SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
2.1.1การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลที่แสดงลักษณะประเภทสมบัติในเชิงคุณภาพและอื่นๆที่ไม่
สามารถวัดค่าเป็นตัวเลขที่นามาบวกลบคูณหรือหารกันได้เช่นถ้าพิจารณาตัวแปรคือเพศของ
ผู้ใช้บริการในร้านอาหารแห่งหนึ่งข้อมูลที่เป็นไปได้คือหญิงหรือชายโดยทั่วไปการเก็บข้อมูลเชิง
คุณภาพที่มีจานวนมากอาจมีข้อมูลที่ซ้ากันอยู่ดังนั้นจึงต้องมีการจัดระเบียบข้อมูลเพื่อให้สังเกตุ
ลักษณะของข้อมูลได้ง่ายขึ้นและสามารถหาข้อสรุปที่มีความหมายและนาไปใช้ประโยชน์ได้
ในทางสถิติศาสตร์จะวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยพิจารณาจากความถี่และฐานนิยมดังบท
นิยามต่อไปนี้
ความถี่(Frequency)คือจานวนครั้งของการเกิดข้อมูลข้อมูลหนึ่งและค่าของตัวแปรค่าหนึ่ง
ฐานนิยม(Mode)คือข้อมูลที่มีจานวนครั้งของการเกิดซ้ากันมากที่สุดหรือข้อมูลที่มีความถี่
สูงสุดที่มากกว่า1
ข้อมูลบางชุดอาจไม่มีฐานนิยมเช่นในกรณีที่ข้อมูลมีความถี่เป็น1เท่ากันหมดนอกจากนี้
ข้อมูลบางชุดอาจมีฐานนิยมมากกว่า1ค่าเช่นในกรณีที่มีข้อมูลมากกว่า1ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดเท่ากัน
อย่างไรก็ตามในที่นี้จะพิจารณาเฉพาะชุดข้อมูลที่มีฐานนิยมเพียงอย่างเดียว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแห่งหนึ่งได้สารวจหมู่เลือดในระบบABOของชาวบ้านที่อาศัยอยู่ใกล้
โรงพยาบาลจานวน30คนได้ผลสารวจดังนี้
A B O AB O B AB O B A
O O A B AB O B AB O B
O B O O A O A O B O
จงหาความถี่ของเลือดแต่ละหมู่และฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้
วิธีทา จากข้อมูลที่กาหนดให้จะได้
เลือดหมู่A มีความถี่เป็น5 เลือดหมู่Bมีความถี่เป็น8
เลือดหมู่AB มีความถี่เป็น4 เลือดหมู่Oมีความถี่เป็น13
จะเห็นว่าฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้คือเลือดหมู่Oเนื่องจากเลือดหมู่Oมีความถี่สูงสุด
บริษัทแห่งหนึ่งได้เก็บรวบรวมข้อมูลกีฬาที่พนักงานชอบเล่นมากที่สุดโดยสารวจจากพนักงานฝ่ายผลิตและฝ่ายขายจานวน
60คนได้ข้อมูลดังนี้
พนักงานฝ่ายผลิต
แบดมินตัน ฟุตบอล วิ่ง ปิงปอง แบดมินตัน แบดมินตัน
ฟุตบอล แบดมินตัน ปิงปอง ฟุตบอล วิ่ง แบดมินตัน
แบดมินตัน ปิงปอง ปิงปอง แบดมินตัน ปิงปอง ปิงปอง
วิ่ง ปิงปอง ฟุตบอล แบดมินตัน วิ่ง วิ่ง
ฟุตบอล วิ่ง วิ่ง แบดมินตัน แบดมินตัน ปิงปอง
ปิงปอง แบดมินตัน วิ่ง ฟุตบอล ปิงปอง แบดมินตัน
พนักงานฝ่ายขาย
ปิงปอง ปิงปอง ปิงปอง วิ่ง ฟุตบอล วิ่ง
