SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้และการเล่น
เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์วิชาวิทยาศาสตร์
เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ ของนักเรียนระดับมัธยมปีที่ 3
โดย นายภูวกฤต ใจหอม
A DEVELOPMENT OF LEARNING AND PLAYING MODEL FOR
ENHANCING CREATIVIE THINKING ON FORCE AND MOTION FOR
THE 9 GRADE STUDENTS
คณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์
1. รศ.ดร.ณสรรค์ ผลโภค 2.ดร. กมลวรรณ กันยาประสิทธิ์
3. ดร.ธีรพงษ์ แสงประดิษฐ์ 1
ภูมิหลัง
ความมุ่งหมายของการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
วิธีดาเนินการวิจัย
ลาดับการนาเสนอ
คาถามวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย
สมมติฐานของการวิจัย
2
ภูมิหลัง
3
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ทาให้เกิดเทคโนโลยีและก่อให้เกิดการพัฒนา
(Mcclelland & Dorn. 2006: 17)
การพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ต้องพัฒนากระบวนการคิดของผู้เรียน
(Glaser, Robert. 1983; Driver ; et al. 2008: 7)
ผลิตภัณฑ์ที่สร้างสรรค์และแปลกใหม่ มาจากการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ผนวกกับความคิดสร้างสรรค์ทั้งสิ้น(Florida. 2002: 2)
ภูมิหลัง
4
 ความคิดสร้างสรรค์และการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ทาพัฒนาประเทศ
(Todd & Shinzato, 1999; Kim. 2005)
ความรู้ การศึกษา การสร้างสรรค์งาน และการใช้ทรัพย์สินปัญญาที่มี
รากฐานทางวัฒนาธรรม และเทคโนโลยี นวัตกรรมสมัยใหม่จะช่วยพัฒนา
ประเทศให้เกิดความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ(สานักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา. 2555 : 2)
ความคิดสร้างสรรค์ยังเป็นทักษะที่จาเป็นต่อคนในศตวรรษที่ 21(วิจารณ์
พานิช. 2555:19)
ภูมิหลัง
5
 การใช้รูปแบบการเรียนรู้ทาให้ผู้เรียนได้เกิดความคิดสร้างสรรค์และ
ส่งเสริมให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงได้(ทิศนา แขมมณี. 2554:
40)
การจัดบรรยากาศให้ผู้เรียนรู้สึกผ่อนคลายเสมือนการเล่น จะทาให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว(พงศ์เทพ บุญศรีโรจน์.
2533: 82)
 ของเล่นจะช่วยพัฒนา ความคิดอย่างมีระบบ ตลอดจนพัฒนาความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์ในการประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆ ได้(อรุณี คูณสมบัติ.2540:90;
เฉลียว ผดุงวงศ์. 2538:3; Trollinnger. 1978:107; พรเพ็ญ หลักคา.
2535:82)
ภูมิหลัง
6
ทฤษฎีความคิด
สร้างสรรค์
ของเล่น
รูปแบบการเรียนรู้
และการเล่น
(Learning and
playing model)
ทฤษฎีสรรคนิยม
รูปแบบการเรียนรู้และการเล่น(Learning and playing model)
ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง
แรงและการเคลื่อนที่ และความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้รูปแบบ
การเรียนรู้ หรือไม่ อย่างไร
7
คาถามวิจัย
8
เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้และการเล่น (Learning and
playing model) ที่เสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์และ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงและการ
เคลื่อนที่ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ความมุ่งหมายของการวิจัย
ความพึงพอใจของนักเรียนต่อรูปแบบการเรียนรู้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องแรงและการเคลื่อนที่
ความคิดสร้างสรรค์ ได้แก่ ความคิดยืดหยุ่น ความคิด
คล่องแคล่ว ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ
9
เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนรู้ และการเล่น(Learning
and playing model)วิชาวิทยาศาสตร์เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ในด้าน
ความมุ่งหมายของการวิจัย
เนื้อหาที่ใช้ในวิจัย
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 สาระที่ 4: แรงและการเคลื่อนที่
• แรงชนิดต่างๆ
• แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
• แรงเสียดทาน
• โมเมนต์ของแรง
• แรงพยุง
ขอบเขตงานวิจัย
• ความเร่งและผลของแรงลัพธ์
• การเคลื่อนที่ของวัตถุแนว
เส้นตรง
• การเคลื่อนที่แนวโค้ง
10
11
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ของโรงเรียนบ้านดงเมย จานวน 1 ห้องเรียน
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษา อุบลราชธานี เขต 5
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2557
ประชากร
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษา
อุบลราชธานี เขต 5
กลุ่มตัวอย่าง
ขอบเขตงานวิจัย
กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มเลือกโรงเรียนแบบเจาะจง(Purposive sampling)
ส่วนห้องเรียนในแต่ละโรงเรียนใช้การสุ่มแบบกลุ่ม(Cluster sampling)
ความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งประกอบด้วย
- ความคิดคล่องแคล่ว
- ความคิดยืดหยุ่น
- ความคิดริเริ่ม
- ความคิดละเอียดลออ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ
การใช้รูปแบบการเรียนรู้
(ตัวแปรอิสระ) (ตัวแปรตาม)
12
การประเมินประสิทธิผลของรูปแบบ
การเรียนรู้
การใช้รูปแบบการเรียนรู้และการเล่น
(Learning and Playing Model)
กรอบแนวคิดในการวิจัย
13
รูปแบบการเรียนรู้และการเล่น
ขั้นเล่นและเรียน(Play and learn)
ขั้นสืบเสาะ(Investigate)
ขั้นแลกเปลี่ยน (Share)
ขั้นเชื่อมโยง (Connect)
ขั้นประเมิน (Evaluate)
นิยามศัพท์เฉพาะ
ขั้นสร้างชิ้นงาน(Create)
14
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิด
คล่องแคล่ว
ความคิดยืดหยุ่น ความคิดริเริ่ม ความคิด
ละเอียดลออ
นิยามศัพท์เฉพาะ
15
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ความเข้าใจ
การนาไปใช้
การวิเคราะห์
การสังเคราะห์
ความรู้ความจา
นิยามศัพท์เฉพาะ
การประเมินค่า
16
ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนรู้
ความรู้สึกชอบ และพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้
โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้และการเล่น
นิยามศัพท์เฉพาะ
17
ภายหลังการใช้รูปแบบการเรียนรู้ และการเล่น นักเรียนกลุ่ม
ทดลอง มีความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และสูงกว่า
กลุ่มควบคุม ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ .05
สมมติฐานในการวิจัย
18
ภายหลังการใช้รูปแบบการเรียนรู้ และการเล่น นักเรียนกลุ่ม
