่ ั ่ กระแสการตื่นตัวในเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การแสวงหา การเตมเตมในจตใจ ิ ็ ิ 2. ปัจจัยภายใน ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราช- อาณาจักรไทย พ.ศ.2540 วิกฤตคุณธรรมจริยธรรม การเปลี่ยน โครงสร ้ า งประชากรของประเทศไทยในอนาคต การปฏ ิ ร ู ป การศกษา และการปฏรปสขภาพ ึ ิู ุ ส่วนที่ 2 ภาพสังคมไทยในสองทศวรรษหน้า ใน 3 ดานหลก คอ ดานเศรษฐกจ ดานสงคม และดานการเมอง ้ ั ื ้ ิ ้ ั ้ ื
  • 12. (12) 1. ภาพอนาคตด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้วย การแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ภาคบริการขยายตัวในระดับสูง ภาคอุตสาหกรรมปรับสู่การใช้ เทคโนโลยการผลตขนสงมากขน เกดการวางงานในกลมแรงงาน ี ิ ้ั ู ้ึ ิ ่ ุ่ ไร้ฝีมือจนถึงผู้บริหารระดับกลาง ความเหลื่อมล้ำระหว่างเมือง กับชนบทขยายตัวเพิมขึน ่ ้ 2. ภาพอนาคตด้านสังคม ได้แก่ สังคมทีมความ ่ ี เป็นเมืองและเป็นสากลมากขึ้น สังคมที่การคอรัปชั่นกระทำได้ ยากขึ้น สังคมที่ตระหนักเรื่องสิทธิมนุษยชนมากขึ้น สังคมที่ให้ ความสำคญดานสงแวดลอมมากขน สงคมทมงสการเรยนรมากขน ั ้ ่ิ ้ ้ึ ั ่ี ุ่ ู่ ี ู้ ้ึ 3. ภาพอนาคตดานการเมอง กลาวคอ การเมอง ้ ื ่ ื ื ไทยอยู่ใต้อิทธิพลการจัดระเบียบโลกใหม่ด้านการค้า การเมือง ทเี่ ปนประชาธปไตยสงขน การเมองทโปรงใสมากขน ็ ิ ู ้ึ ื ่ี ่ ้ึ สวนท่ี 3 ภาพสงคมไทยทพงประสงคในสองทศวรรษหนา ่ ั ่ี ึ ์ ้ ประกอบด้วย 1. สังคมที่มีประสิทธิภาพ ในที่นี้หมายถึง สังคม ทสามารถสรางประโยชนสงสดไดจากสงทมอยในสงคม ทงจากคน ่ี ้ ์ ู ุ ้ ่ิ ่ี ี ู่ ั ้ั ระบบ และสภาพแวดลอม โดยใหมการสญเสยทรพยากรในระบบ ้ ้ ี ู ี ั ให้น้อยที่สุด โดยสังคมที่มีประสิทธิภาพนั้น ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ คนในสังคมที่มีประสิทธิภาพ และระบบใน สังคมที่มีประสิทธิภาพ
  • 13. (13) 2.ส ั ง คมท ี ่ ม ี ค วามร ู ้ เ ป ็ น ฐานม ี ป ั ญ ญาเป ็ น แกน การพฒนา ั 3. สงคมทมเอกภาพในความหลากหลาย ั ่ี ี 4. สงคมทใหความสำคญตอสงแวดลอม ั ่ี ้ ั ่ ่ิ ้ 5. สังคมทีภมใจในความเป็นไทย ่ ู ิ 6. สงคมทเ่ี นนชมชนวถี ั ้ ุ ิ 7. สงคมทมคณธรรมจรยธรรม ั ่ี ี ุ ิ สวนท่ี 4 คณลกษณะของคนไทยทพงประสงค์ สรปไดดงน้ี ่ ุ ั ่ี ึ ุ ้ั 1. มิติด้านร่างกาย คือ ผู้ที่มีสุขภาพร่างกาย สมบูรณ์แข็งแรง มีการพัฒนาการในด้านร่างกายและสติปัญญา อย่างสมบูรณ์ตามเกณฑ์ในแต่ละช่วงวัย 2. มิติด้านจิตใจ คือ ผู้ที่รู้จักและเข้าใจตนเอง เข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เข้าใจสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง และสภาพแวดลอมตางๆ รอบตวไดเปนอยางดี ้ ่ ั ้ ็ ่ 3. มิติด้านความรู้ คือ เป็นผู้ที่สามารถรู้ลึก ในแก ่ น สาระของว ิ ช า สามารถร ู ้ ร อบต ั ว ในเช ิ ง สหว ิ ท ยาการ และเป็นผู้ที่สามารถรู้ได้ไกลโดยสามารถคาดการณ์เกี่ยวกับ อนาคตทจะมาถงได้ ่ี ึ 4. มตดานทกษะความสามารถ คือ ผูทมทกษะ ิ ิ ้ ั ้ ่ี ี ั ในด ้ า นการค ิ ด ท ั ก ษะการส ื ่ อ สาร ท ั ก ษะภาษาต ่ า งประเทศ ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะทางสังคม ทักษะ การอาชีพ ทักษะทางสุนทรียะ และทักษะการจัดการทีดี ่