แบดมินตัน วิ่ง ฟุตบอล ฟุตบอล แบดมินตัน ปิงปอง
วิ่ง ปิงปอง ฟุตบอล แบดมินตัน วิ่ง แบดมินตัน
ฟุตบอล ปิงปอง ปิงปอง วิ่ง ปิงปอง ฟุตบอล
จงพิจารณาว่า
1)ถ้าบริษัทต้องการจัดการแข่งขันกีฬาเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานฝ่ายผลิตบริษัทควรจัดการแข่งขันกีฬาชนิดใด
2)ถ้าบริษัทต้องการจัดการแข่งขันกีฬาเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานฝ่ายขายบริษัทควรจัดการแข่งขันกีฬาชนิดใด
3)ถ้าบริษัทต้องการจัดการแข่งขันกีฬาเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานที่สารวจทั้งหมดบริษัทควรจัดการแข่งขันกีฬา
ชนิดใด
วิธีทา 1)พิจารณาข้อมูลกีฬาที่พนักงานฝ่ายผลิตชอบเล่นมากที่สุดจะได้ว่า
วิ่ง มีความถี่เป็น 8 ฟุตบอล มีความถี่เป็น 6
ปิงปอง มีความถี่เป็น 10 แบดมินตัน มีความถี่เป็น 12
จะเห็นว่าฐานนิยมของกีฬาที่พนักงานฝ่ายผลิตชอบเล่นมากที่สุดคือแบดมินตัน
ดังนั้นบริษัทควรจัดการแข่งขันกีฬาแบดมินตันให้กับพนักงานฝ่ายผลิต
2)พิจารณาข้อมูลกีฬาที่พนักงานฝ่ายขายชอบเล่นมากที่สุดจะได้ว่า
วิ่ง มีความถี่เป็น 6 ฟุตบอล มีความถี่เป็น 6
ปิงปอง มีความถี่เป็น 8 แบดมินตัน มีความถี่เป็น 4
จะเห็นว่าฐานนิยมของกีฬาที่พนักงานฝ่ายขายชอบเล่นมากที่สุดคือปิงปอง
ดังนั้นบริษัทควรจัดการแข่งขันกีฬาปิงปองให้กับพนักงานฝ่ายขาย
(ต่อ) 3)พิจารณาข้อมูลกีฬาที่พนักงานที่สารวจทั้งหมดชอบเล่นมากที่สุดจะได้ว่า
วิ่ง มีความถี่เป็น 14 ฟุตบอล มีความถี่เป็น 12
ปิงปอง มีความถี่เป็น 18 แบดมินตัน มีความถี่เป็น 16
จะเห็นว่าฐานนิยมของกีฬาที่สารวจทั้งหมดชอบเล่นมากที่สุดคือปิงปอง
ดังนั้นบริษัทควรจัดการแข่งขันกีฬาปิงปองให้กับพนักงานที่สารวจทั้งหมด
ข้อมูลเชิงคุณภาพควรมีการนาเสนอข้อมูลโดยจัดเป็นหมวดหมู่ให้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันตามสิ่งที่
ต้องการทราบโดยอาจนาเสนอในรูปตารางหรือแผนภาพเพื่อให้สามารถอ่านและแปลความหมายของข้อมูล
เหล่านั้นได้ง่ายขึ้นเรียกการนาเสนอข้อมูลโดยการแสดงความถี่ของข้อมูลในรูปตารางหรือแผนภาพว่า
การแจกแจงความถี่(Frequencydistribution)
2.1.2การนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
การนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพในรูปตารางความถี่(Frequencytable)ที่จะกล่าวถึงในที่นี้ได้แก่
ตารางความถี่จาแนกทางเดียว(One–wayfrequencytable)และตารางความถี่จาแนกสองทาง(Two-
wayfrequencytable)
ตารางความถี่จาแนกทางเดียวเป็นการนาเสนอข้อมูลในรูปตารางโดยแสดงข้อมูลและความถี่ของข้อมูล