ทดลอง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
และสูงกว่ากลุ่มควบคุม ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ .05
 นักเรียนกลุ่มทดลอง มีความพึงพอใจต่อการเรียนหลังจากการใช้
รูปแบบการเรียนรู้อยู่ในระดับมากขึ้นไป
สมมติฐานในการวิจัย
19
การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
การพัฒนารูปแบบฯ
ตรวจสอบรูปแบบฯ โดยผู้เชี่ยวชาญ
การนารูปแบบฯไปศึกษานาร่อง
การนารูปแบบฯ ไปทดลองใช้จริง
1
3
4
5
2
การดาเนินการวิจัย
ขั้นตอน ที่ 1
ขั้นตอน ที่ 2
วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและรายงานผลการวิจัย6
20
1. การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
1) ศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
2) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2553
3) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
4) สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปี่ ที่ 3
5) เอกสารประกอบการสอนวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาปี ที่ 3
6) เอกสาร หนังสือ ตารา บทความ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ที่
ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
การดาเนินการวิจัย
กาหนดกรอบรูปแบบการเรียนรู้
กาหนดรูปแบบฯ และโครงสร้าง
การพัฒนารูปแบบฯ2
การดาเนินการวิจัย
แผนการจัดการเรียนรู้
แบบวัดความคิดสร้างสรรค์
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนรูที่มีต่อ
รูปแบบการเรียนรู้
สร้างเอกสารประกอบรูปแบบฯสร้างรูปแบบการเรียนรู้
เตรียม
ความพร้อม
การ
ประเมินผล
กระบวนการ
เรียนรู้
21
ที่มาของรูปแบบฯ ที่พัฒนาขึ้น
22
23
รูปแบบการเรียนรู้และการเล่น
ขั้นเล่นและเรียน (Play and learn)
ขั้นสืบเสาะ(Investigate)
ขั้นแลกเปลี่ยน (Share)
ขั้นเชื่อมโยง (Connect)
ขั้นประเมิน (Evaluate)
ขั้นสร้างชิ้นงาน(Create)
ขั้นการ
เรียนรู้
การแก้ปัญหา
อย่าง
สร้างสรรค์
(กัญญารัตน์
โคจร. 2554)
ทอแรนซ์
(Torranc.
1972)
แอนเดอ
สัน
(Anders
on.
1957)
เรสนิคก์
(Resnick.
2007)
รันโคและ
ชาร์ด
(Runco ;
& Chand.
1995)
ใช้ปัญหา
เป็นฐาน
(Barrows;
&
Tamblyn
.1980)
โฟแมท(4
MAT)(Mc
Carthy.
1999)
รูปแบบ
ซิปปา
(ทัศนา
แขมมณี.
2543)
โครงงาน
เป็นฐาน
(สสวท.2
544)
การ
เรียนรู้
และการ
เล่น
ขั้นที่ 1 กระตุ้นความ
สนใจ
การค้นพบ
ความจริง
สนใจ จินตนาการ การค้นพบ
ปัญหา
กาหนด
ปัญหา
การสร้าง
ประสบการณ์
ทบทวน
ความรู้เดิม
เลือก
ปัญหาที่จะ
ศึกษา
เรียนและ
เล่น
ขั้นที่ 2 สารวจ
ตรวจสอบทา
ความเข้าใจ
ปัญหา
การค้นพบ
ปัญหา
รวบรวม
ข้อมูล
สร้าง แนวคิด ขั้น
วิเคราะห์
กรณีปัญหา
วิเคราะห์
ประสบการณ์
แสวงหา
ความรู้ใหม่
วางแผน
ขั้นที่ 3 สร้างทางเลือก
ในการ
แก้ปัญหา
การ
ตั้งสมมติฐ
าน
ไตร่ตรอ
งถึงการ
วางแผน
เล่น การ
ประเมินผล
ตั้งสมมติฐา
น
พัฒนา
ประสบการณ์
เป็นความคิด
รวบยอดหรือ
แนวคิด
ศึกษาทา
ความเข้าใจ
ข้อมูลและ
เชื่อมโยง
ความรู้ใหม่
กับความรู้
เดิม
การ
ดาเนินงาน
24
ขั้นการ
เรียนรู้
การ
แก้ปัญหา
อย่าง
สร้างสรรค์
(กัญญารัตน์
โคจร.
2554)
ทอแรนซ์
(Torranc.
1972)
แอนเดอ
สัน
(Anders
on.
1957)
เรสนิคก์
(Resnick.
2007)
รันโค
และชาร์ด
(Runco ;
& Chand.