  • 14. (14) สารบัญ หน้า คำนำ (3) คำชแจง ้ี (5) กิตติกรรมประกาศ (8) บทสรุปสำหรับผู้บริหาร (10) บทที่ 1 บทนำ 1 วัตถุประสงค์ 2 ประโยชน์ทคาดว่าจะได้รบ ่ี ั 3 ขอบเขตการศกษา ึ 3 ระยะเวลาดำเนินการ 5 บทท่ี 2 ปจจยกำหนดภาพสงคมไทยในอนาคต ั ั ั 6 I. ปจจยภายนอก ั ั 6 1. ความกาวหนาของเทคโนโลยขนสง ้ ้ ี ้ั ู 7 2. การแพรกระจายและเขาถงขอมลขาวสารสนเทศ 8 ่ ้ ึ ้ ู ่ 3. การแขงขนทรนแรง ่ ั ่ี ุ 9 4. การเพมบทบาทและความสำคญของความรู้ ่ิ ั ในสังคม 10 5. การเชอมโยงถงกนเปนเครอขาย ่ื ึ ั ็ ื ่ 12 6. การขยายตวของกระแสประชาธปไตย ั ิ 12 7. การแพรกระจายของวฒนธรรมตาง ๆ ในโลก ่ ั ่ 14 8. กระแสการตนตวในเรองการอนรกษสงแวดลอม 15 ่ื ั ่ื ุ ั ์ ่ิ ้ 9. การแสวงหาการเตมเตมในจตใจ ิ ็ ิ 16
  • 15. (15) II. ปัจจัยภายใน 16 1. รฐธรรมนญแหงราชอาณาจกรไทย พ.ศ. 2540 ั ู ่ ั 17 2. วิกฤตคุณธรรมจริยธรรม 18 3. การเปลียนโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ่ ในอนาคต 20 4. การปฏิรปการศึกษา ู 21 5. การปฏรปสขภาพ ิู ุ 22 บทท่ี 3 ภาพอนาคตของสงคมไทย ั ในสองทศวรรษหน้า 23 I. ภาพอนาคตดานเศรษฐกจ ้ ิ 23 1. การแขงขนทางเศรษฐกจระหวางประเทศ ่ ั ิ ่ ทวความรนแรงยงขน ี ุ ่ิ ้ึ 23 2. ภาคบริการขยายตัวในระดับสูง 25 3. ภาคอตสาหกรรมปรบสการใชเทคโนโลยี ุ ั ู่ ้ การผลตชนสงมากขน ิ ้ั ู ้ึ 26 4. เกดการวางงานในกลมแรงงานไรฝมอ ิ ่ ุ่ ้ ี ื จนถงผบรหารระดบกลาง ึ ู้ ิ ั 27 5. ความเหลอมลำระหวางเมองกบชนบท ่ื ้ ่ ื ั ขยายตัวเพิมขึน ่ ้ 29 II. ภาพอนาคตดานสงคม ้ ั 31 1. สังคมทีมความเป็นเมือง ่ ี และความเปนสากลมากขน ็ ้ึ 31
  • 16. (16) 2. สังคมทีการคอรัปชันกระทำได้ยากขึน ่ ่ ้ 32 3. สงคมทตระหนกเรองสทธมนษยชนมากขน ั ่ี ั ่ื ิ ิ ุ ้ึ 33 4. สังคมทีให้ความสำคัญด้านสิงแวดล้อมมากขึน ่ ่ ้ 34 5. สังคมทีมงสูการเรียนรูมากขึน ่ ุ่ ่ ้ ้ 35 III. ภาพอนาคตด้านการเมือง 37 1. การเมองไทยอยใตอทธพลระเบยบโลกใหม่ ื ู่ ้ ิ ิ ี ดานการคา ้ ้ 37 2. การเมองทเี่ ปนประชาธปไตยสงขน ื ็ ิ ู ้ึ 38 3. การเมองทโปรงใสมากยงขน ื ่ี ่ ่ิ ้ึ 41 บทที่ 4 ภาพสังคมไทยทีพงประสงค์ ่ ึ ในสองทศวรรษหน้า 43 I. สงคมทมประสทธภาพ ั ่ี ี ิ ิ 44 1. องคประกอบของคนในสงคมทมประสทธภาพ 44 ์ ั ่ี ี ิ ิ 2. การมระบบบรหารในสงคมทมประสทธภาพ ี ิ ั ่ี ี ิ ิ 45 II. สังคมทีมความรูเป็นฐานมีปญญาเป็นแกนการพัฒนา 46 ่ ี ้ ั III. สังคมทีมเอกภาพในความหลากหลาย ่ ี 47 IV. สังคมทีให้ความสำคัญต่อสิงแวดล้อม ่ ่ 48 V. สังคมทีภมใจในความเป็นไทย ่ ู ิ 49 VI. สังคมทีเน้นชุมชนวิถี ่ 50 VII. สังคมทีมคณธรรมจริยธรรม ่ ี ุ 50
  • 17. (17) บทที่ 5 คุณลักษณะคนไทยทีพงประสงค์ ่ ึ 52 I. มิตดานร่างกาย ิ ้ 52 1. พฒนาการดานรางกายเจรญเตบโตอยางสมบรณ์ ั ้ ่ ิ ิ ่ ู ตามเกณฑการพฒนาในแตละชวงวย ์ ั ่ ่ ั 52 2. พฒนาการดานสตปญญาเจรญเตบโตอยางสมบรณ์ ั ้ ิ ั ิ ิ ่ ู ตามเกณฑการพฒนาในแตละชวงวย ์ ั ่ ่ ั 53 3. มสขภาพรางกายทสมบรณแขงแรงไมเจบปวยงาย 54 ี ุ ่ ่ี ู ์ ็ ่ ็ ่ ่ II. มิตดานจิตใจ ิ ้ 57 1. เปนผทรจกและเขาใจตนเองเปนอยางดี ็ ู้ ่ี ู้ ั ้ ็ ่ 58 2. เปนผทรจกและเขาใจความรสกของ ็ ู้ ่ี ู้ ั ้ ู้ ึ ผอนไดเ้ ปนอยางดี ู้ ่ื ็ ่ 58 3. เปนผทรจกและเขาใจสถานการณ์็ ู้ ่ี ู้ ั ้ สภาพแวดลอมภายนอกตาง ๆ ไดเปนอยางดี ้ ่ ้ ็ ่ 59 III. มตดานความรู้ ิ ิ ้ 61 1. รอยางลกซงถงแกนสาระของวชา ู้ ่ ึ ้ึ ึ ่ ิ 61 2. รรอบดานเชงสหวทยาการ ู้ ้ ิ ิ 64 3. รไกลไปถงอนาคต ู้ ึ 66 IV. มิตดานทักษะความสามารถ ิ ้ 68 1. ทักษะด้านการคิด 68 2. ทกษะการสอสาร ั ่ื 74 3. ทกษะภาษาตางประเทศ ั ่ 77 4. ทกษะทางเทคโลยสารสนเทศ ั ี 80 5. ทกษะทางสงคม ั ั 82 5.1 ทกษะมนษยสมพนธ์ ั ุ ั ั 82