ของตัวแปรเพียงหนึ่งตัวมักใช้ในการนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพเพื่อสรุปลักษณะที่สนใจหรือเปรียบเทียบความถี่
ของแต่ละข้อมูลเช่นจากข้อมูลในตัวอย่างที่1สามารถเขียนตารางความถี่จาแนกทางเดียวของข้อมูลหมู่เลือดของ
ชาวบ้านจานวน30คนได้ดังตารางที่1หรือ2
ตารางที่1 ตารางที่2
เลือดหมู่ A B AB O รวม
ความถี่ 5 8 4 13 30
เลือดหมู่ ความถี่
A 5
B 8
AB 4
O 13
รวม 30
จะเห็นว่าการนาเสนอข้อมูลด้วยตารางความถี่จาแนกทางเดียวทาให้เห็นความถี่ของข้อมูลตามลักษณะที่สนใจได้
ชัดเจนกว่าการพิจารณาจากข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาโดยตรงนอกจากนี้อาจเปรียบเทียบข้อมูลโดยใช้ความถี่สัมพัทธ์
ความถี่สัมพัทธ์(Relativefrequency)คือสัดส่วนของความถี่ของแต่ละข้อมูลเทียบกับผลรวมของความถี่ทั้งหมด
ความถี่สัมพัทธ์อาจเขียนในรูปสัดส่วนได้เป็น
ความถี่สัมพัทธ์(สัดส่วน)=
ความถี่
ความถี่รวม
หรืออาจเขียนความถี่สัมพัทธ์ในรูปร้อยละได้เป็น
ความถี่สัมพัทธ์(ร้อยละ)=
ความถี่
ความถี่รวม
ื100
ในการนาเสนอข้อมูลด้วยตารางความถี่จาแนกทางเดียวอาจแสดงทั้งความถี่และความถี่สัมพัทธ์ในตารางเดียวกันได้ ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้
จากข้อมูลในตารางที่2จงเขียนตารางความถี่พร้อมทั้งแสดงความถี่สัมพัทธ์ของแต่ละหมู่เลือด
วิธีทา จากข้อมูลในตารางที่2สามารถเขียนตารางความถี่พร้อมทั้งแสดงความถี่สมพัทธ์ได้ดังนี้
เลือดหมู่ ความถี่
ความถี่สัมพัทธ์
สัดส่วน ร้อยละ
A 5 5
30
≈ 0.1667
5
30
× 100 ≈ 16.67
B 8 8
30
≈ 0.2667
8
30
× 100 ≈ 26.67
AB 4 4
30
≈ 0.1333
4
30
× 100 ≈ 13.33
O 13 13
30
≈ 0.4333
13
30
× 100 ≈ 43.33
รวม 30 1 100
ครูประจาชั้นมัธยมศึกษาปีที่6ห้องหนึ่งได้สารวจวันเกิดของนักเรียนในห้องจานวน40คนว่ามีวันเกิดตรงกับวันใดในสัปดาห์ได้ข้อมูลดังนี้
วันอังคาร วันเสาร์ วันพุธ วันอังคาร วันจันทร์
วันอาทิตย์ วันพุธ วันจันทร์ วันศุกร์ วันเสาร์
วันจันทร์ วันเสาร์ วันศุกร์ วันอังคาร วันศุกร์
วันเสาร์ วันอังคาร วันอาทิตย์ วันศุกร์ วันพุธ
วันพุธ วันศุกร์ วันจันทร์ วันอาทิตย์ วันอาทิตย์
วันพฤหัสบดี วันเสาร์ วันพุธ วันอังคาร วันพุธ
วันศุกร์ วันอังคาร วันเสาร์ วันศุกร์ วันจันทร์
วันอังคาร วันศุกร์ วันอังคาร วันพุธ วันศุกร์
จงเขียนตารางความถี่พร้อมทั้งแสดงความถี่สัมพัทธ์ของข้อมูลชุดนี้และสรุปข้อมูลที่ได้จากตาราง
วิธีทา จากข้อมูลที่กาหนดใดสามารถเขียนตารางความถี่พร้อมทั้งแสดงความถี่สมพัทธ์ได้ดังนี้
วันเกิด ความถี่
ความถี่สัมพัทธ์
สัดส่วน ร้อยละ