1995)
ใช้ปัญหา
เป็นฐาน
(Barrows;&
Tamblyn
.1980)
โฟแมท(4
MAT)(Mc
Carthy.
1999)
รูปแบบ
ซิปปา
(ทัศนา
แขมมณี.
2543)
โครงงาน
เป็นฐาน
(สสวท.2
544)
การ
เรียนรู้
และการ
เล่น
ขั้นที่ 2 สารวจ
ตรวจสอบทา
ความเข้าใจ
ปัญหา
การค้นพบ
ปัญหา
รวบรวม
ข้อมูล
สร้าง แนวคิด ขั้นวิเคราะห์
กรณีปัญหา
วิเคราะห์
ประสบการณ์
แสวงหา
ความรู้ใหม่
วางแผน ขั้น
สืบเสาะ
ขั้นที่ 3 สร้างทางเลือก
ในการ
แก้ปัญหา
การ
ตั้งสมมติฐา
น
ไตร่ตรอ
งถึงการ
วางแผน
เล่น การ
ประเมินผ
ล
ตั้งสมมติฐาน พัฒนา
ประสบการณ์
เป็นความคิด
รวบยอดหรือ
แนวคิด
ศึกษาทา
ความเข้าใจ
ข้อมูลและ
เชื่อมโยง
ความรู้ใหม่
กับความรู้
เดิม
การ
ดาเนินงาน
ขั้นที่ 4 วางแผนและ
ดาเนินการ
แก้ปัญหา
การค้นพบ
คาตอบ
เกิด
จินตนาก
าร
แลกเปลี่ย
น
ศึกษาปัญหา
ได้ความรู้
พัฒนาความรู้
ความคิด
แลกเปลี่ยน
ความรู้ความ
เข้าใจกับ
กลุ่ม
ประเมินผ
ล
25
ขั้นการ
เรียนรู้
การ
แก้ปัญหา
อย่าง
สร้างสรรค์
(กัญญารัตน์
โคจร.
2554)
ทอแรนซ์
(Torranc.
1972)
แอนเดอ
สัน
(Anders
on.
1957)
เรสนิคก์
(Resnick.
2007)
รันโค
และชาร์ด
(Runco ;
& Chand.
1995)
ใช้ปัญหา
เป็นฐาน
(Barrows;&
Tamblyn
.1980)
โฟแมท(4
MAT)(Mc
Carthy.
1999)
รูปแบบ
ซิปปา
(ทัศนา
แขมมณี.
2543)
โครงงาน
เป็นฐาน
(สสวท.2
544)
การ
เรียนรู้
และการ
เล่น
ขั้นที่ 3 สร้างทางเลือก
ในการ
แก้ปัญหา
การ
ตั้งสมมติฐา
น
ไตร่ตรอ
งถึงการ
วางแผน
เล่น การ
ประเมินผ
ล
ตั้งสมมติฐาน พัฒนา
ประสบการณ์
เป็นความคิด
รวบยอดหรือ
แนวคิด
ศึกษาทา
ความเข้าใจ
ข้อมูลและ
เชื่อมโยง
ความรู้ใหม่
กับความรู้
เดิม
การ
ดาเนินงาน
ขั้น
แลกเปลี่ย
น
ขั้นที่ 4 วางแผนและ
ดาเนินการ
แก้ปัญหา
การค้นพบ
คาตอบ
เกิด
จินตนาก
าร
แลกเปลี่ย
น
ศึกษาปัญหา
ได้ความรู้
พัฒนาความรู้
ความคิด
แลกเปลี่ยน
ความรู้ความ
เข้าใจกับ
กลุ่ม
ประเมินผ
ล
ขั้นที่ 5 ตรวจสอบ
ยอมรับ และ
ขยายองค์
ยอมรับผล
จากการ
ค้นพบ
สร้าง
จินตนาก
าร
สะท้อน ประยุกต์
ความรู้
การปฏิบัติ
ตามแนวคิดที่
ได้เรียนรู้
สรุปและจัด
ระเบียบ
ความรู้
ติดตามผล
26
ขั้นการ
เรียนรู้
การ
แก้ปัญหา
อย่าง
สร้างสรรค์
(กัญญารัตน์
โคจร.
2554)
ทอแรนซ์
(Torranc.
1972)
แอนเดอ
สัน
(Anders
on.
1957)
เรสนิคก์
(Resnick.
2007)
รันโค
และชาร์ด
(Runco ;
& Chand.
1995)
ใช้ปัญหา
เป็นฐาน
(Barrows;&
Tamblyn
.1980)
โฟแมท(4
MAT)(Mc
Carthy.
1999)
รูปแบบ
ซิปปา
(ทัศนา
แขมมณี.
2543)
โครงงาน
เป็นฐาน
(สสวท.2
544)
การ
เรียนรู้
และการ
เล่น
ขั้นที่ 3 สร้างทางเลือก
ในการ
แก้ปัญหา
การ
ตั้งสมมติฐา
น
ไตร่ตรอ
งถึงการ
วางแผน
เล่น การ
ประเมินผ
ล
ตั้งสมมติฐาน พัฒนา
ประสบการณ์
เป็นความคิด
รวบยอดหรือ
แนวคิด
ศึกษาทา
ความเข้าใจ
ข้อมูลและ
เชื่อมโยง
ความรู้ใหม่
กับความรู้
เดิม
การ
ดาเนินงาน
ขั้นที่ 4 วางแผนและ
ดาเนินการ
แก้ปัญหา
การค้นพบ
คาตอบ
เกิด
จินตนาก
าร
แลกเปลี่ย
น
ศึกษาปัญหา
ได้ความรู้
พัฒนาความรู้
ความคิด
แลกเปลี่ยน
ความรู้ความ
เข้าใจกับ
กลุ่ม
ประเมินผ
ล
ขั้น
เชื่อมโยง
ขั้นที่ 5 ตรวจสอบ
ยอมรับ และ
ขยายองค์
ยอมรับผล
จากการ
ค้นพบ
สร้าง
จินตนาก
าร
สะท้อน ประยุกต์
ความรู้
การปฏิบัติ
ตามแนวคิดที่
ได้เรียนรู้
สรุปและจัด
ระเบียบ
ความรู้
ติดตามผล
27
เรียนรู้ อย่างสร้างสรรค์
(กัญญารัตน์
โคจร. 2554)
(Torranc