  • 18. (18) 5.2 ทกษะการปรบตว ั ั ั 84 5.3 ทักษะการทำงานร่วมกับผูอน ้ ่ื 85 6. ทักษะการอาชีพ 87 7. ทักษะทางสุนทรียะ 88 8. ทักษะการจัดการ 90 8.1 ทกษะการจดการความรู้ ั ั 90 8.2 ทกษะการบรหารเวลา ั ิ 92 V มตในดานลกษณะชวต ิ ิ ้ ั ีิ 93 1. ขยัน อดทน และทุมเททำงานหนัก ่ 93 2. มีระเบียบวินัย 95 3. ความซอสตย์ ่ื ั 96 4. มวสยทศน์ ีิ ั ั 98 5. ทำสงตางๆ อยางดเลศ ่ิ ่ ่ ี ิ 99 6. รกการเรยนรตลอดชวต ั ี ู้ ีิ 100 7. มีจิตสำนึกประชาธิปไตย 101 8. เหนคณคาในเอกลกษณความเปนไทย ็ ุ ่ ั ์ ็ 103 9. มีจตสำนึกเพือผูอนและส่วนรวม ิ ่ ้ ่ื 106 10.ประหยด อดออม ั 107 บทที่ 6 สรุปและข้อเสนอแนะ 110 บรรณานุกรม 113
  • 19. ภาพอนาคตและ คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ 1 บทที่ 1 บทนำ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 ซึงเป็น่ แผนยุทธศาสตร์ชี้กรอบทิศทางการพัฒนาประเทศระยะกลางที่ ดำเนินการต่อเนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 ในด้านแนวคิดทียด “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” ่ึ ในทุกมิติอย่างเป็นองค์รวม และให้ความสำคัญกับการพัฒนา ทสมดล ทงดานตวคน สงคม เศรษฐกจ และสงแวดลอม โดยเฉพาะ ่ี ุ ้ั ้ ั ั ิ ่ิ ้ อย่างยิ่งการสร้างระบบบริหารจัดการภายในที่ดีให้เกิดขึ้นในทุก ระดับ อันจะทำให้เกิดการพัฒนาทียงยืนโดยมี “คน” เป็นศูนย์กลาง ่ ่ั ของการพฒนาไดอยางแทจรง(สำนกงานคณะกรรมการพฒนาการ ั ้ ่ ้ ิ ั ั เศรษฐกจและสงคมแหงชาติ, 2544: 2) ประกอบกบเจตนารมณ์ ิ ั ่ ั ความมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่ต้องเป็นไป เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในการดำรงชวต สามารถ อยรวมกบผอนไดอยางมความสข ดงใน ีิ ู่ ่ ั ู้ ่ื ้ ่ ี ุ ั พระราชบญญตการศกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 1 มาตรา 6 ั ั ิ ึ ่ ที่บัญญัติว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ
  • 20. ภาพอนาคตและ 2 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ คณธรรม” สิงทีกล่าวมานี้ แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมุงให้ความ ุ ่ ่ ่ สำคญกบการพฒนาทรพยากรมนษยมากขนเปนลำดบ ั ั ั ั ุ ์ ้ึ ็ ั แต่อย่างไรก็ตาม การจะพัฒนาคนในประเทศอย่างมีทิศ ทางย่อมขึ้นกับความชัดเจนในเป้าหมายเรื่องลักษณะคนไทยที่ สังคมต้องการในอนาคต เป้าหมายลักษณะของคนไทยในอนาคต ทพงประสงคพงไดมาโดยการศกษาวจยอยางเปนระบบและไดผล ่ี ึ ์ ึ ้ ึ ิั ่ ็ ้ การศกษาทนาเชอถอ โดยคำนงถงการเปลยนแปลงและแนวโนม ึ ่ี ่ ่ื ื ึ ึ ่ี ้ ของบริบทแวดล้อมในอนาคตที่จะเกิดขึ้น ซึ่งหากเราสามารถ กำหนดภาพอนาคตเกี่ยวกับลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ได้แล้ว จะช่วยทำให้หน่วยงานต่าง ๆ ที่มีภารกิจหน้าที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาเด็กและเยาวชน ซึ่งในปัจจุบันมีมากถึง 15 หน่วยงานมี ทิศทางที่ชัดเจนในการพัฒนาเด็กและเยาวชนของชาติ อีกทั้งยัง สามารถกำหนดแนวทางและจดสรรหนาทความรบผดชอบในการ ั ้ ่ี ั ิ พัฒนาลักษณะของคนที่พึงประสงค์แต่ละด้านได้ชัดเจนมากขึ้น ด้วย อันเป็นการช่วยลดปัญหาความซ้ำซ้อน การขาดความเป็น เอกภาพในการปฏบตงานของหนวยงานตาง ๆ ทเ่ี กยวของ และลด ิ ั ิ ่ ่ ่ี ้ การสญเสยทรพยากรทมอยจำกดไปโดยไมจำเปน ู ี ั ่ี ี ู่ ั ่ ็ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประมวลและวิเคราะห์ปัจจัยขับเคลื่อนสังคมไทย ในอนาคต สภาพสังคมไทยในสองทศวรรษหน้า และสภาพอนาคต สังคมไทยทีพงประสงค์ในสองทศวรรษหน้า ่ ึ