วันจันทร์ 5 5
40
≈ 0.125
5
40
× 100 ≈ 12.5
วันอังคาร 8 8
40
≈ 0.2
8
40
× 100 ≈ 20
วันพุธ 7 7
40
≈ 0.175
7
40
× 100 ≈ 17.5
วันพฤหัสบดี 1 1
40
≈ 0.025
1
40
× 100 ≈ 2.5
จากตารางสรุปได้ว่านักเรียนที่เกิดวันศุกร์มีจานวนมากที่สุดรองลงมาคือวันอังคารและนักเรียนที่เกิดวันพฤหัสบดีมี
จานวนน้อยที่สุด
วันเกิด ความถี่
ความถี่สัมพัทธ์
สัดส่วน ร้อยละ
วันศุกร์ 9 9
40
≈ 0.225
9
40
× 100 ≈ 22.5
วันเสาร์ 6 6
40
≈ 0.15
6
40
× 100 ≈ 15
วันอาทิตย์ 4 4
40
≈ 0.1
4
40
× 100 ≈ 10
รวม 40 1 100
ตารางความถี่จาแนกสองทางเป็นการนาเสนอข้อมูลในรูปตารางซึ่งมีตัวแปรที่สนใจศึกษา2ตัวโดยแสดง
ความถี่ของข้อมูลเชิงคุณภาพของแต่ละตัวแปรที่สนใจศึกษาในรูปตารางเช่นจากข้อมูลในตัวอย่างที่2สามารถเขียน
ตารางความถี่จาแนกสองทางของกีฬาที่พนักงานฝ่ายผลิตและฝ่ายขายของบริษัทแห่งหนึ่งชอบเล่นได้ดังนี้
ตารางที่3
แผนก
กีฬาที่ชอบเล่น
รวมวิ่ง ฟุตบอล ปิงปอง แบดมินตัน
ฝ่ายผลิต 8 6 10 12 36
ฝ่ายขาย 6 6 8 4 24
รวม 14 12 18 16 60
จากตารางสามารถสรุปได้ว่า
•พนักงานฝ่ายผลิตชอบเล่นกีฬาแบดมินตันมากที่สุดโดยคิดเป็นร้อยละ
12
36
100 ≈ 33.33ของพนักงานฝ่ายผลิตทั้งหมด
•พนักงายฝ่ายขายชอบเล่นกีฬาปิงปองมากที่สุดโดยคิดเป็นร้อยละ
8
24
 100 ≈ 33.33ของพนักงานฝ่ายขายทั้งหมด
•พนักงานทั้งสองแผนกชอบเล่นกีฬาปิงปองมากที่สุดโดยคิดเป็นร้อยละ
18
60
100 ≈ 30ของพนักงานทั้งหมด
จากตารางข้างต้นจะเรียกความถี่8,6,10,12,6,6,8และ4ว่าเป็นความถี่ร่วม(Jointfrequency)เพราะความถี่เหล่านี้แสดงถึงจานวนของ
พนักงานจากพนักงานทั้งหมด60คนที่ให้ข้อมูลที่มีลักษณะร่วมกันจากทั้งสองตัวแปร เช่นความถี่10แสดงถึงจานวนของพนักงานฝ่ายผลิตที่ชอบ
เล่นกีฬาปิงปอง

More Related Content

What's hot

โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 

What's hot (20)

โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 

More from Somporn Amornwech

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงานSomporn Amornwech
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูลSomporn Amornwech
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสามSomporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม Somporn Amornwech
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 

More from Somporn Amornwech (20)

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล
 
1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่