. 1972)
(Anders
on.
1957)
(Resnick.
2007)
ชาร์ด
(Runco
; &
Chand.
1995)
ฐาน
(Barrows;
& Tamblyn
.1980)
MAT)(M
c Carthy.
1999)
(ทัศนา แขมมณี.
2543)
เป็นฐาน
(สสวท.2
544)
และการ
เล่น
ขั้นที่ 4 วางแผนและ
ดาเนินการ
แก้ปัญหา
การ
ค้นพบ
คาตอบ
เกิด
จินตนากา
ร
แลกเปลี่ยน ศึกษาปัญหา
ได้ความรู้
พัฒนา
ความรู้
ความคิด
แลกเปลี่ยน
ความรู้ความ
เข้าใจกับกลุ่ม
ประเมิน
ผล
ขั้นที่ 5 ตรวจสอบ
ยอมรับ และ
ขยายองค์
ความรู้
ยอมรับผล
จากการ
ค้นพบ
สร้าง
จินตนากา
ร
สะท้อน ประยุกต์
ความรู้
การปฏิบัติ
ตามแนวคิด
ที่ได้เรียนรู้
สรุปและจัด
ระเบียบความรู้
ติดตาม
ผล ประเมิน
ขั้นที่ 6 ผลงาน จินตนาการ
ได้ผลงาน
ใหม่
สะท้อนความรู้
เป็นนามธรรม
สร้างสรรค์
ชิ้นงานของ
ตนเอง
ปฏิบัติและ/
หรือการแสดง
ผลงาน
ขั้นที่ 7 วิเคราะห์
ผลงานและ
ประยุกต์ใช้
ความรู้ 28
ขั้นการ
เรียนรู้
การ
แก้ปัญหา
อย่าง
สร้างสรรค์
(กัญญา
รัตน์ โคจร.
2554)
ทอแรนซ์
(Torran
c.
1972)
แอนเดอสัน
(Anders
on.
1957)
เรสนิคก์
(Resnic
k.
2007)
รันโคและ
ชาร์ด
(Runco
; &
Chand.
1995)
ใช้ปัญหา
เป็นฐาน
(Barro
ws;&
Tambly
n
.1980)
โฟแมท
(Mc
Carthy.
1999)
รูปแบบ
ซิปปา
(ทัศนา
แขมมณี.
2543)
โครงงาน
เป็นฐาน
(สสวท.25
44)
การเรียนรู้
และการเล่น
ขั้นที่ 6 ผลงาน จินตนาการ
ได้ผลงาน
ใหม่
สะท้อน
ความรู้เป็น
นามธรรม
สร้างสรรค์
ชิ้นงานของ
ตนเอง
ปฏิบัติ
และ/หรือ
การแสดง
ผลงาน
สร้าง
ชิ้นงาน
ขั้นที่ 7 วิเคราะห์
ผลงานและ
ประยุกต์ใช้
ประยุกต์ใ
ช้ความรู้
ขั้นที่ 8 แลกเปลี่ยน
ความรู้
ความคิด 29
ขั้นของรูปแบบการเรียนรู้และการเล่น กรอบแนวคิดของขั้นตอนในการ
จัดการเรียนรู้
1. ขั้นเล่นและเรียน(Play and learn) 1) ใช้การเล่นกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน
ให้มีความอยากรู้อยากเห็น มีความพร้อมและ
กระตือรือร้นที่จะเรียน
2) สารวจตรวจสอบทาความเข้าใจปัญหา
3) ทบทวน เชื่อมโยงความรู้เดิมโดยการ
แสดงออกจากคาถามและคาตอบ
4) ฝึกตั้งคาถามและสร้างคาอธิบายที่
หลากหลายของปัญหา ให้ครอบคลุมทุกด้าน
5) เลือกปัญหาและแนวคาตอบจากปัญหาที่
หลากหลาย เพื่อให้ได้ปัญหาเดียวกันที่
นาไปสู่การสืบเสาะหาองค์ความรู้
ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้
30
31
ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้
ขั้นของรูปแบบการเรียนรู้และการเล่น กรอบแนวคิดของขั้นตอนในการจัดการ
เรียนรู้
2. ขั้นสืบเสาะ
(Investigate)
1) ศึกษาปัญหา
2) แสวงหาความรู้ใหม่ จากการสืบค้น จาก
แหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพื่ออธิบายกลไกการทางาน
ของของเล่น
3) วางแผนการดาเนินการที่แปลกใหม่ ในการ
แสวงหาความรู้ โดยการออกแบบทดลอง จาก
ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น
4) ดาเนินงาน การทดลอง ตามแผนที่วางไว้
จนได้มาซึ่งคาอธิบายหรือคาตอบของปัญหา
32
ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้
ขั้นของรูปแบบการเรียนรู้และการเล่น กรอบแนวคิดของขั้นตอนในการจัดการ
เรียนรู้
2. ขั้นสืบเสาะ
(Investigate)
1) ศึกษาปัญหา
2) แสวงหาความรู้ใหม่ จากการสืบค้น จาก
แหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพื่ออธิบายกลไกการทางาน
ของของเล่น
3) วางแผนการดาเนินการที่แปลกใหม่ ในการ