  • 21. ภาพอนาคตและ คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ 3 2. เพื่อศึกษา สังเคราะห์ วิเคราะห์ และนำเสนอคุณ- ลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ โดยเน้นไปที่กลุ่มเด็กและเยาวชน ครอบคลุม 5 ด้านหลัก ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความรู้ ดานทกษะความสามารถ และดานลกษณะชวต ้ ั ้ ั ีิ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. นำผลการศึ ก ษาที ่ ไ ด้ ร ั บ ในเรื ่ อ งคุ ณ ลั ก ษณะที ่ พ ึ ง ประสงค์ของคนไทย ใช้เป็นเป้าหมายเพื่อกำหนดแนวทางการ ดำเนินการ และกำหนดยุทธศาสตร์การทำงานร่วมกันของหน่วย งานต่าง ๆ เพื่อสร้างคนไทยรุ่นใหม่ โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดังกล่าว 2.นำข้อมูลที่ได้รับเรื่องสังคมไทยในอนาคต สภาพสังคม ไทยในสองทศวรรษหน้า และสภาพอนาคตสังคมไทยทีพงประสงค์ ่ ึ ในสองทศวรรษหน้า ไปใช้เป็นฐานข้อมูลประกอบการศึกษาเพื่อ กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาคนไทยในโอกาสต่อไป ขอบเขตการศึกษา การฉายภาพคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์นี้ เป็นการ นำเสนอคุณลักษณะของคนไทยภายใต้บริบทของลักษณะสังคม ในอนาคต โดยพยายามคาดการณ์ปัจจัยขับเคลื่อนหลักที่น่า จะเกิดขึ้นในอนาคตอีก 15-20 ปีข้างหน้าโดยประมาณ ซึ่งเป็น ระยะเวลาที่พอประเมินได้ว่าน่าจะมีปัจจัยและแนวโน้มใดเกิด
  • 22. ภาพอนาคตและ 4 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ขนบาง หากใชกรอบเวลาทยาวไกลกวาน้ี อาจมปจจยทไมสามารถ ้ึ ้ ้ ่ี ่ ี ั ั ่ี ่ คาดการณได้ และหากระยะสนกวาน้ี อาจไมเ่ หนการเปลยนแปลง ์ ้ั ่ ็ ่ี ทชดเจนมากนก ่ี ั ั สำหรับคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์นี้ จะมิได้ จำแนกตามช ่ ว งว ั ย เน ื ่ อ งจากความจำก ั ด ของระยะเวลาใน การศึกษาที่มีระยะเวลาเพียง 45 วัน ดังนั้น จึงได้กำหนดกรอบ การพจารณาคณลกษณะคนไทยทพงประสงคใน 5 ดานหลก คอ ิ ุ ั ่ี ึ ์ ้ ั ื ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความรู้ ด้านทักษะความสามารถ และดานลกษณะชวต เนองจากดานตาง ๆ เหลานเ้ี ปนองคประกอบ ้ ั ี ิ ่ื ้ ่ ่ ็ ์ หลั ก สำคั ญ ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การพั ฒ นามนุ ษ ย์ ใ นแต่ ล ะช่ ว งวั ย ทคอนขางครบถวน ่ี ่ ้ ้ ในการศึกษาครั้งนี้ใช้การวิจัยทางเอกสารเป็นหลักและ เสรมดวยการจดประชมเชงปฏบตการกลมผเู้ ชยวชาญ เนองดวย ิ ้ ั ุ ิ ิ ั ิ ุ่ ่ี ่ื ้ ความจำกัดทางด้านระยะเวลาและงบประมาณในการวิจัย การวจยทางเอกสาร (documentary research) ไดทำการ ิั ้ ศกษาจากงานวจย หนงสอ เอกสาร ตำรา และวารสารทางวชาการ ึ ิั ั ื ิ ตาง ๆ ทงในและตางประเทศ ซงพยายามพจารณาใหครอบคลม ่ ้ั ่ ่ึ ิ ้ ุ ประเดนเรองแผนการพฒนาประเทศดานตาง ๆ ทงดานเศรษฐกจ ็ ่ื ั ้ ่ ้ั ้ ิ สังคม ตลอดจนแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทั้งของไทย และต ่ า งประเทศ แนวค ิ ด และงานว ิ จ ั ย เก ี ่ ย วก ั บ ภาพอนาคต วิสัยทัศน์ของประเทศไทย รวมถึงภาพคนไทยที่พึงประสงค์ใน อนาคต ข้อมูลทางสถิติทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตที่เกี่ยว