แสวงหาความรู้ โดยการออกแบบทดลอง จาก
ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น
4) ดาเนินงาน การทดลอง ตามแผนที่วางไว้
จนได้มาซึ่งคาอธิบายหรือคาตอบของปัญหา
33
ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้
ขั้นของรูปแบบการเรียนรู้และการเล่น กรอบแนวคิดของขั้นตอนในการจัดการ
เรียนรู้
3. ขั้นแลกเปลี่ยน
(Share)
1) นาเสนอการออกแบบ การดาเนินการ
ทดลอง ในประเด็น ต่อไปนี้
- การระบุปัญหา
- สมมุติฐาน
- วิธีการแก้ปัญหา
- คาอธิบายหรือคาตอบ
2) ร่วมแลกเปลี่ยนประเด็นดังกล่าว กับเพื่อน
กลุ่มอื่นๆ เพื่อสรุปและจัดระเบียบความรู้
ตลอดจนเติมเต็มความรู้ให้สมบูรณ์
34
ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้
ขั้นของรูปแบบการเรียนรู้และการ
เล่น
กรอบแนวคิดของขั้นตอนในการ
จัดการเรียนรู้
4. ขั้นเชื่อมโยง
(Connect)
1) ประยุกต์ความรู้กับสถานการณ์ที่
เกี่ยวข้อง
2) สะท้อนความรู้ของผู้เรียนที่ได้จากการ
สืบเสาะว่าเพียงพอกับการประยุกต์ใช้ได้
หรือไม่
3) เชื่อมโยงความรู้กับกลไกของของเล่น
เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
35
ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้
ขั้นของรูปแบบการเรียนรู้และการ
เล่น
กรอบแนวคิดของขั้นตอนในการ
จัดการเรียนรู้
5. ขั้นประเมิน
(Evaluate)
1) สะท้อนความรู้จากแบบฝึกหัด ความรู้ความ
เข้าใจในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องการความรู้ได้ผ่าน
การสืบเสาะ
2) ประเมินความรู้ของตนเองว่ามีเพียงพอ
เพื่อให้เกิดการคิดจินตนาการหรือไม่
3) ประเมินการคิดจินตนาการ ของการ
ออกแบบของเล่น (เปิดโอกาสคิดหลากหลาย
คิดแปลกใหม่ คิดโยงสัมพันธ์)
4) ประเมินความไปได้ของชิ้นงาน พร้อมบอก
เหตุผลความเป็นได้
36
ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้
ขั้นของรูปแบบการเรียนรู้และการ
เล่น
กรอบแนวคิดของขั้นตอนในการ
จัดการเรียนรู้
6. ขั้นสร้างชิ้นงาน
(Create)
1) ออกแบบ และระบุโครงสร้างย่อย
ของเล่นที่สามารถสร้างได้
2) อธิบายกลไกของของเล่นใหม่ โดยใช้
หลักการทางวิทยาศาสตร์
3) ประดิษฐ์ของเล่นตามที่ออกแบบ
37
คุณภาพของรูปแบบการเรียนรู้
ตรวจสอบรูปแบบการเรียนรู้โดยผู้เชี่ยวชาญ3
ตรวจสอบประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้อง
ของรูปแบบฯโดยผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบฯ
การดาเนินการวิจัย
38
ตรวจสอบความเป็ นไปได้ของรูปแบบฯ
นารูปแบบฯ ทาการศึกษานาร่อง4
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
โรงเรียนนาบ้านคาครั่ง อาเภอเดชอุดม จานวน 1 ห้อง 30 คน
การดาเนินการวิจัย
คุณภาพเครื่องมือ
39
เก็บรวบรวมข้อมูล
นารูปแบบฯ ไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง5
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
โรงเรียนบ้านดงเมย อาเภอนาบุณฑริก จานวน 1 ห้อง 30 คน
ภาคเรียนที่ 2/2557
การดาเนินการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือ
เวลาที่ใช้เก็บข้อมูลในกระบวนการจัดการ
เรียนรู้
ก่อนสอน ระหว่างสอน หลังสอน
1) แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์
1.1 ด้านความคิดคล่องแคล่ว
1.2 ความคิดยืดหยุ่น
1.3 ด้านความคิดริเริ่ม
1.4 ด้านความคิดละเอียดลออ