  • 23. ภาพอนาคตและ คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ 5 ข้องกับภาพสังคมไทยและคนไทยในอนาคต ทฤษฎีจิตวิทยา พัฒนาการ ข้อมูลด้านความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยทำการวิเคราะห์และสังเคราะห์เนื้อหาจากเอกสารที่รวบ รวมมาทั้งหมด เพื่อนำไปประกอบการวิเคราะห์และสังเคราะห์ คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ การประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshop) เพอรวบรวมความคดเหนและขอเสนอแนะจากผทรง ่ื ิ ็ ้ ู้ คุณวุฒและผูเ้ ชียวชาญด้านต่าง ๆ เพือให้ได้ขอมูลนำมาประกอบ ิ ่ ่ ้ การวิเคราะห์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์เพิ่มเติมให้ครบ ถ้วนยิ่งขึ้น ระยะเวลาดำเนินการ ระหวางวนท่ี 2 สงหาคม - 20 กนยายน พ.ศ. 2545 รวม ่ ั ิ ั ประมาณ 45 วน ั
  • 24. ภาพอนาคตและ 6 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ บทที่ 2 ปัจจัยกำหนดภาพสังคมไทยในอนาคต ในการวิจัยครั้งนี้จะแบ่งการพิจารณาปัจจัยกำหนดภาพ อนาคตของสังคมไทยใน 2 ด้าน คือ ปัจจัยภายนอกที่เป็นผล กระทบมาจากกระแสโลกาภิ ว ั ต น์ และปั จ จั ย เฉพาะภายใน ประเทศไทยเอง I. ปจจยภายนอก ั ั ประเทศต่าง ๆ ในโลกเชื่อมโยงกันเป็นหมู่บ้านเดียว (global village) ทงทางการคา การเงน การลงทน การเมอง สงคม ้ั ้ ิ ุ ื ั วัฒนธรรม รวมไปถึงการเชื่อมโยงทางความรู้ แนวคิด ค่านิยม และพฤติกรรม ผ่านการถ่ายโอนข้อมูลด้วยระบบสารสนเทศและ สื ่ อ สารมวลชน การถ่ า ยโอนสิ น ค้ า ข้ า มพรมแดนภู ม ิ ศ าสตร์ อย่างเกือบอิสระ และผ่านการคมนาคมที่เชื่อมต่อแทนทุกจุดใน โลกเขาหากนอยางใกลชด การเชอมโยงเหลาน้ี ทำใหสงทเี่ กดขน ้ ั ่ ้ิ ่ื ่ ้ ่ิ ิ ้ึ ในสังคมหนึ่ง สามารถแพร่กระจายทั่วโลกได้ภายในเวลาอัน รวดเร็ว เมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้นในจุดหนึ่งของโลก อีกประเทศหนึ่ง ที่อยู่ห่างไกลอาจได้รับผลกระทบไปด้วย การไหลบ่าของกระแส
  • 25. ภาพอนาคตและ คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ 7 โลกด้านต่าง ๆ ที่ทะลุทะลวงรุกล้ำเข้ามายังภายในประเทศไทย ส่งผลให้ปัจจัยภายนอกประเทศสามารถมีอิทธิพลกระทบต่อ วิถีชีวิตของประชาชนไทยได้อย่างยากจะหลีกเลี่ยงได้ จาการประมวลขอมลในเอกสารตาง ๆ พบวา ปจจยภาย ้ ู ่ ่ ั ั นอกประเทศสำคัญที่จะส่งผลกระทบต่ออนาคตของประเทศไทย ได้แก่ 1. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีขนสูง ้ั เทคโนโลยีเริ่มมีบทบาทสำคัญในการกำหนดรูปแบบการ พัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกตั้งแต่ศตวรรรษที่ 20 และ จะยิ่งทวีความสำคัญมากขึ้นในศตวรรษหน้า ความรวดเร็วของ การพัฒนาทางเทคโนโลยีที่เห็นได้ชัดเจนในศตวรรษที่ 20 คือ การที่มนุษย์สามารถบินขึ้นสู่อากาศได้เป็นครั้งแรกในประวัติ ศาสตรโลกดวยเครองบนของพนองตระกลไรท์ (Wright) ในปี ค.ศ. ์ ้ ่ื ิ ่ี ้ ู 1901 แต่เพียงอีก 68 ปีจากนั้นมนุษย์สามารถทะยานไกลไปสู่ อวกาศและสัมผัสพื้นผิวของดาวเคราะห์ดวงอื่นได้ การพัฒนา เทคโนโลยีอย่างรวดเร็วในช่วงทีผานมา ได้พามนุษยชาติกาวข้าม ่ ่ ้ ขี ด จำกั ด และจิ น ตนาการหลายอย่ า ง ความก้ า วหน้ า ทาง เทคโนโลยีนได้ขยายไปสูพรมแดนของวิทยาการด้านอืน ๆ และจะ ้ี ่ ่ ยังคงพัฒนาต่อไปด้วยอัตราเร่งทีเ่ พิมขึนในโลกอนาคต โดยเฉพาะ ่ ้ อย่ า งยิ ่ ง วิ ท ยาการด้ า นคอมพิ ว เตอร์ วิ ท ยาการทางด้ า นการ สอสารโทรคมนาคม เทคโนโลยเพอเพมประสทธภาพในการผลต ่ื ี ่ื ่ิ ิ ิ ิ