2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องแรงและ
การเคลื่อนที่
 
3) แบบทดสอบวัดความพึงพอใจของนักเรียนและครู
ที่มีต่อรูปแบบการเรียนรู้


การดาเนินการวิจัย
40
วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและรายงานผลการวิจัย
41
นาข้อมูลมาวิเคราะห์ สรุปและรายงาน
6
การดาเนินการวิจัย
42
 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
 สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
 สถิติหาคุณภาพเครื่องมือ
 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence:
IOC)
 ค่าอานาจจาแนกด้วยและค่าความยากง่าย เทคนิคร้อยละ 25
 ค่าอานาจจาแนกด้วยและค่าความยากง่าย ของวิทย์นีย์และเซ
บอร์ส(Whitney and Sabers)
 ค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร KR-20
 ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา (Alpha Coefficient) ของ ครอนบัค
(Cronbach)
การดาเนินการวิจัย
การนารูปแบบฯไปทดลองใช้จริง
43
5
 สถิติที่ใช้ในการวิจัย
2) สถิติที่ใช้ในตรวจสอบสมมติฐานการวิจัยสถิติทดสอบสมมุติฐานการวิจัย ได้แก่
 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
 t-test แบบ independent
 t-test แบบ dependent
การดาเนินการวิจัย
44
ความสาคัญของการวิจัย
 เป็ นแนวทางในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
 พัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้ใจในวิชาวิทยาศาสตร์
 พัฒนาให้ผู้เรียนเชื่อมโยงความรู้และประยุกต์ใช้ในสถานการณ์
อื่นๆที่พบเห็นชีวิตประจาวัน
 พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์
ความก้าวหน้า
• ปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้และการเล่น
• จัดทาแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
• จัดทาแบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์
• จัดทาแผนการเรียนรู้ 12 แผน 36 ชั่วโมง
• ทาการทดลองใช้และเก็บข้อมูลเทอมที่ 2 ปีการศึกษา
2557
45
46