  • 26. ภาพอนาคตและ 8 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ เทคโนโลยีทางการแพทย์ เทคโนโลยีทางการเกษตร เทคโนโลยี ชีวภาพและพันธุวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยีด้านวัสดุศาสตร์ รวมทั้งวิทยาการด้านอวกาศและวิทยาการใต้ทะเล การพัฒนาสู่ เทคโนโลยีขั้นสูงนี้จะมีผลทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนใน สงคมตาง ๆ ซงรวมถงสงคมไทยแปรเปลยนไปอยางมาก ั ่ ่ึ ึ ั ่ี ่ 2. การแพร่กระจายและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสนเทศ ควบค ู ่ ไ ปก ั บ ย ุ ค แห ่ ง การพ ั ฒ นาเทคโนโลย ี ข ั ้ น ส ู ง ใน อนาคต การพฒนาวทยาการดานคอมพวเตอรในปี ค.ศ.1946 และ ั ิ ้ ิ ์ การพัฒนาเครือข่ายข้อมูลของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ในปีค.ศ.1969 ได้นำไปสู่การสร้างระบบอินเทอร์เน็ต (Internet) ในช่วงทศวรรษที่ 1980 และ World Wide Web ในช่วงทศวรรษที่ 1990 เมอผสมผสานกบความกาวหนาของสอสารมวลชน แขนง ่ื ั ้ ้ ่ื ต่าง ๆ อาทิ โทรทัศน์ วิทยุ สิ่งพิมพ์ วิทยาการดังกล่าว ได้พา มนุษย์ไปสู่การปฏิวัติระบบข้อมูลของโลกทำให้เกิดการถ่ายโอน และเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างบุคคล องค์กร และประเทศ อย่าง สะดวกรวดเร็ว ผู้คนในซีกโลกหนึ่งสามารถติดต่อรับรู้การเปลี่ยน แปลงของระบบเศรษฐกจ ธรกจ การเมอง การศกษา วฒนธรรม ิ ุ ิ ื ึ ั ค่ า นิ ย ม ความคิ ด และวิ ถ ี ช ี ว ิ ต ของคนในแต่ ล ะประเทศ ซึ ่ ง สอดคล้องกับสมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย (2540: 32) ทีกล่าวว่า ่ เทคโนโลยใหมทำใหเ้ กดความหลากหลายในการแสวงหาขาวสาร ี ่ ิ ่ ข้อมูล สามารถกระจายข่าวสารได้กว้างขวางพร้อมกัน เครือข่าย
  • 27. ภาพอนาคตและ คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ 9 สารสนเทศจะกลายเปนเครองมอสำคญของการสรางความสามารถ ็ ่ื ื ั ้ การแขงขน (competitiveness) ทงในระดบประเทศและนานาชาติ ่ ั ้ั ั ความสำเร็จและอำนาจของบุคคลจะอยู่ที่ความสามารถ ในการเข้าถึงการจัดการ และประยุกต์ใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่มี อยู่มากมายเหล่านี้ได้ ซึ่งปัจจัยด้านข้อมูลสารสนเทศมีอิทธิพล ในการกำหนดภาพสงคมไทยในอนาคตในหลายดาน ดงทจะกลาว ั ้ ั ่ี ่ ถึงต่อไป 3. การแขงขนทรนแรง ่ ั ่ี ุ ความก้ า วหน้ า ของเครื อ ข่ า ยสารสนเทศทำให้ แ ต่ ล ะ ปจเจกบคคล สามารถเขาถงขอมลขาวสารจากมมตาง ๆ ของโลก ั ุ ้ ึ ้ ู ่ ุ ่ ได้มากขึ้น รวดเร็วขึ้น และเท่าเทียมกัน กอปรกับกำแพงกีดกัน ทางการค้าที่นับวันจะสลายหายไปทุกขณะ ทำให้การแข่งขัน ทางการคาระหวางประเทศเพอความอยรอดมความจำเปนมากขน ้ ่ ่ื ู่ ี ็ ้ึ สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่เร่งรัดให้แต่ละประเทศ ต้องก้าวเข้าสู่เวทีของการแข่งขันระดับนานาชาติ คู่แข่งขันจาก ภายนอกหรือข้ามพื้นที่ภูมิศาสตร์ของรัฐสามารถรุกเข้าสู่ตลาด ภายในได้อย่างง่ายดาย ส่งผลให้การพยายามช่วงชิงความได้ เปรียบในการแข่งขันจะยังคงอยู่และดำเนินต่อไป รวมทั้งยังมี แนวโน้มที่จะขยายตัวจากระดับระหว่างประเทศลงสู่ระดับชีวิต ประจำวันของประชาชนมากขึ้นด้วย ในลักษณะการแข่งขันทาง การศึกษาและการแข่งขันในการทำงาน โดยปัจจัยด้านการแข่งขัน
  • 28. ภาพอนาคตและ 10 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ นี้จะทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่องในอนาคต และมีผลต่อการ กำหนดทศทางการเรยนรของคนในอนาคตอยางแนนอน ิ ี ู้ ่ ่ 4. การเพิมบทบาทและความสำคัญของความรูในสังคม ่ ้ ความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศได้ เ ปิ ด โลก การเรี ย นรู ้ อ อกไปอย่ า งไร้ ข ี ด จำกั ด และความก้ า วหน้ า ทาง เทคโนโลยีสารสนเทศนี้จะนำเราไปสู่การปฏิวัติระบบการเรียนรู้ ของมนุษยชาติ ความรู้จะกลายเป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถเข้าถึง ได้หมด ผู้คนสามารถเรียนรู้จากการศึกษาอย่างไม่เป็นทางการ ได ้ ม ากมาย สอดคล ้ อ งก ั บ ข ้ อ เสนอของสมาคมน ั ก เร ี ย นท ุ น รัฐบาลไทย (2540: 32) ที่กล่าวว่า ด้านการศึกษาจะมีเครือข่าย ขอมลความรททกคนเขาถงไดโดยตรง จะมรปแบบของการเรยนรู้ ้ ู ู้ ่ี ุ ้ ึ ้ ีู ี ด้วยตนเองเข้ามาเสริมระบบโรงเรียนมากขึ้น หรืออาจเรียนรู้ ได้ด้วยตนเองที่ทำงานหรือที่บ้าน สภาพดังกล่าวจะทำให้ความรู้ ไม่ถูกผูกขาดเฉพาะคนเพียงบางส่วนอีกต่อไป คนในวงกว้างจะ สามารถเข้าถึงความรูได้ดยงขึน ้ ี ่ิ ้ ในขณะเดียวกันความรู้จะเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยเพิ่ม ขดความสามารถของหนวยงานตาง ๆ สงคมแตละยคตางใชปจจย ี ่ ่ ั ่ ุ ่ ้ ั ั สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันทีตางกัน ยุคเศรษฐกิจบนฐาน ่ ่ เกษตรกรรมใช้ปัจจัยที่ดิน แรงงาน และกำลังทหารสร้างความ ไดเ้ ปรยบในการแขงขน ตอมาในยคเศรษฐกจบนฐานอตสาหกรรม ี ่ ั ่ ุ ิ ุ ปัจจัยสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ได้เปลี่ยนมาเป็น
  • 29. ภาพอนาคตและ คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ 11 เครื่องจักร ทรัพยากรธรรมชาติ และเงินทุน แต่สำหรับในยุค ปัจจุบันที่เป็นยุคเศรษฐกิจใหม่ ปัจจัยสร้างความได้เปรียบทาง การแข่งขัน ได้เปลี่ยนจากปัจจัยที่จับต้องได้ไปสู่ปัจจัยที่มอง ไม่เห็นแต่มีพลังมหาศาล นั่นคือ ข้อมูลข่าวสารและทุนความรู้ (knowledge capital) อุ ต สาหกรรมบนฐานความรู ้ ข ั บ เคลื ่ อ นเศรษฐกิ จ ของ ประเทศที่พัฒนาแล้วให้ก้าวทะยานไปอย่างรวดเร็ว จากผล การศกษาถงการเพมผลตภาพ (productivity) ของระบบเศรษฐกจ ึ ึ ่ิ ิ ิ อเมรกานบแตปี 1995 พบวา เกดจากหลายปจจย แตหากเทยบ ิ ั ่ ่ ิ ั ั ่ ี สัดส่วนกันแล้ว ร้อยละ 50 เป็นผลจากการพัฒนาผลิตภาพของ อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์และซอฟแวร์ ทุนความรู้จึงเป็นปัจจัย สำคัญทีจะสร้างความสามารถทางการแข่งขันในระยะยาว โดยที่ ่ ทุนความรู้คือ ผลรวมของวิธีการ เทคนิค ข้อเท็จจริง แนวคิด ความเขาใจทลกซง ขอสงเกต หรอประสบการณทสามารถนำมา ้ ่ี ึ ้ึ ้ ั ื ์ ่ี สรางมลคาได้ ความรจะกลายเปนตวกำหนดระดบความสามารถ ้ ู ่ ู้ ็ ั ั ในการแข่งขันทั้งในระดับบุคคล ระดับหน่วยงาน และระดับ ประเทศ จนในที่สุดจะไม่มีการเรียกประเทศไหนว่าเป็นประเทศ ยากจนอีกแล้ว แต่จะเรียกว่า “ประเทศท ี ่ ไ ม ่ ร ู ้ ” แทน ดังนั้น บุคคลที่ทรงความรู้อย่างหลากหลาย และมีความสามารถใน การจัดการนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ จะกลายเป็นคนกลุ่มใหม่ ที่ทรงพลังในสังคมอนาคต ปัจจัยด้านความรู้นี้จะมีผลต่อการ กำหนดสภาพสังคมไทยในอนาคต ซึ่งนับว่าเป็นการปรับเปลี่ยน