More Related Content

What's hot

การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นอรุณศรี
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยRamkhamhaeng University
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1Prachyanun Nilsook
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
1.ระเบียบวิธีวิจัย
1.ระเบียบวิธีวิจัย1.ระเบียบวิธีวิจัย
1.ระเบียบวิธีวิจัยphaholtup53
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Khon Kaen University
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)Marine Meas
 

What's hot (20)

การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1
 
ppt
pptppt
ppt
 
Mt research
Mt researchMt research
Mt research
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
1.ระเบียบวิธีวิจัย
1.ระเบียบวิธีวิจัย1.ระเบียบวิธีวิจัย
1.ระเบียบวิธีวิจัย
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
ทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไมทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไม
 
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
 

Viewers also liked

กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปรกรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปรPrachyanun Nilsook
 
การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3Prachyanun Nilsook
 
กรอบแนวความคิดของการวิจัยโครงการย่อย 2
กรอบแนวความคิดของการวิจัยโครงการย่อย 2กรอบแนวความคิดของการวิจัยโครงการย่อย 2
กรอบแนวความคิดของการวิจัยโครงการย่อย 2hcn0810
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของครัวเรือนไทย โดย รศ.ดร.เดือนเ...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของครัวเรือนไทย โดย รศ.ดร.เดือนเ...ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของครัวเรือนไทย โดย รศ.ดร.เดือนเ...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของครัวเรือนไทย โดย รศ.ดร.เดือนเ...BAINIDA
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Boxคิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The BoxNoppon Trirojporn
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)Padvee Academy
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรมแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรมสำเร็จ นางสีคุณ
 

Viewers also liked (11)

Conceptuales
ConceptualesConceptuales
Conceptuales
 
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปรกรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
 
การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3
 
กรอบแนวความคิดของการวิจัยโครงการย่อย 2
กรอบแนวความคิดของการวิจัยโครงการย่อย 2กรอบแนวความคิดของการวิจัยโครงการย่อย 2
กรอบแนวความคิดของการวิจัยโครงการย่อย 2
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของครัวเรือนไทย โดย รศ.ดร.เดือนเ...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของครัวเรือนไทย โดย รศ.ดร.เดือนเ...ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของครัวเรือนไทย โดย รศ.ดร.เดือนเ...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของครัวเรือนไทย โดย รศ.ดร.เดือนเ...
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Boxคิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
คิดนอกกรอบ Thinking Out Of The Box
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรมแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
 

Similar to รายงานความก้าวหน้า3

บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
Review Research
Review ResearchReview Research
Review Researchtomranbo
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ศน. โมเมจ้า
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLEmmy Nichanan
 
Review Research test
Review Research testReview Research test
Review Research testnatawut
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum PlanningChompri Ch
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาCha-am Chattraphon
 

Similar to รายงานความก้าวหน้า3 (20)

บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
Review Research
Review ResearchReview Research
Review Research
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
 
Review Research test
Review Research testReview Research test
Review Research test
 
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษานวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
File teacher coachingmentoring
File teacher coachingmentoringFile teacher coachingmentoring
File teacher coachingmentoring
 
Rpg thesis
Rpg thesisRpg thesis
Rpg thesis
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum Planning
 
Abstract
AbstractAbstract
Abstract
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษา
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 

รายงานความก้าวหน้า3