  • 30. ภาพอนาคตและ 12 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ โฉมหนาสงคมไทยในปจจบนใหแตกตางไปจากเดม ้ ั ั ุ ั ้ ่ ิ 5. การเชือมโยงถึงกันเป็นเครือข่าย ่ การติดต่อและการแลกเปลี่ยนทางการค้า การศึกษา การเมอง และวฒนธรรมทมมากขน อกทงระเบยบโลกใหม่ (New ื ั ่ี ี ้ึ ี ้ั ี World Order) ทจะเขามามอทธพลอยางมากในยคอนาคต จะทำ ่ี ้ ีิ ิ ่ ุ ให้ไม่มีประเทศหรือองค์การใดสามารถดำรงตนเองอยู่โดดเดี่ยว โดยมิตองขึนกับใครได้อกต่อไป แต่ละองคาพยพของสังคมจำเป็น ้ ้ ี ต้องประสานความร่วมมือกับส่วนอื่นเพื่อความอยู่รอด และเพิ่ม ความแข็งแกร่งของตนเอง โดยเหตุนี้ สภาพของการเชื่อมโยงถึง กันเป็นเครือข่ายจึงเป็นภาพที่จะเห็นได้อย่างชัดเจนมากในยุค อนาคต ทั้งที่เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายระดับชาติลงไปจนถึง ระดับองค์การและระดับบุคคล ซึ่งสะท้อนออกมาในลักษณะ ของเครือข่ายด้านเศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา เทคโนโลยี วัฒนธรรม โดยมีจุดหมายเพื่อการเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ระหวางสมาชกในเครอขาย เพอประสทธภาพในการบรหารจดการ ่ ิ ื ่ ่ื ิ ิ ิ ั การแบ่งปันและจัดสรรทรัพยากรร่วม และเพื่อการสร้างอำนาจ การตอรองแกกลมของตนเอง ่ ่ ุ่ 6. การขยายตวของกระแสประชาธปไตย ั ิ กระแสของประชาธิปไตยจะขยายตัวมากยิ่งขึ้นในแต่ละ ชุมชนของสังคมโลก เนื่องจากปัจจัยหลักสามประการ คือ
  • 31. ภาพอนาคตและ คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ 13 1) จากการล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในช่วงศตวรรษที่ยี่สิบ ทำให้ยังไม่มีแนวทางเลือกอื่นในการจัดระบบการปกครองสังคม 2) การเรียกร้องของกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการค้าภายใต้ เครือข่ายของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะมีบทบาทในการ กำหนดรูปแบบประชาธิปไตยในแนวทางที่เอื้อประโยชน์สูงสุด ต่อกลุ่มตนเอง โดยใช้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเป็นข้อต่อรอง และเงื่อนไขที่ประเทศเล็กต้องปฏิบัติตาม และ 3) การเรียกร้อง จากภายในแต่ละประเทศ อันสืบเนื่องมาจากการที่ประชาชนมี ความรูการศึกษาเพิมขึน และการมีโอกาสเข้าถึงข้อมูลข่าวสารผ่าน ้ ่ ้ ระบบสอสารทรวดเรวและทนสมย ่ื ่ี ็ ั ั กระแสประชาธิปไตยจะกระตุ้นให้ประชาชนในแต่ละ สังคม มีความต้องการมีสวนร่วมทางการปกครองมากขึน ในขณะ ่ ้ เดียวกันประชาชนในประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีแนวโน้มที่จะได้ รับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศไทยที่เป็น ประชาธิปไตยแต่เพียงในรูปแบบ จะถูกเรียกร้องให้ปรับเปลี่ยน เป็นประชาธิปไตยมากยิงขึน โดยเฉพาะในด้านของวิถการดำเนิน ่ ้ ี ชีวิตของประชาชน อาทิ การเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ การต้องการ ความเสมอภาคและความเป็นธรรมของรัฐ ความต้องการได้รับ การปกป้องสิทธิมนุษยชน ซึ่งกระแสประชาธิปไตยนี้จะไม่เพียง พัดผ่านระดับประเทศเท่านั้น แต่จะไหลซึมลงสู่หน่วยงานและ องค ์ ก ารต ่ า ง ๆ ในระด ั บ จ ุ ล ภาคด ้ ว ย โดยสะท ้ อ นเป ็ น ภาพ ของประชาธ ิ ป ไตยในโรงงาน ประชาธ ิ ป ไตยในบร ิ ษ ั ท หร ื อ